การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2555

Download Report

Transcript การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2555

การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย
ปี พ.ศ. 2555
OTOP PRODUCT CHAMPION : OPC
โดย
นายวิฑรู ย์ นวลนุ กลู
ผูอ้ านวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
ROAD MAP OPC ปี 2555
เตรียมความพร้อม
-แต่งตั้งคณะกรรมการ/
คณะทางาน
- ประชุมคณะกรรมการ/
คณะทางาน
-ประชุมชี้แจงผูเ้ กี่ยวข้อง
ส.ค. – ต.ค.55
รับสมัคร/คัดสรร
ระดับจังหวัด/กทม.
กรมฯ ตรวจสอบความถูกต้อง
3-7 ธ.ค. (5วัน)
26พ.ย. – 2ธ.ค.55
(7 วัน)
จังหวัดส่งผลิตภัณฑ์ให้กรมฯ
8-18 ธ.ค.55 (11 วัน)
ประกาศผลการคัดสรรฯ
และมอบใบประกาศ
15ม.ค. – 28 ก.พ.56
คัดสรรฯ ระดับประเทศ
19-28 ธ.ค.(10วัน)
ประชาสัมพันธ์ในทุกระดับทางสื่อต่าง ๆ ต.ค. 55- ก.พ.56
ความเป็ นมา
รัฐบาลได้มีนโยบายเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการหนึ่ งตาบล หนึ่ งผลิ ตภัณฑ์
เพื่อให้แต่ละชุมชนสามารถใช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยรัฐพร้อมที่จะ
สนับสนุ นให้ชุมชนเข้าถึงองค์ความรูส้ มัยใหม่ แหล่งเงินทุน และพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารและ
การตลาดเพื่อเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์จากชุมชนสู่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ
การดาเนิ นงานโครงการคัดสรรสุ ดยอดหนึ่ งตาบล หนึ่ งผลิ ตภัณฑ์ไทย (OTOP
Product
Champion : OPC ) เป็ นโครงการตามนโยบายการดาเนิ นงานโครงการหนึ่ งตาบล หนึ่ งผลิตภัณฑ์ เพื่ อ
จัดทาฐานข้อมูลผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP และการจัดระดับการพัฒนาผลิตภัณฑ์(1 – 5 ดาว) ที่จะ
น าไปสู่ก ารพัฒ นาผลิ ต ภัณ ฑ์ น าไปใช้ป ระโยชน์ ใ นการก าหนดแผนการส่ ง เสริ ม และพัฒ นาได้อ ย่า ง
เหมาะสม ซึ่งกาหนดดาเนิ นการคัดสรรฯ ทุก ๆ 2 ปี โดยใน ปี พ.ศ. 2555 คณะกรรมการอานวยการ
หนึ่ งตาบล หนึ่ งผลิตภัณฑ์แห่งชาติ (กอ.นตผ) มีมติ การประชุ มคณะกรรมการอานวยการหนึ่ งตาบล
หนึ่ งผลิตภัณฑ์แห่งชาติ ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2555 เห็นชอบให้กระทรวงมหาดไทย
โดยกรมการพัฒนาชุ มชน ดาเนิ นการโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่ งตาบล หนึ่ งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ.
2555 (OTOP Product Champion : OPC)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดระดับผลิตภัณฑ์ (Product Level) ที่จะนาไปสูก่ ารพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ (Product Development)
2. เพื่อจัดระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ (Profile) ที่จะใช้ในการทางานเชิงบูรณา
การ ของทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อเสริมสร้างคุณค่าของผลิตภัณฑ์ให้เป็ นที่ยอมรับแก่บุคคลทั ่วไป จน
สามารถ ใช้เป็ นแหล่งสร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน
4. เพื่อกระตุน้ ให้เกิดกระบวนการมีสว่ นร่วมของผูผ้ ลิต/ผูป้ ระกอบการ
OTOP และชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
กรอบการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย
1. สามารถส่งออกได้ (Exportable) โดยมีความแกร่งของตราผลิตภัณฑ์
(Brand Equity)
2. ผลิตอย่างต่อเนื่องและคุณภาพคงเดิม (Continuous & Consistant)
3. ความมีมาตรฐาน(Standardization) โดยมีคุณภาพ (Quality) และสร้าง
ความพึงพอใจแก่ลกู ค้า (Satisfaction)
4. มีประวัตคิ วามเป็ นมาของผลิตภัณฑ์ (Story of Product)
คุณสมบัติของผูผ้ ลิตผูป้ ระกอบการ และผลิตภัณฑ์
ที่สามารถเข้ารับการคัดสรรฯ
1.
เป็ นผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP ที่มีชื่ออยู่ในการสารวจและลงทะเบียน
ผูผ้ ลิต/ผูป้ ระกอบการOTOP ปี พ.ศ. 2555 ของจังหวัด หรือกรุงเทพมหานคร
2. เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้แจ้งไว้ในการสารวจและลงทะเบียนผูผ้ ลิตผู ้ประกอบการ
OTOP ปี พ.ศ. 2555
3. ผลิตภัณฑ์ตามข้อ 2 ต้องผ่านการรับรองมาตรฐานตามที่กฎหมายกาหนด
เช่น อย.และหากผลิตภัณฑ์ใดไม่มีขอ้ กาหนดของกฎหมายระบุไว้ตอ้ งผ่านการ
รับรองมาตรฐานอย่างใด อย่างหนึ่ง ก่อนวันสมัครเข้ารับการ คัดสรรฯ เช่น
มผช., มอก., ฮาลาล, คิว (Qmark), GAP, GMP, HACCP และมาตรฐานเกษตร
อินทรีย ์ เป็ นต้น
ทั้งนี้ กรณี ผลิตภัณฑ์เครื่องประดับอัญมณี หากไม่มี
มาตรฐานใดรับรองให้สามารถส่งเข้ารับการคัดสรรฯ ได้สาหรับผลิตภั ณฑ์ที่
อยูใ่ นระหว่างขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้ถือปฏิบตั ิ ดังนี้
คุณสมบัตขิ องผูผ้ ลิตผูป้ ระกอบการ และผลิตภัณฑ์
ที่สามารถเข้ารับการคัดสรรฯ
3.1 กรณีเป็ นผลิตภัณฑ์ของผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP รายใหม่ สามารถใช้หนังสือ
รับ รองจากหน่ ว ยงานที่ ยื่ น ขอรับ รองมาตรฐานผลิ ต ภัณ ฑ์เ ป็ นหลัก ฐานแทนใบรับ รอง
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้ ในระหว่างก่อนประกาศผลการคัดสรรฯ หากไม่ได้รบั การ
รับ รองมาตรฐานผลิ ต ภัณ ฑ์จ ะถื อ ว่ า ขาดคุ ณ สมบั ติ แ ละไม่ ป ระกาศผลการจัด ระดั บ
ผลิตภัณฑ์
3.2 กรณี เ ป็ นผลิ ต ภัณ ฑ์ข องผู ้ผ ลิ ต ผู ป้ ระกอบการ OTOP รายเก่ า ซึ่ ง ใบรับ รอง
มาตรฐานผลิตภัณฑ์หมดอายุสามารถใช้ใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่หมดอายุสมัครเข้า
รับการคัดสรรฯ ได้ ทั้งนี้ ในระหว่างก่อนประกาศผลการคัดสรรฯ หากได้รบั การรับรอง
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ใหม่ จะนาผลคะแนนที่ได้ คูณด้วย 1 แต่หากยังไม่ได้รบั การรับรอง
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ใหม่ในห้วงเวลาดังกล่าว ผลคะแนนที่ได้จะคูณด้วย 0.75
3.2 กรณี ที่ ไ ม่ อ ยู่ใ นคุ ณ สมบัติ ต ามข้อ 3.1 และ3.2 ให้ใ ช้ห นั ง สื อ รับ รองการจด
ทะเบียนทรัพย์สินทางปั ญญา เช่น สิทธิบัตร อนุ สิทธิบัตร และสิ่งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ได้
ทั้งนี้ ในระหว่างก่อนประกาศผลการคัดสรรฯ หากไม่ได้รบั หนังสือรับรองการจดทะเบียน
ทรัพย์สินทางปั ญญา จะถือว่าขาดคุณสมบัตแิ ละไม่ประกาศผลการจัดระดับผลิตภัณฑ์
จานวนผลิตภัณฑ์ที่ผผู ้ ลิต/ผูป้ ระกอบการ
สามารถส่งเข้าประกวด
 ผูผ้ ลิต/ผูป้ ระกอบการผลิตภัณฑ์ OTOP สามารถส่งผลิตภัณฑ์ ที่ได้
แจ้งไว้ในการสารวจและลงทะเบียนผูผ้ ลิต/ผูป้ ระกอบการ OTOP
ปี พ.ศ. 2555 ซึ่งเป็ นผลิตภัณฑ์หลักที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน
ที่กาหนดไว้ ตามคุณสมบัตทิ ี่กาหนด
 ส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ข้า รั บ การคั ด สรรฯ ได้ร ายละ 1 ผลิ ต ภั ณ ฑ์
(กรณีผลิตภัณฑ์เดี่ยว) หรือ 1 ชุด (กรณีชุดผลิตภัณฑ์)
ประเภทผลิตภัณฑ์ที่คดั สรรฯ
ผลิตภัณฑ์ที่คดั สรรฯ แบ่งออกเป็ น 5 กลุม่ ประเภทผลิตภัณฑ์ ดังนี้
 ประเภทอาหาร
 ประเภทเครื่องดื่ม
 ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย
 ประเภทของใช้ ของประดับตกแต่ง ของที่ระลึก
 ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
หน่วยดาเนินการ
 ระดับจังหวัด / กรุงเทพมหานคร
- แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการคัดสรรฯ ระดับ
จังหวัดและกรุงเทพมหานคร
- พิจารณาให้ค่าคะแนนในส่วน ก และ ส่วน ข ตามกลุม่
ประเภทผลิตภัณฑ์
หน่วยดาเนินการ (ต่อ)
 ระดับประเทศ
- แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการคัดสรรฯ ระดับประเทศ
โดยให้ส่วนราชการที่ได้รบั มอบหมายดาเนินการสรรหา
และแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการคัดสรรฯ
- พิจารณาให้ค่าคะแนนในส่วน ค. ตามประเภทผลิตภัณฑ์
ที่ได้รบั มอบหมาย
หน่วยงานรับผิดชอบดาเนินการตรวจและให้ค่าคะแนน
คัดสรรฯระดับประเทศ ตามประเภทผลิตภัณฑ์
ประเภทผลิตภัณฑ์
ประเภทอาหาร
หน่วยงานที่รบั ผิดชอบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ประเภทเครื่องดื่ม
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้า เครื่องแต่งกาย
กระทรวงอุตสาหกรรม
ของใช้ ของตกแต่ง กระทรวงพาณิชย์
ของที่ระลึก
สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร กระทรวงสาธารณสุข
การจัดระดับผลิตภัณฑ์
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ.2555 ผลการ
ดาเนินการคัดสรรฯ จัดระดับผลิตภัณฑ์ มีระดับเดียว คือ ระดับประเทศเท่านั้น
โดยใช้หลักเกณฑ์เฉพาะแต่ละประเภทผลิตภัณฑ์ (Specific Criteria) ซึ่งกาหนด
คะแนนรวมไว้ 100 คะแนน ประกอบด้วย หลักเกณฑ์ในการพิจารณา 3 ด้าน
คื อ หลัก เกณฑ์ด า้ นผลิ ต ภัณ ฑ์แ ละความเข้ม แข็ ง ของชุ ม ชน หลัก เกณฑ์ ด า้ น
การตลาดและความเป็ นมาของผลิ ต ภั ณ ฑ์ และหลั ก เกณฑ์ด ้า นคุ ณ ภาพ
ผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะนามากาหนดกรอบในการจัดระดับผลิตภัณฑ์ (Product Level)
ออกเป็ น 5 ระดับ ตามค่าคะแนน ดังนี้
การจัดระดับผลิตภัณฑ์
ระดับดาว

5 ดาว

4 ดาว

3 ดาว

2 ดาว

1 ดาว
ค่าคะแนน
90 – 100 คะแนน
คุณลักษณะ
เป็ นสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐาน หรือมีศกั ยภาพ
ในการส่งออก
80 – 89 คะแนน เป็ นสินค้าที่มีศกั ยภาพ เป็ นที่ยอมรับระดับ
ประเทศ และสามารถพัฒนาสู่สากล
70 - 79 คะแนน เป็ นสินค้าที่มีคุณภาพระดับกลางที่สามารถพัฒนา
สู่ระดับ 4 ดาวได้
50 - 69 คะแนน เป็ นสินค้าที่สามารถพัฒนาสู่ระดับ 3 ดาว มีการ
ประเมินศักยภาพเป็ นระยะ
ต ่ากว่า 50 คะแนน เป็ นสินค้าที่ไม่สามารถพัฒนาสู่ระดับ 2 ดาว
ได้เนื่องจากมีจุดอ่อนมาก และพัฒนายาก
หลักเกณฑ์การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
ปี พ.ศ. 2555
ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่
ส่วน ก. ด้านผลิตภัณฑ์และความเข้มแข็งของชุมชน(30 คะแนน)



ด้านการผลิต (12 คะแนน)
ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (9 คะแนน)
ด้านความเข้มแข็งของชุมชน (9 คะแนน)
ส่วน ข. ด้านการตลาดและความเป็ นมาของผลิตภัณฑ์(25 คะแนน)


ด้านการตลาด (11 คะแนน)
ด้านความเป็ นมาของผลิตภัณฑ์ (14 คะแนน)
ส่วน ค. ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ (45 คะแนน)


การตรวจสอบ/วิเคราะห์คุณภาพตามประเภทผลิตภัณฑ์ (40 คะแนน)
โอกาสทางการตลาดสู่สากล (5 คะแนน)
จานวนตัวอย่างผลิตภัณฑ์
ที่จะต้องจัดส่งเข้าคัดสรรฯ ระดับประเทศ
ประเภทผลิตภัณฑ์
อาหาร
เครื่องดื่ม
ผ้า เครื่องแต่งกาย
ของใช้ฯ
สมุนไพรฯ
จานวน(ชิ้น/ชุด)
6
4
1
1
5
การส่งคืนผลิตภัณฑ์

ส่งคืนเฉพาะผลิตภัณฑ์ประเภท ผ้า เครื่องแต่งกาย
และประเภทของใช้ ของตกแต่ง ของที่ระลึก

ไม่มีการส่งคืนผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร,เครื่องดื่ม
และ สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร เนื่องจากต้องมีการนาตัวอย่าง
ผลิตภัณฑ์ไป ตรวจ ชิม ทดสอบ และวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์
การตัดสินผลิตภัณฑ์

คณะกรรมการระดับประเทศ สงวนสิทธิ์ในการพิจารณาคุณสมบัตขิ อง
ผลิตภัณฑ์

ผลวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ กรณีชุดตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่สง่ เข้าคัดสรรมี
รายการใดรายการหนึ่งไม่ผ่านมาตรฐานให้ถือว่าไม่ผ่านมาตรฐานทัง้ ชุด
และไม่ได้รบั คะแนน ส่วน ค. ว่าด้วยคุณภาพผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์ที่สง่ เข้าคัดสรรระดับประเทศ ต้องตรงตามรูปภาพทีส่ ง่ สมัคร
เข้าคัดสรรระดับจังหวัด
ขั้นตอนการดาเนินงานของจังหวัด และ กทม.
ขั้นตอนที่ 1 แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการคัดสรรฯ ระดับจังหวัด/กทม.
1.1 คณะกรรมการดาเนินการคัดสรรฯ ระดับจังหวัด/กทม.
1.2 คณะทางานพิจารณา ตรวจสอบและกลั ่นกรองผลิตภัณฑ์
ที่สมัครเข้าคัดสรรฯ ระดับจังหวัด/กทม.
ขั้นตอนที่ 2 ประชุมชี้แจงทาความเข้าใจผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนที่ 3 ประชาสัมพันธ์
ขั้นตอนการดาเนินงานของจังหวัด และ กทม.(ต่อ)
ขั้นตอนที่ 4 เตรียมเจ้าหน้าที่ สถานที่ และวัสดุอปุ กรณ์
ขั้นตอนที่ 5 รับสมัครผลิตภัณฑ์เข้าคัดสรรฯ
ขั้นตอนที่ 6 พิจารณา ตรวจสอบและกลั ่นกรองรับสมัครผลิตภัณฑ์เข้าคัดสรรฯ
ขั้นตอนที่ 7 บันทึก ประมวลผล รายงานผลการคัดสรรฯ และการจัดส่งผลิตภัณฑ์
การเตรียมความ
พร้อม
ส.ค.- ต.ค. 55
ส.ค.- ต.ค. 55
รับสมัคร/คัดสรรระดับ
จังหวัด/กทม.
26พ.ย.-2 ธ.ค.55
กรมการพัฒนาชุมชน
จังหวัด/กทม.
การบันทึก/ประมวลผลข้อมูล
•แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ/
คณะทางาน
• จัดประชุ มคณะกรรมการ/
คณะทางาน(กาหนดหลักเกณฑ์/
แนวทางการคัดสรร)
• จั ด พิ มพ์ คู่ มื อ(แนวทาง/
หลักเกณฑ์และโปรแกรมการ
บันทึกค่าคะแนน/ประมวลผล
•ประชุ มชี้ แจงผู ้ เ กี่ ยวข้ อ ง
(คณะกรรมการ/เจ้าหน้าที่)
• แต่ งตั้ งคณะกรรมการ
ดาเนินการคัดสรรฯ
•แต่ ง ตั้ ง คณะ ทางาน
พิ จ ารณาตรวจสอบและ
กลั น่ กรอง
•ป ร ะ ชุ ม ชี้ แ จ ง
ผู ้เ กี่ ย วข้อ ง
คณะกรรมการ/ เจ้าหน้าที่/
เครือข่ายOTOP /ผูผ้ ลิต OTOP)
จังหวัด
กทม.
ผูผ้ ลิตที่ลงทะเบียนฯ และได้
มาตรฐานรับรอง
1 ราย ต่อ 1
ผลิตภัณฑ์หลัก 1
ประเภทอาหาร
ประเภทเครื่องดื่ม
ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย
ประเภทของใช้ฯ
ประชาสัมพันธ์ในทุกระดับทางสื่อต่าง ๆ
ประเภทสมุนไพร
จังหวัดส่งผลิตภัณฑ์ให้กรมฯ
(8-18 ธ.ค.55)
ตรวจสอบ
3-7 ธ.ค.55
กรมการพัฒนาชุมชน
•ตรวจสอบความถู ก
ต้องของข้อมูล
•ส่ งรายชื่ อผู เ้ ข้าคั ด
ส ร ร ฯ ใ ห้ กั บ 6
หน่วยงาน
คัดสรรฯ
ระดับประเทศ
19-28ธ.ค.55
ม.เทคโนโลยีธญ
ั บุรีและ
ม.พระนครเหนือ
ประเภทอาหาร
ก.วิทยาศาสตร์
ประเภทเครื่องดื่ม
ก.อุตสาหกรรม
ประเภทผ้า เครื่องแต่งกาย
ก.พาณิชย์
ประเภทของใช้ ของตกแต่ง
ของที่ระลึก
ก.สาธารณสุข
ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่
อาหาร
กรมการพัฒนาชุมชน
ออกแบบ/บันทึก/ประมวลผล
กรมการพัฒนาชุมชน จัดทาบัญชี/ประกาศผลการคัดสรรฯ และมอบใบประกาศ (15 ม.ค. – 28 ก.พ.56)
กรอบการจัดสรรงบประมาณสาหรับจังหวัด
หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุเป็ นค่าใช้จา่ ย
1.การจัดประชุมคณะกรรมการ คณะทางาน ผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ หรือผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
2.การประชุมพิจารณาคัดสรรฯ ของคณะกรรมการ หรือผูอ้ ื่นที่เกี่ยวข้อง
3.การจัดทาเอกสาร ใบสมัคร การบันทึกข้อมูล ภาพถ่ายผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการคัดสรรฯ
4.ค่าใช้จา่ ยที่เกี่ยวกับสถานที่สาหรับการคัดสรรฯ
5.การประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ เช่น การแถลงข่าว โปสเตอร์ แผ่นพับ สื่อวิทยุ ฯลฯ
6.ค่าใช้จา่ ยในการบริหารโครงการ
การใช้จา่ ยงบประมาณการคัดสรรฯ ปี 2555
1.จังหวัดจัดทารายงานผลการใช้จา่ ยงบประมาณ ส่งกรมฯ หลักจากดาเนินการ
คัดสรรฯ ระดับจังหวัด แล้วเสร็จภายใน 30 วัน รายละเอียด ดังนี้
 จังหวัดได้รบั การจัดสรรงบประมาณ จานวน..................บาท
 จังหวัดใช้จา่ ยงบประมาณ จานวน ..................บาท
 งบประมาณที่เหลือจ่ายและส่งคืนกรมฯ จานวน ..................บาท
2.ขอให้จงั หวัดเบิกจ่ายให้แล้วเสร็จ ภายในวันที่ 28 ธันวาคม 2555