การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทยปี พ.ศ. 2553

Download Report

Transcript การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทยปี พ.ศ. 2553

เตรียมความพร้อม
-แต่งตั้งคณะกรรมการ/
คณะทางาน
รับสมัคร/คัดสรร
ระดับจังหวัด/กทม.
กรมฯ ตรวจสอบความถูก
ต้องของข้อมูล
25 – 30 มิ.ย. 53
1- 3 ก.ค. 53
- ประชุมคณะกรรมการ/
คณะทางาน
จังหวัดส่งผลิตภัณฑ์ ให้
กรมฯ
-ประชุมชี้แจงผูเ้ กี่ยวข้อง
(4– 9 ก.ค. 53)
พ.ค. - มิ.ย. 53
ประกาศผลการคัดสรรฯ และ
มอบใบประกาศ (กย.53)
คัดสรรฯ ระดับประเทศ
10-19 ก.ค.53
ประชาสัมพันธ์ในทุกระดับทางสื่อต่าง ๆ มิ.ย. – กค. 53
3
หลักการ
การคัดสรรฯ เป็ นการจัดระดับผลิตภัณฑ์เพื่อการ
ส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์ OTOP ของแต่ละชุมชนได้รบั
โอกาสในการพัฒนาคุณภาพให้ได้มาตรฐาน จนสามารถ
เชื่อมโยงสูต่ ลาดทั้งในและต่างประเทศได้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดระดับผลิตภัณฑ์ (Product Level)
ที่จะนา ไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์
(Product Development)
2. เพื่อจัดระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ (Profile)
ที่จะใช้ในการทางานเชิงบูรณาการของ
ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ (ต่อ)
3. เพื่อเสริมสร้างคุณค่าของผลิตภัณฑ์ให้เป็ นที่
ยอมรับแก่บุคคลทั ่วไปจนสามารถใช้เป็ น
แหล่ง
สร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน
4. เพื่อกระตุน้ ให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของ
ผูผ้ ลิต/ผูป้ ระกอบการ OTOP และชุมชน
ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
กรอบการคัดสรรฯ
1. สามารถส่งออกได้ (Exportable) โดยมีความแกร่งของ
ตราสินค้า (Brand Equity)
2. ผลิตอย่างต่อเนื่องและคุณภาพคงเดิม (Continuous &
Consistent)
3. ความมีมาตรฐาน(Standardization) โดยมีคุณภาพ (Quality)
และสร้างความพึงพอใจแก่ลกู ค้า (Satisfaction)
4. มีประวัตคิ วามเป็ นมาของผลิตภัณฑ์ (Story of Product)
คุณสมบัตกิ ารรับสมัครเข้าคัดสรรฯ
1. เป็ นผูม้ ีชื่ออยูใ่ นทะเบียนผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP
ปี พ.ศ.2553 ของจังหวัดและกทม.
2. ผลิตภัณฑ์ที่ส่งเข้าคัดสรรฯ ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้
ลงทะเบียนผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการสินค้า OTOP
ในปี พ.ศ.2553
คุณสมบัตกิ ารรับสมัครเข้าคัดสรรฯ (ต่อ)
3. ผลิตภัณฑ์ที่สง่ เข้าคัดสรรฯ ต้องผ่านการรับรองมาตรฐาน
ตามที่กฎหมายกาหนด และหากผลิตภัณฑ์ใด
ไม่มีขอ้ กาหนดของกฎหมายระบุไว้ ต้องผ่านการรับรอง
มาตรฐานอย่างใด อย่างหนึ่งก่อนวันสมัครเข้าคัดสรรฯ
เช่น อย., มผช., มอก., ฮาลาล, คิว(Qmark), GAP, GMP,
HACCP และมาตรฐานเกษตรอินทรีย ์ เป็ นต้น
* ทั้งนี้ กรณีผลิตภัณฑ์เครื่องประดับอัญมณี หากไม่มี
มาตรฐานใดรับรอง สามารถส่งเข้าคัดสรรได้
คุณสมบัตกิ ารรับสมัครเข้าคัดสรรฯ (ต่อ)
* กรณีผลิตภัณฑ์ที่อยูร่ ะหว่างยืน่ ขอใบรับรองมาตรฐาน
1) รายใหม่ ให้ใช้หนังสือรับรองจากหน่วยงานที่ยนื่ ขอประกอบ
การสมัครได้ (ก่อนประกาศผลการคัดสรรฯ หากไม่ได้รบั การ
รับรองมาตรฐานจะถือว่าขาดคุณสมบัติ)
2) รายเก่า ให้ใช้ใบรับรองมาตรฐานที่หมดอายุยนื่ ประกอบ
การสมัครได้ (ก่อนประกาศผลการคัดสรรหากได้รบั การรับรอง
มาตรฐานใหม่จะนาผลคะแนนที่ได้คณ
ู ด้วย 1 และหากไม่ได้รบั
การรับรองมาตรฐานใหม่จะนาผลคะแนนที่ได้คณ
ู ด้วย 0.75)
ประเภทผลิตภัณฑ์
1.
2.
3.
4.
5.
ประเภทอาหาร
ประเภทเครื่องดื่ม
ประเภทผ้า เครื่องแต่งกาย
ประเภทของใช้ / ของตกแต่ง / ของที่ระลึก
ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
หน่วยดาเนินการ
 ระดับจังหวัด / กรุงเทพมหานคร
- แต่งตัง้ คณะกรรมการคัดสรรฯ ระดับจังหวัด
และกรุงเทพมหานคร
- พิจารณาให้ค่าคะแนน ส่วน ก. + ข. ตามกลุ่ม
ประเภทผลิตภัณฑ์
 ระดับประเทศ
พิจารณาให้ค่าคะแนน ส่วน ค. ดังนี้
อาหาร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร
เหนือ
เครื่องดื่ม
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้า เครื่องแต่งกาย
กระทรวงอุตสาหกรรม
ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก
สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
กระทรวงพาณิชย์
กระทรวงสาธารณสุข
การจัดระดับผลิตภัณฑ์
ระดับดาว
ค่าคะแนน
คุณลักษณะ
 90 คะแนนขึ้นไป เป็ นสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐาน หรือมี
ศักยภาพในการส่งออก
80 - 89 คะแนน เป็ นสินค้าที่มีศกั ยภาพ เป็ นที่ยอมรับระดับ

ประเทศ และสามารถพัฒนาสู่สากล
70 - 79 คะแนน เป็ นสินค้าที่มีคุณภาพระดับกลางที่สามารถ

พัฒนาสู่ระดับ 4 ดาวได้
50 - 69 คะแนน เป็ นสินค้าที่สามารถพัฒนาสู่ระดับ 3 ดาว

มีการประเมินศักยภาพเป็ นระยะ
ต ่ากว่า 50
เป็ นสินค้าที่ไม่สามารถพัฒนาสู่ระดับ 2 ดาว

คะแนน
ได้เนื่องจากมีจุดอ่อนมาก และพัฒนายาก14
การจัดระดับผลิตภัณฑ์
หลักเกณฑ์การคัดสรรฯ
 ส่วน ก หลักเกณฑ์การพิจารณาด้านผลิตภัณฑ์และ
ความเข้มแข็งของชุมชน (30 คะแนน)
 ส่วน ข หลักเกณฑ์การพิจารณาด้านความเป็ นไปได้
ทางการตลาด (25 คะแนน)
 ส่วน ค หลักเกณฑ์การพิจารณาด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์
(45 คะแนน)
หลักเกณฑ์การคัดสรรฯ (ส่วน ก.)
ส่วน ก หลักเกณฑ์การพิจารณาด้านผลิตภัณฑ์และ
ความเข้มแข็งของชุมชน (30 คะแนน)
• ด้านการผลิต
• ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์
• ด้านความเข้มแข็งของชุมชน
12 คะแนน
9 คะแนน
9 คะแนน
16
หลักเกณฑ์การคัดสรรฯ (ส่วน ข.)
ส่วน ข หลักเกณฑ์การพิจารณาด้านความเป็ นไป
ได้
ทางการตลาด (25 คะแนน)
• ด้านการตลาด
15 คะแนน
• ด้านเรือ่ งราวของตานานผลิตภัณฑ์ 10 คะแนน
(Story of Product)
17
หลักเกณฑ์การคัดสรรฯ (ส่วน ค.)
ส่วน ค หลักเกณฑ์การพิจารณาด้านคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์
(45 คะแนน)
@ การตรวจสอบ / วิเคราะห์คณ
ุ ภาพ 40
คะแนน
ตามประเภทผลิตภัณฑ์
@ โอกาสทางการตลาดสูส่ ากล
5
คะแนน
18
จานวนผลิตภัณฑ์ที่ส่งเข้าคัดสรรฯ
ส่งสมัครเข้าคัดสรรฯ
ได้รายละ 1 ผลิตภัณฑ์ (กรณีผลิตภัณฑ์เดี่ยว)
หรือ 1 ชุด (กรณีชุดผลิตภัณฑ์)
จานวนตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งจัดส่งเข้าคัดสรรฯ
ระดับประเทศ
ประเภทผลิตภัณฑ์
อาหาร
เครื่องดื่ม
ผ้า เครื่องแต่งกาย
ของใช้ฯ
สมุนไพรฯ
จานวน(ชิ้น/ชุด)
6
4
1
1
5
การส่งคืนผลิตภัณฑ์
@ ส่งคืนเฉพาะผลิตภัณฑ์ประเภท ผ้า เครื่องแต่งกาย
และ ประเภทของใช้ ของตกแต่ง ของที่ระลึก
@ ไม่มีการส่งคืนผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร, เครือ่ งดื่ม
และ สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
เนื่องจากต้องมีการนาตัวอย่างผลิตภัณฑ์ไป ตรวจ
ชิม
ทดสอบ และวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์
การตัดสินผลิตภัณฑ์
• คณะกรรมการระดับประเทศ สงวนสิทธิ์ในการพิจารณา
คุณสมบัตขิ องผลิตภัณฑ์
• ผลวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ กรณีชุดตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทสี่ ่งเข้าคัดสรร
มีรายการใดรายการหนึ่งไม่ผ่านมาตรฐานให้ถือว่าไม่ผ่าน
มาตรฐานทั้งชุด และไม่ได้รบั คะแนน ส่วน ค. ว่าด้วยคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์
• ผลิตภัณฑ์ที่ส่งเข้าคัดสรรระดับประเทศ ต้องตรงตามรูปภาพที่ส่ง
สมัครเข้าคัดสรรระดับจังหวัด
22
ขั้นตอนการดาเนินงานของจังหวัด และ กทม.
ขั้นตอนที่ 1 แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการคัดสรรฯ ระดับจังหวัด/กทม.
1.1 คณะกรรมการดาเนินการคัดสรรฯ ระดับจังหวัด/กทม.
1.2 คณะทางานพิจารณา ตรวจสอบและกลั ่นกรองผลิตภัณฑ์
ที่สมัครเข้าคัดสรรฯ ระดับจังหวัด/กทม.
ขั้นตอนที่ 2 ประชุมชี้แจงทาความเข้าใจผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนที่ 3 ประชาสัมพันธ์
23
ขั้นตอนการดาเนินงานของจังหวัด และ กทม. (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 4 เตรียมเจ้าหน้าที่ สถานที่ และวัสดุอุปกรณ์
ขั้นตอนที่ 5 รับสมัครผลิตภัณฑ์เข้าคัดสรรฯ
ขั้นตอนที่ 6 พิจารณา ตรวจสอบและกลั ่นกรองรับสมัครผลิตภัณฑ์
เข้าคัดสรรฯ
ขั้นตอนที่ 7 บันทึก ประมวลผล รายงานผลการคัดสรรฯ
และการจัดส่งผลิตภัณฑ์
24
ขั้นตอนการสมัครเข้ารับการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
ไทย
การกรอกใบสมัคร
การถ่ายภาพผลิตภัณฑ์
การขนส่ง
25
ขั้นตอนการสมัครเข้ารับการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย
การกรอกใบสมัคร
ข้ อมูลผลิตภัณฑ์
• ชื่อผลิตภัณฑ์
• ประเภทและหมวด
ข้ อมูลผู้ผลิต
ผู้ประกอบการ
ข้ อมูลประธาน
เจ้ าของกิจการ
• ชื่อและที่อยู่ตามที่
ลงทะเบียนผู้ผลิต
ผู้ประกอบการโอ
ทอปไว้
• ชื่อและที่อยู่
ประธานตามที่
ลงทะเบียน
ผูผ้ ลิต
ผูป้ ระกอบการ
โอทอปไว้
มาตรฐานการรับรอง
• ระบุมาตรฐาน
การรับรอง
ผลิตภัณฑ์ที่
ได้รับ พร้อม
ระบุดว้ ยว่า
ใบรับรอง
ดังกล่าว
หมดอายุ
หรื อไม่
ข้ อมูลทางการตลาด
และขนส่ง
• กาลังการผลิต
• ราคาขายปลีก
• เป็ นผลิตภัณฑ์
ที่ตอ้ งควบคุม
อุณหภูมิ
หรื อไม่
• เป็ นผลิตภัณฑ์
แตกหักง่าย
หรื อไม่
• เป็ นอัญมณี
26
การถ่ายภาพผลิตภัณฑ์
ถ่ายภาพผลิตภัณฑ์ 1 ภาพ ด้วยกล้องดิจิตอล เพื่อใฃ้บนั ทึกเข้าระบบฯ
ในกรณีรูปผลิตภัณฑ์ ตรงตามที่ได้ บนั ทึกไว้ ในการลงทะเบียนผู้ประกอบการโอทอป
ระบบฯ จะนารูปดังกล่าวมาแนบให้ ในข้ อมูล ไม่ต้องถ่ายรูปใหม่ สามารถตรวจสอบ
ความถูกต้ องสวยงามได้ โดยดูจาก
ในระบบงานฯ
รูปที่แสดงในใบแสดงรายละเอียดผลิตภัณฑ์ต้องตรงกับผลิตภัณฑ์ที่ใช้ คดั สรรฯ ทั ้งใน
ระดับจังหวัด และระดับประเทศ
27
การขนส่ง
รหัสขนส่ง
หมายถึง รหัสที่ใช้สาหรับรับ – ส่ งผลิตภัณฑ์จากจังหวัด และการนาเข้าในสถานีตรวจฯ
หนึ่งรหัส / หนึ่งผลิตภัณฑ์ ระบบฯ จะกาหนดให้เมื่อบันทึกข้อมูลลงทะเบียนเสร็จ
28
รู ปแบบและความหมายของรหัสขนส่ ง
จังหวัด ประเภทผลิตภัณฑ์ ลาดับที่
สกลนคร อาหาร 27
ตัวอย่างฉลากรหัสขนส่ งที่จดั เตรี ยมให้ 8 ชิ้น / 1 ผลิตภัณฑ์
29
ตัวอย่างฉลากรหัสขนส่งที่จดั เตรียมให้ 8 ชิ้น / 1 ผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ
30
ตัวอย่างฉลากรหัสขนส่งที่จดั เตรียมให้ 8 ชิ้น / 1 ผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ
31
ตัวอย่างฉลากรหัสขนส่งที่จดั เตรียมให้ 8 ชิ้น / 1 ผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ
32
ตัวอย่างฉลากรหัสขนส่งที่จดั เตรียมให้ 8 ชิ้น / 1 ผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ
33
ตัวอย่ างฉลากรหัสขนส่ งที่จัดเตรี ยมให้ 8 ชิน้ / 1 ผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผลิตภัณฑ์
กรอกชื่อผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ
34
กระบวนการขนส่งผลิตภัณฑ์เข้าคัดสรรฯ
1. การจัดเตรี ยมผลิตภัณฑ์
2. บัญชีรับ - ส่ งผลิตภัณฑ์
3. การขนส่ งผลิตภัณฑ์
35
การจัดเตรี ยมผลิตภัณฑ์
1. การติดฉลากรหัสขนส่ง
2. การบรรจุภณ
ั ฑ์และเอกสารแนบ
3. การแบ่งกลุ่มจัดเรี ยงผลิตภัณฑ์ตามบัญชีรับ - ส่ ง
36
1. การติดฉลากรหัสขนส่ง
ฉลากชิ ้นใหญ่ 2 ชิ ้น
• ใช้ ติดที่ตวั บรรจุภณ
ั ฑ์ของผลิตภัณฑ์
ฉลากชิ ้นเล็ก 6 ชิ ้น
• ใช้ ติดที่ตวั อย่างผลิตภัณฑ์ที่สง่ เข้ าคัดสรร
37
2. การบรรจุภณ
ั ฑ์และเอกสารแนบ
นาตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ปิดฉลากรหัสขนส่งแล้ วใส่บรรจุภณ
ั ฑ์ที่จาหน่ายตามปกติ (จานวน
ตัวอย่างตามที่กาหนด)
ยกเว้ นผลิตภัณฑ์ที่ต้องแข่เย็นให้ ผนึกบรรจุภณ
ั ฑ์กนั น ้าด้ วย
แนบสาเนาเอกสารการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่ได้ รับ (พร้ อมระบุรหัสขนส่งในเอกสาร และ
รับรองสาเนาถูกต้ อง)
กรมการพัฒนาชุมชนได้ จดั เตรี ยมบรรจุภณ
ั ฑ์
ขนาดปริมาตร 100 – 130 ลิตร
สาหรับผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก และวัสดุห่อหุ้ม สาหรับผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ ไปกับเจ้ าหน้ าที่
ขนส่งด้ วย
38
การจัดเตรี ยมผลิตภัณฑ์
รุปตัวอย่างบรรจุภณ
ั ฑ์
39
การจัดเตรี ยมผลิตภัณฑ์
รุปตัวอย่างบรรจุภณ
ั ฑ์
40
3. การแบ่งกลุม่ จัดเรี ยงผลิตภัณฑ์ตามบัญชีรับ - ส่ง
ผลิตภัณฑ์ที่ต้องควบคุมอุณหภูมิระหว่างขนส่ง
• จัดเรี ยงตามบัญชีรับ - ส่งผลิตภัณฑ์แยกตามประเภท (แช่เย็น)
ผลิตภัณฑ์ทวั่ ไป
• จัดเรี ยงตามบัญชีรับ – ส่งผลิตภัณฑ์แยกตามประเภท (ทัว่ ไป)
41
บัญชีรับ - ส่ งผลิตภัณฑ์
บัญชีรับ – ส่งผลิตภัณฑ์แยกตามประเภท (แช่เย็น)
บัญชีรับ – ส่งผลิตภัณฑ์แยกตามประเภท (ทัว่ ไป)
42
กาหนดการขนส่ งผลิตภัณฑ์
การขนส่งผลิตภัณฑ์ทวั่ ไป วันที่ 5 – 10 กรกฎาคม 2553
การขนส่ งผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งควบคุมอุณหภูมิ วันที่ 7 – 12 กรกฎาคม 2553
(ควบคุมอุณหภูมิที่ 5 องศาเซสเซี ยส)
ผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่มาก ผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งขนส่ งเป็ นการเฉพาะทาง ให้
จังหวัดแจ้งประสานสานักฯ เป็ นกรณี หลังจากรับสมัครแล้ว
43
ขันตอนการรั
้
บผลิตภัณฑ์จากจังหวัด
1. เจ้ าหน้ าที่ขนส่งรายงานตัวพร้ อมบัญชีรับ – ส่งผลิตภัณฑ์กบั ตัวแทนส่งผลิตภัณฑ์ที่ทางจังหวัดมอบหมาย
2. เจ้ าหน้ าที่ขนส่งตรวจรับผลิตภัณฑ์ เรี ยงลาดับตามบัญชีรับ-ส่งผลิตภัณฑ์
3. เจ้ าหน้ าที่ขนส่งจะทาบัญชีสรุปการรับผลิตภัณฑ์ และลงลายมือชื่อรับผลิตภัณฑ์ ให้ ทางจังหวัดตรวจสอบ
และลงลายมือชื่อส่งผลิตภัณฑ์ เอกสารตัวจริงทางจังหวัดเก็บไว้ เป็ นหลักฐาน สาเนาให้ เจ้ าหน้ าที่ขนส่งเก็บ
4. เจ้ าหน้ าที่ขนส่งบรรจุหีบห่อสาหรับขนส่ง และขนส่งเข้ าสถานีตรวจต่อไป
44
การจัดสรรงบประมาณให้จงั หวัด/กทม.
 การจัดสรรงบประมาณให้จงั หวัด แบ่งเป็ น 5 ระดับ
1.
2.
3.
4.
5.
จานวน 3 - 5 อาเภอ
จานวน 9 - 14 อาเภอ
จานวน 15 - 20 อาเภอ
จานวน 22 - 29 อาเภอ
จานวน 30 อาเภอขึ้นไป
 กรุงเทพมหานคร
เป็ นเงิน 90,000 บาท
เป็ นเงิน 100,000 บาท
เป็ นเงิน 110,000 บาท
เป็ นเงิน 123,000 บาท
เป็ นเงิน 132,000 บาท
เป็ นเงิน 100,000 บาท
45
กรอบการจัดสรรงบประมาณสาหรับจังหวัด/กทม.
ในหมวดค่าใช้สอยและวัสดุ
1. การจัดประชุมคณะกรรมการ คณะทางาน ผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ
หรือผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
2. การประชุมพิจารณาคัดสรรฯ ของคณะกรรมการ คณะทางาน
หรือผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
3. การจัดทาเอกสาร ใบสมัคร การบันทึกข้อมูล ภาพถ่ายผลิตภัณฑ์
ที่ผ่านการคัดสรร
4. ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับสถานที่สาหรับการคัดสรรฯ
5. การประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การแถลงข่าว, โปสเตอร์, แผ่นพับ
6. ค่าใช้จา่ ยในการบริหารโครงการ
46
สวัสดี
47