การวิเคราะห์ต้นทุนผลผลิต

Download Report

Transcript การวิเคราะห์ต้นทุนผลผลิต

การคานวณต้ นทุนผลผลิต
ท่านทราบหรื อไม่วา่ ?
• ต้นทุนในการเก็บภาษี 1 ล้านบาท มีตน้ ทุนกี่บาท
- ของกรมสรรพากร 1 ลบ. = 6,983.57 บาท หรือ 0.007 ต่ อ 1 บาท
- ของกรมศุลกากร
1 ลบ. = 26,843.83 บาท หรือ 0.027 ต่ อ 1 บาท
- ของกรมสรรพาสามิต = 5,029.73 บาท หรือ 0.005 ต่ อ 1 บาท
• ต้นทุนในการก่อสร้างถนน 1 กิโลเมตรมีตน้ ทุนกี่บาท (กรมทางหลวง /กรมทางหลวง
ชนบท) กรมทางหลวง 39 ล้ านบาท/กรมทางหลวงชนบท เขตเมือง 14 ล้ าน เขตชนบท 2 ล้ านบาท
• การดาเนินการจดทะเบียนรถ ต่อครั้ง มีตน้ ทุนกี่บาท
249.68 บาท
96.84 บาท
• การดาเนินการด้านใบอนุญาตขับรถ ต่อราย มีตน้ ทุนกี่บาท
90.52 บาท
• การคืนหรื อยกเว้นอากรเพื่อส่ งเสริ มการส่ งออก 1 ฉบับ
• การบริ หารจัดการหนี้สาธารณะมีตน้ ทุนรวมเท่าไร 105 ล้ าน ต่ อการบริหารหนี ้ 3 ล้ านล้ านบาท
• การรับจดทะเบียนจัดตั้ง/เปลี่ยนแปลงแก้ไข/เลิกธุรกิจของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 1ราย มี
207.99 บาท
ต้นทุนเท่าไร
ความเป็นมา
ทาไมต้ องปรับปรุ งการบริหารองค์ กรภาครัฐ
• ภาครัฐเป็ นหนึ่งในหัวรถจักรหลักที่นาพาความเจริญมาสู่
ประเทศชาติ
• ความคาดหวังของประชาชนเจ้ าของประเทศที่สูงขึน้
• การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและสภาพแวดล้ อมที่รวดเร็ว
• การแข่ งขันระหว่ างประเทศทวีความรุ นแรงมากขึน้
• โลกาภิวัฒน์ กฎหมาย/ข้ อตกลงระหว่ างประเทศ การเปิ ดเสรี
ตลอดจนการรวมเป็ นกลุ่มของประเทศต่ าง ๆ
องค์ กรที่เน้ นยุทธศาสตร์
(Strategy focused Organization)
องค์ กรที่มีผลสัมฤทธิ์สูง
(High Performance Organization)
องค์ กรแห่ งการเรียนรู้
(Learning Organization)
องค์ กรแห่ งพลวัตและการปรับเปลี่ยน
(Dynamic and agile Organization)
องค์ กรที่ม่ ุงสู่ความเป็ นเลิศ
(From Good to Great, towards an excellence)
ความเป็ นเลิศขององค์ กรภาครัฐ
•
•
•
•
•
ประชาชนได้ รับการบริการ/ดูแลอย่ างทั่วถึงและมีประสิทธิผล
พันธกิจที่ได้ รับมอบหมายสามารถบรรลุได้ อย่ างมีประสิทธิผล
การดาเนินการของภาครัฐที่มีประสิทธิภาพสูง รวดเร็ว โปร่ งใส
การใช้ จ่ายงบประมาณมีประสิทธิภาพสูง คุ้มค่ า มีผลิตภาพสูง
ประเทศชาติมีความมั่นคง และศักยภาพในการแข่ งขันที่สูงขึน้
พ.ร.ฎ. ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546
หมวด 1 การบริการกิจการบ้ านเมืองที่ดี
หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้ เกิดประโยชน์ สุขของ
ประชาชน
หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์
ต่ อภารกิจของรัฐ
หมวด 4 การบริหารราชการอย่ างมีประสิทธิภาพ
และเกิดความคุ้มค่ าในเชิงภารกิจของรัฐ
หมวด 5 การลดขัน้ ตอนการปฏิบัติงาน
หมวด 6 การปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการ
หมวด 7 การอานวยความสะดวกและการตอบสนอง
ความต้ องการของประชาชน
หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด
(มาตรา 6)
(มาตรา 7-มาตรา 8)
(มาตรา 9-มาตรา 19)
(มาตรา 20-มาตรา 26)
(มาตรา 27-มาตรา 32)
(มาตรา 33-มาตรา 36)
(มาตรา 37-มาตรา 44)
(มาตรา 45-มาตรา 49)
(มาตรา 50-มาตรา 53)
ความเป็นมา
พระราชกฤษฎีกา
ว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
หมวด 4
การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และ
เกิดความคม้ ุ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
มาตรา 21
วรรคแรก
ให้สว่ นราชการจัดทาบัญชีตน้ ท ุน
ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนด
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
มาตรา 21
วรรคสอง
ให้สว่ นราชการคานวณรายจ่ายต่อหน่วย
ของงานบริการสาธารณะที่รบั ผิดชอบ
ตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกาหนด และ
รายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
มาตรา 21
วรรคสาม
ให้สว่ นราชการจัดทาแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย
ของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ
สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ
วัตถุประสงค์ของการคานวณต้ นทุนผลผลิต
1 พัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินที่ดี ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของ
2
3
4
บริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี (Good Governance)
เพิ่มความรับผิดชอบต่อสาธารณะ Accountability
เพิ่มความสามารถในการตัดสินใจในการการบริหารจัดการ
การวัดผลการดาเนินงาน
ประโยชน์ ของข้ อมูลต้ นทุน
• 5 ด้ าน (ข้ อมูลจาก “การบัญชีเพื่อการบริหารต้ นทุนภาครัฐ” มาตรฐาน
การบัญชีการเงินภาครัฐ ฉบับที่ 4)
1. การควบคุมต้ นทุนและงบประมาณ
2. การวัดผลการดาเนินงาน
3. การกาหนดค่าธรรมเนียม (เช่น มหาวิทยาลัย)
4. ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม
5. การตัดสินใจของคานึงถึงความเหมาะสมทางการเงิน
ตัวชีว้ ัดที่ 9 : ระดับความสาเร็จของการจัดทา
ต้ นทุนต่ อหน่ วยผลผลิต
14
ระดับคะแนน
เกณฑ์การให้ คะแนน
1
จัดทาบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 ตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนดได้ แล้ วเสร็จ และรายงานผลการคานวณต้ นทุนตามรูปแบบ
ที่กรมบัญชีกลางกาหนด โดยเสนอให้ สานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสานั กงาน
ก.พ.ร. ทราบ
2
เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 และ
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 ว่า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเพิ่ มขึน้ หรื อ ลดลงอย่า งไร พร้ อมทัง้
วิเคราะห์ ถึงสาเหตุของการเปลี่ ยนแปลงดังกล่าว จัดทารายงานการเปรี ยบเทีย บและ
สรุ ปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตได้ แล้ วเสร็ จ ตามรู ปแบบที่กรมบั ญชีกลาง
กาหนด โดยเสนอให้ สานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสานักงาน ก.พ.ร. ทราบ
3
จัดทาแผนเพิ่มประสิทธิภาพ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 พร้ อมทังก
้ าหนดเป้าหมายการเพิ่ม
ประสิ ท ธิ ภ าพในปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 ให้ ชัด เจน (สามารถวัด ผลได้ ) และแผนฯ
ดังกล่าวได้ รับความเห็นชอบจากผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการ
15
ระดับคะแนน
เกณฑ์ การให้ คะแนน
4
สร้ างรหัสกิจกรรมย่อยในระบบ GFMIS สาหรับปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 และระบุ
ค่าใช้ จ่ายเข้ าสูก่ ิจกรรมย่อยดังกล่าวในระบบ GFMIS
5
สามารถดาเนินการตามแผนเพิ่มประสิทธิ ภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 ได้
ตามเป้ าหมายที่ ก าหนดไว้ พร้ อมทัง้ จัด ท ารายงานสรุ ป ผลการด าเนิ น งาน และ
ผลสาเร็ จตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงาน ปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 และ
ได้ รับความเห็นชอบจากหัวหน้ าส่วนราชการ
16
เงื่อนไข
– ให้ สว่ นราชการส่งผลการดาเนินงานในระดับคะแนนที่ 1 และ 2 ถึงสานักงบประมาณ
กรมบัญชีกลาง และสานักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554
– ให้ สว่ นราชการส่งผลการดาเนินงานในระดับคะแนนที่ 3 ถึงกรมบัญชีกลางภายในวันที่
31 มีนาคม 2554
– ให้ สว่ นราชการส่งผลการดาเนินงานในระดับคะแนนที่ 4 และ 5 ถึงกรมบัญชีกลาง
ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2554
17
แนวทางการประเมินผล
ระดับคะแนน
1
เกณฑ์การให้คะแนน
ขัน้ ตอนที่ 1 :
แนวทางการประเมินผล
ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
จั ด ท า บั ญ ชี ต้ น ทุ น ต่ อ ห น่ ว ย เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการจัดทาบัญชีต้นทุนต่อหน่วยทุ กกิจกรรม
ผลผลิ ต ประจ าปี งบประมาณ ย่อยและผลผลิตย่อย ดังนี ้
พ.ศ. 2553 ตามหลักเกณฑ์ และ
 รายงานผลการคานวณต้ นทุนต่อ หน่วยกิ จกรรม ผลผลิต กิ จกรรม
วิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนดได้
ย่อย และผลผลิตย่อ ยของปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 ตามหลักเกณฑ์
แล้ ว เสร็ จ และรายงานผล การ
วิธีการ และรู ปแบบรายงานที่กรมบัญชีกลางกาหนด(แสดงเป็ นหน่วย :
ค านวณต้ นทุ น ตามรู ปแบบที่
บาท) โดยได้ รับความเห็นชอบจากผู้มีอานาจ
ก ร ม บั ญ ชี ก ล า ง ก า ห น ด
 ทังนี
้ ้ วันที่แล้ วเสร็จของรายงานผลการคานวณต้ นทุนต่อ หน่วยผลผลิต
โดยเสนอให้ ส านัก งบประมาณ
อ้ างอิงจากวันที่ผ้ มู ีอานาจลงนามเห็นชอบต่อรายงานฯ ดังกล่าว
กรมบัญ ชี ก ลาง และส านัก งาน
 กิ จ กรรมย่ อ ยของหน่ ว ยงานสนั บ สนุ น ต้ องมี ม ากกว่ า 5 ด้ าน ที่
ก.พ.ร. ทราบ
กรมบัญชีกลางกาหนด เพื่อให้ ครอบคลุมทุกกิจกรรมสนับสนุน
 หน่ ว ยนับ ที่ ส่ ว นราชการก าหนดต้ อ งไม่ ม ากกว่ า 1 หน่ ว ยนับ ต่ อ 1
กิจกรรม/ผลผลิต
 สาเนาหนังสือนาส่งรายงานฯ ให้ กบั สานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง
และสานักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554
 ในการจัดทาบัญชีต้นทุนของปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 ต้ องใช้ ข้อมูล
ทางบัญชีตงแต่
ั ้ 1 ตุลาคม 2552 – 30 กันยายน 2553
18
แนวทางการประเมินผล
2
ขัน้ ตอนที่ 2 :
ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุน เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดาเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1 พร้ อม
ต่ อ ห น่ ว ย ผ ล ผ ลิ ต ร ะ ห ว่ า ง ทังรายละเอี
้
ยดการวิเคราะห์ ผลการคานวณต้ นทุนต่อหน่วยผลผลิตที่ ได้ จัดทา
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 และ แล้ วเสร็จ ดังนี ้
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 ว่ า มี
 รายงานสรุ ป ผลการวิ เ คราะห์ ต้ นทุ น ต่ อ หน่ ว ยผลผลิ ต ตามรู ป แบบที่
การเปลี่ ย นแปลง เพิ่ ม ขึ น้ หรื อ
กรมบัญชีกลางกาหนด(แสดงเป็ นหน่วย : บาท) และได้ รับความเห็นชอบจาก
ลดลงอย่างไร พร้ อมทัง้ วิเคราะห์
ผู้มีอานาจ โดยเนื ้อหาของรายงานฯ ดังกล่าว ประกอบด้ วย
ถึ ง สาเหตุ ข องการเปลี่ ย นแปลง
- สรุ ปผลการเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ผลการคานวณต้ นทุนต่อหน่ วย
ดั ง กล่ าว จั ด ท าร ายงา นกา ร
ผลผลิต และกิ จ กรรมระหว่างปี งบประมาณพ.ศ. 2552 และปี งบประมาณ
เปรี ยบเที ย บและสรุ ปผลการ
พ.ศ. 2553 ในต้ นทุน ปริมาณหน่วยนับ และต้ นทุนต่อหน่วย
วิเคราะห์ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
- วิเคราะห์สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นอย่างมีสาระสาคัญใน
ไ ด้ แ ล้ ว เ ส ร็ จ ต า ม รู ป แ บ บ ที่
ต้ น ทุน ปริ ม าณหน่ ว ยนับ และต้ น ทุน ต่ อ หน่ ว ย (การก าหนดสาระส าคั ญ
กรมบัญชีกลางกาหนด โดยเสนอ
พิจารณาจากอัตราการเปลี่ยนแปลงของต้ นทุนต่อหน่วย/ต้ นทุนทางตรงตาม
ใ ห้ ส า นั ก ง บ ป ร ะ ม า ณ
ศูนย์ต้นทุน/ต้ นทุนทางอ้ อมที่เพิม่ /ลด ไม่ควรต่ากว่า 20%)
กรมบั ญ ชี ก ลาง และส านั ก งาน
- ถ้ าหน่วยงานมีการปรับเปลี่ยนวิธีการคานวณต้ นทุน หน่วยนั บ หรื อชื่อ
ก.พ.ร. ทราบ
กิจกรรม/ผลผลิต ในปี ปั จจุบันต้ องมีการดาเนินการแก้ ไขปี ก่อนด้ วย เพื่อให้
สามารถเปรี ยบเทียบกันได้ ในระหว่าง 2 ปี
 ทัง้ นี ้ วัน ที่ แ ล้ ว เสร็ จ ของรายงานสรุ ป ผลการวิ เ คราะห์ ต้ น ทุน ต่ อ หน่ ว ย
ผลผลิต อ้ างอิงจากวันที่ผ้ มู ีอานาจลงนามเห็นชอบต่อรายงานฯ ดังกล่าว
 สาเนาหนังสื อนาส่ง รายงานฯ ให้ กับส านักงบประมาณ กรมบัญ ชี กลาง
และสานักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554
19
แนวทางการประเมินผล
3
ขัน้ ตอนที่ 3 :
ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
จั ด ท าแผนเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดาเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 พร้ อม และ 2 พร้ อมทังแผนการเพิ
้
่มประสิทธิ ภาพการดาเนินงาน ปี งบประมาณ
ทั ง้ ก าหนดเป้ าหมายการเพิ่ ม พ.ศ. 2554 ดังนี ้
ประสิทธิ ภ าพในปี งบประมาณ
 แผนเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงาน ปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 ซึ่งมี
พ.ศ. 2554 ให้ ชดั เจน (สามารถ
การกาหนดเป้าหมายการเพิ่มประสิทธิภาพในปี งบประมาณ พ.ศ. 2554
วัด ผลได้ ) และแผนฯ ดัง กล่ า ว
อย่างชัดเจน (มีการระบุกิจกรรม สถานะปั จจุบัน เป้าหมาย ระยะเวลา)
ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ จ า ก
ไม่ต่ากว่า 2 เรื่ อง โดยที่
ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ สู ง ข อ ง ส่ ว น
 1.กรณีลดค่าใช้ จ่ายต้ องเป็ นค่าใช้ จ่ายในภาพรวมระดับกรมที่ลดลง
ราชการ
 2.กรณีปรับปรุงกิจกรรม ต้ องแสดงให้ เห็นถึงประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ ้นของ
กิจกรรมนันในรู
้ ปของต้ นทุนและปริมาณงาน
 ทั ง้ นี ้ วั น ที่ แ ล้ วเสร็ จ ของแผนเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการด าเนิ นงาน
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 อ้ างอิงจากวันที่ผ้ มู ีอานาจลงนามเห็นชอบต่อ
แผนฯ ดังกล่าว
 ส า เ น า ห นั ง สื อ น า ส่ ง ใ ห้ กั บ ก ร ม บั ญ ชี ก ล า ง ภ า ย ใ น วั น ที่
31 มีนาคม 2554
20
แนวทางการประเมินผล
4
ขัน้ ตอนที่ 4 :
ประเมิ นผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
สร้ างรหัสกิ จกรรมย่อยในระบบ
GFMIS สาหรับปี งบประมาณ
พ.ศ. 2554 และระบุค่ า ใช้ จ่ า ย
เข้ าสู่ กิ จ กรรมย่ อ ยดั ง กล่ า วใน
ระบบ GFMIS
เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดาเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1, 2
และ 3 พร้ อมหลักฐานการสร้ างรหัสกิจกรรมย่อยในระบบ GFMIS และระบุ
ค่าใช้ จ่ายเข้ าสู่กิจกรรมย่อยดังกล่าวในระบบ GFMIS สาหรับปี งบประมาณ
พ.ศ. 2554 ดังนี ้
 สาเนาหนังสือขอสร้ างรหัสกิจกรรมย่อยทังหมดในระบบ
้
GFMIS
 แผ่ น บัน ทึก ข้ อ มูล ว่ า มี ก ารระบุค่ า ใช้ จ่ า ยเข้ า สู่กิ จกรรมย่ อ ยในระบบ
GFMIS (จากคาสัง่ งาน ksb 1)
ส า เ น า ห นั ง สื อ น า ส่ ง ใ ห้ กั บ ก ร ม บั ญ ชี ก ล า ง ภ า ย ใ น วั น ที่
31 ตุลาคม 2554
21
แนวทางการประเมินผล
5
ขัน้ ตอนที่ 5 :
ประเมินผลจากข้ อมูล เอกสาร หลักฐานต่ างๆ
สามารถดาเนินการตามแผนเพิ่ ม เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดาเนินงานเช่นเดียวกับระดับคะแนน 1, 2, 3
ประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ และ 4 พร้ อมทังเอกสาร/หลั
้
กฐานที่แสดงถึง
การดาเนินการตามแผนเพิ่ม
พ.ศ. 2554 ได้ ตามเป้ าหมายที่ ประสิทธิภาพการดาเนินงาน ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 ดังนี ้
กาหนดไว้ พร้ อมทัง้ จัดทารายงาน
 หลัก ฐานแสดงการด าเนิ น งานตามแผนเพิ่ม ประสิ ทธิ ภ าพที่ บ รรลุต าม
ส รุ ป ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น แ ล ะ
เป้าหมายที่กาหนดไว้ ในทุกเรื่ อง
ผ ล ส า เ ร็ จ ต า ม แ ผ น เ พิ่ ม
 รายงานสรุปผลการดาเนินงานตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพฯ โดยมีเนื อ้ หาที่
ประ สิ ท ธิ ภาพการด าเนิ น งาน
ระบุ
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 และ
- ผลการดาเนินงาน และผลสาเร็ จที่เกิดจากการดาเนินงานตามแผนเพิ่ม
ได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากหัว หน้ า
ประสิทธิภาพฯ ของปี งบประมาณ พ.ศ. 2554
ส่วนราชการ
ช่ว งระยะเวลาที่ ดาเนิน การตามแผนเพิ่ม ประสิ ทธิ ภ าพฯ ของ
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2554
วันที่ แล้ วเสร็ จของรายงานสรุ ปผลการดาเนินงานตามแผนเพิ่ม
ประสิทธิภาพฯ อ้ างอิงจากวันที่ผ้ มู ีอานาจลงนามเห็นชอบต่อรายงานฯ ดังกล่าว
สาเนาหนังสือนาส่งให้ กบั กรมบัญชีกลางภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2554
22
ความหมายและคาจากัดความ
ความหมายและคาจากัดความ
การบัญชีตน้ ท ุน
Cost accounting หมายถึง การบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก
การจาแนก การปันส่วน การสร ุป และการรายงาน
ข้อมูลเกี่ยวกับต้นท ุนผลิตภัณฑ์หรือบริการให้กบั
ผูบ้ ริหาร
ความหมายและคาจากัดความ
ต้นท ุน
Cost หมายถึง รายจ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือ
บริการ ซึ่งอาจเป็นเงินสด สินทรัพย์อื่น หรือการก่อหนี้
ผูกพัน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่งสินค้าและ
บริการ
ความหมายและคาจากัดความ
ต้นท ุนทางตรง
Direct Cost หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่สามารถระบ ุเข้าสานัก
กอง ศูนย์ กลมุ่ ที่เป็นผูผ้ ลิตผลผลิตได้อย่างเจาะจงว่า
ใช้ไปเท่าไรในการผลิตผลผลิตใด
ความหมายและคาจากัดความ
ต้นท ุนทางอ้อม
Indirect Cost หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่หลายๆ สานัก กอง
ศูนย์ กลมุ่ ใช้รว่ มกันในการผลิตผลผลิต ไม่เป็น
ค่าใช้จ่ายเฉพาะของ Cost Center ใดเพียงแห่งเดียว
ความหมายและคาจากัดความ
การปันส่วนต้นท ุน
Allocation หมายถึง การแบ่งส่วนค่าใช้จ่ายไปยัง
กิจกรรม กระบวนการผลิต การดาเนินงาน หรือ
ผลผลิตตามเกณฑ์ต่างๆ
ความหมายและคาจากัดความ
ต้นท ุนรวม
Full Cost หมายถึง ผลรวมของต้นท ุนทัง้ หมดที่เกิดขึ้น
ในการผลิตผลผลิตของหน่วยงาน โดยไม่ตอ้ งคานึง
แหล่งเงินท ุน และเป็นการคานวณจากตัวเลขค่าใช้จ่าย
ที่บนั ทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง
ความหมายและคาจากัดความ
หน่วยต้นท ุน
Cost Center หมายถึง หน่วยงานภายในส่วนราชการที่
กาหนดขึ้นตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีการดาเนินกิจกรรมที่ตอ้ งใช้
ทรัพยากรหรือต้นท ุนในการผลิตผลผลิต
ความหมายและคาจากัดความ
หน่วยงานหลัก
Functional Cost Center หมายถึง หน่วยงานที่มีหน้าที่
โดยตรงในการสร้างผลผลิต หรือมีสว่ นร่วมในการ
สร้างผลผลิตของหน่วยงาน
ความหมายและคาจากัดความ
หน่วยงานสนับสน ุน
Support Cost Center หมายถึง หน่วยงานที่ทาหน้าที่ให้
บริการกับหน่วยงานหลัก หรือทางานสนับสน ุน
คาศัพท์
ผลผลิตหลัก หมายถึง ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงผลผลิตอื่นที่
นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยูภ่ ายใต้การดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ซึ่งอาจจะไม่ ได้ ใช้ เงินในงบประมาณในการผลิตผลผลิต
ผลผลิตย่ อย หมายถึง ผลิตภัณฑ์หรื อบริ การที่หน่วยงานภาครัฐทาการผลิต
และส่ งมอบให้กบั บุคคลภายนอก ซึ่งหน่วยงานกาหนดขึ้นเพือ่ ใช้ในการคานวณหา
ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของหน่วยงาน และสามารถเปรี ยบเทียบต้นทุนต่อหน่วย
ผลผลิตระหว่างปี ของหน่วยงานเองและเปรี ยบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้
คาศัพท์
กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงกิจกรรมอื่นที่
นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยูภ่ ายใต้การดาเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ ได้ ใช้ เงินในงบประมาณในการดาเนินกิจกรรม
กิจกรรมย่ อย หมายถึง กิจกรรมของหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานกาหนดขึ้นเพือ่ ใช้ใน
การคานวณหาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม และสามารถเปรี ยบเทียบต้นทุนต่อ
หน่วยกิจกรรมระหว่างปี ของหน่วยงานเองและเปรี ยบเทียบระหว่างหน่วยงาน
อื่นได้
กิจกรรมย่ อย ส่วนราชการต้ องวิเคราะห์ กิจกรรมในการดาเนินงาน
ของหน่วยงาน และทาการคานวณต้ นทุนต่อหน่วยกิจกรรมย่อยเพื่อ
วิเคราะห์ประสิทธิภาพการดาเนินงานในรูปของต้ นทุนกิจกรรมต้ นทุนต่อ
หน่วยกิจกรรมควรจะสามารถเปรี ยบเทียบได้ ระหว่างปี ของหน่วยงาน
หรื อระหว่างหน่วยงานได้
การวิเคราะห์ และกาหนดกิจกรรมย่ อย
• นักวิเคราะห์จะกาหนดกิจกรรมละเอียดหรื อหยาบขึ ้นอยูก่ บั
วัตถุประสงค์ การระบุกิจกรรมที่ละเอียดเกินไปอย่างทาให้ ต้นทุนกับ
ประโยชน์ที่ได้ รับไม่ค้ มุ กัน
• ต้ นทุน-ประโยชน์ คุ้มหรื อไม่ขึ ้นอยูก่ บั ความตังใจในการใช้
้
ข้อมูลต้ นทุน
กิจกรรม
• การตัดสินใจพัฒนากิจกรรมขององค์กรอาจต้ องการข้ อมูลกิจกรรมที่
ละเอียด
• เป็ นการวิเคราะห์กระบวนการทางานอย่างละเอียดในแต่ละศูนย์ต้นทุน
• แต่ละศูนย์ต้นทุนทากิจกรรม 1 กิจกรรมหรื อมากกว่า เพื่อที่จะสร้ าง
ผลผลิต
การวิเคราะห์ และกาหนดกิจกรรมย่ อย
• โครงสร้ างของส่วนราชการว่าประกอบด้ วย สานักฯ กอง ศูนย์ อะไรและ
มีภารกิจอะไรจะได้ ข้อมูลเกี่ยวกับศูนย์ต้นทุน
• ในช่วงเริ่มแรก การกาหนดกิจกรรมในศูนย์ต้นทุนอาจจะกาหนดจาก
จานวนฝ่ ายหรื อกลุม่ ย่อยภายใต้ ศนู ย์ต้นทุนหรื อกิจกรรมการทางาน
หลักที่เกิดขึ ้นจริง
• กาหนดหน่วยนับของกิจกรรมย่อย ให้ พิจารณาดังนี ้
– กรณีที่กิจกรรมเป็ นกิจกรรมที่หน่วยงานภายนอกอื่นทาเหมือนกัน กาหนด
หน่วยนับตามหน่วยงานอื่น
– กรณีที่กิจกรรมเป็ นกิจกรรมที่ไม่มีหน่วยงานภายนอกอื่นทาเหมือนกัน กาหนด
หน่วยนับให้ เหมาะสมโดยคานึงถึงความสม่าเสมอในแต่ละปี โดยหน่วยนับ
แสดงถึงปริมาณงานของกิจกรรม
การวิเคราะห์ และกาหนดผลผลิตย่ อย
• ผลผลิ ต ย่ อย ต้ องเป็ นผลผลิตที่ ส่ง มอบให้ กับบุค คลภายนอกที่ มี
ความละเอี ย ดในส่ ว นของชื่ อ ผลิ ต ภัณ ฑ์ ห รื อ บริ ก ารที่ ส่ ว นราชการ
ดาเนินการผลิต รวมถึงต้ องมีการกาหนดหน่วยนับให้ เหมาะสม
การวิเคราะห์ และกาหนดผลผลิตย่ อย
สิ่ งส าคั ญ ในการก าหนดผลผลิ ต ย่ อย คื อ ต้ องมี ค วาม
สม่ าเสมอและสามารถเปรี ยบเที ย บได้ ในแต่ ละปี ตลอดจน
Benchmark ได้ ทัง้ ภายในหน่ วยงานและภายนอกหน่ วยงาน
วิธีการจัดทาต้ นทุนผลผลิตในปี งบประมาณ พ.ศ.2554
1. วิเคราะห์ และกาหนดผลผลิตย่ อยและกิจกรรมย่ อย พร้ อมทัง้ หน่ วยนับ
2. กาหนดศูนย์ ต้นทุนหลักและศูนย์ ต้นทุนสนับสนุน
3. ดึงข้ อมูลต้ นทุนจากระบบ GFMIS ตามศูนย์ ต้นทุนและแหล่ งของเงิน
4. คานวณหาต้ นทุนของศูนย์ ต้นทุนหลักและศูนย์ ต้นทุนสนับสนุน
5. คานวณหาต้ นทุนและต้ นทุนต่ อหน่ วยของกิจกรรมย่ อย
6. คานวณหาต้ นทุนและต้ นทุนต่ อหน่ วยของกิจกรรมหลัก
7. คานวณหาต้ นทุนและต้ นทุนต่ อหน่ วยของผลผลิตย่ อย
8. คานวณหาต้ นทุนและต้ นทุนต่ อหน่ วยของผลผลิตหลัก
รู ปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
สาหรับส่ วนราชการสั งกัดกระทรวง
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 1 รายงานต้ นทุนรวมของหน่วยงานโดยแยกประเภทตามแหล่งเงิน
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 1 รายงานต้ นทุนรวมของหน่วยงานโดยแยกประเภทตามแหล่งเงิน (ต่อ)
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 2 รายงานต้ นทุนตามศูนย์ต้นทุนแยกตามประเภทค่าใช้ จ่าย
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 3 รายงานต้ นทุนกิจกรรมย่อยแยกตามแหล่งของเงิน
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 4 รายงานต้ นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่งของเงิน
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 5 รายงานต้ นทุนผลผลิตย่อยแยกตามแหล่งของเงิน
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 6 รายงานต้ นทุนผลผลิตหลักแยกตามแหล่งของเงิน
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 7 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนกิจกรรมย่อยแยกตามแหล่งเงิน
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 7 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนกิจกรรมย่อยแยกตามแหล่งเงิน (ต่อ)
การวิเคราะห์สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของต้ นทุนต่อหน่วยกิจกรรมย่อย (อธิบายเฉพาะต้ นทุนต่อหน่วยกิจกรรมย่อยที่
เปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสาคัญ)
กิจกรรมย่อยที 1
เหตุผล.....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 2
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 3
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 4
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 5
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 6
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 7
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 8
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 9
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 10 เหตุผล .....................................................................................................................
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 8 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่งเงิน
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 8 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่งเงิน (ต่อ)
การวิเคราะห์สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของต้ นทุนต่อหน่วยกิจกรรมหลัก (อธิบายเฉพาะต้ นทุนต่อหน่วย
กิจกรรมหลักที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสาคัญ)
กิจกรรมย่อยที 1
เหตุผล.....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 2
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 3
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 4
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 5
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 6
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 7
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 8
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 9
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 10 เหตุผล .....................................................................................................................
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 9 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนผลผลิตย่อยแยกตามแหล่งเงิน
การวิเคราะห์สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของต้ นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย (อธิบายเฉพาะต้ นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อยที่เปลี่ยนแปลง
อย่างมีสาระสาคัญ)
กิจกรรมย่อยที 1
เหตุผล.....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 2
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 3
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 4
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 5
เหตุผล .....................................................................................................................
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 10 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนผลผลิตหลักแยกตามแหล่งเงิน
การวิเคราะห์สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของต้ นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลัก (อธิบายเฉพาะต้ นทุนต่อหน่วยผลผลิตหลักที่เปลี่ยนแปลง
อย่างมีสาระสาคัญ)
กิจกรรมย่อยที 1
เหตุผล.....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 2
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 3
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 4
เหตุผล .....................................................................................................................
กิจกรรมย่อยที่ 5
เหตุผล .....................................................................................................................
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 11 รายงานเปรียบเทียบต้ นทุนทางตรงตามศูนย์ ต้นทุนแยกตามประเภทค่ าใช้ จ่ายและลักษณะ
ของต้ นทุน (คงที่/ผันแปร)
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 11 รายงานเปรียบเทียบต้ นทุนทางตรงตามศูนย์ ต้นทุนแยกตามประเภทค่ าใช้ จ่ายและลักษณะ
ของต้ นทุน (คงที่/ผันแปร)
การวิเคราะห์สาเหตุของการเปลีย่ นแปลงของต้ นทุนทางตรงตามศูนย์ต้นทุนแยกตามประเภทค่าใช้ จ่ายและลักษณะของ
ต้ นทุน (คงที่/ผันแปร) (อธิบายเฉพาะศูนย์ต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสาคัญ)
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 1 เหตุผล .........................................................
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 2 เหตุผล .........................................................
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 3 เหตุผล .........................................................
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 4 เหตุผล .........................................................
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 5 เหตุผล .........................................................
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 6 เหตุผล .........................................................
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 7 เหตุผล .........................................................
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 8 เหตุผล .........................................................
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 9 เหตุผล .........................................................
ศูนย์ต้นทุนหลักที่ 10 เหตุผล .........................................................
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 12 รายงานเปรี ยบเทียบต้ นทุนทางอ้ อมตามลักษณะของต้ นทุน (คงที่/ผันแปร)
รูปแบบรายงานการคานวณต้ นทุนผลผลิต
ตารางที่ 12 รายงานเปรี ยบเทียบต้ นทุนทางอ้ อมตามลักษณะของต้ นทุน (คงที่/ผันแปร)
การวิเคราะห์สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของต้ นทุนทางอ้ อมตามลักษณะของต้ นทุน (คงที่/ผัน
แปร)(อธิบายเฉพาะค่าใช้ จ่ายทางอ้ อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสาคัญ)
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 1 เหตุผล.......................................................................................................
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 2 เหตุผล.......................................................................................................
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 3 เหตุผล.......................................................................................................
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 4 เหตุผล.......................................................................................................
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 5 เหตุผล.......................................................................................................
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 6 เหตุผล.......................................................................................................
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 7 เหตุผล.......................................................................................................
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 8 เหตุผล.......................................................................................................
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 9 เหตุผล.......................................................................................................
ค่าใช้ จ่ายประเภทที่ 10เหตุผล.......................................................................................................
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 1 รายงานต้ นทุนรวมของหน่ วยงาน โดยแยกประเภทตามแหล่ งของเงินประจาปี งบประมาณ 2553
(ต.ค. 52 - ก.ย. 53)
ประเภทค่ าใช้ จ่าย
เงินในงบประมาณ
เงินนอกงบประมาณ
1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร
15,690,034.94
3,922,508.74
2. ค่าใช้จ่ายด้านการฝึ กอบรม
16,450,999.73
3. ค่าใช้จ่ายเดินทาง
7,227,764.03
4. ค่าตอบแทน ใช้สอยวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค
23,447,034.12
5. ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย
10,485,399.20
6. ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน
7. ต้นทุนในการผลิตผลผลิตอื่น
รวมต้ นทุนผลผลิต
งบกลาง
รวม
8,661,513.29
28,274,056.97
-
18,278,888.59
-
8,030,848.93
-
24,027,295.59
1,165,044.36
-
11,650,443.55
-
-
-
-
3,386,168.85
1,670,734.71
-
5,056,903.56
76,687,400.87
9,969,523.02
8,661,513.29
1,827,888.86
803,084.89
580,261.47
95,318,437.18
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 2 รายงานต้ นทุนตามศูนย์ ต้นทุนแยกตามประเภทค่ าใช้ จ่าย ประจาปี งบประมาณ 2553 (ต.ค. 52 ก.ย. 53)
ค่ าใช้ จ่ายทางตรง
ศูนย์ ต้นทุน
ศูนย์ตน้ ทุนหลัก
1. สานักบริ หารการรับ จ่ายเงินภาครัฐ
2. สานักมาตรฐานด้าน
กฎหมายและระเบียบ
การคลัง
3. สานักมาตรฐานด้าน
การบัญชีภาครัฐ
ศูนย์ตน้ ทุนสนับสนุน
1. กองพัฒนาทรัพยากร
บุคคล
2. กลุ่มงานตรวจสอบ
ภายใน
3. สานักงานเลขานุการ
กรม
4. กองการเจ้าหน้าที่
5. ศูนย์เทคโนโลยี
สารสนเทศ
รวมต้ นทุนผลผลิต
ค่ าใช้ จ่ายทางอ้ อม
ค่ าใช้ จ่าย
ค่ าวัสดุ ค่ าจ้ าง ค่ าใช้ จ่ายด้ าน ค่ าเสื่ อมราคา
บุคลากรทีป่ รึกษา การฝึ กอบรม อุปกรณ์
เงินเดือน
ค่ าใช้ จ่าย
เดินทาง
2,860,790.93 2,574,711.84 1,716,474.56 1,430,395.47
858,237.28
286,079.09 9,726,689.17 1,430,395.47 1,144,316.37 1,219,916.68
353,518.33
429,118.64
4,577,265.49 14,303,954.66
2,493,982.69 2,244,584.42 1,496,389.61 1,246,991.34
748,194.81
249,398.27 8,479,541.13 1,246,991.34
997,593.07
929,034.51
442,655.97
374,097.40
3,990,372.30 12,469,913.43
650,159.76
390,095.86
130,031.95 4,226,038.45
650,159.76
570,935.56
144,240.18
260,063.90
2,275,559.16
3,026,628.73 2,723,965.86 1,815,977.24 1,513,314.36
907,988.62
302,662.87 10,290,537.68 1,513,314.36 1,210,651.49 1,269,668.02
394,977.78
453,994.31
4,842,605.96 15,133,143.64
169,249.05
141,040.88
112,832.70
6,700,176.94 4,952,304.69 3,495,744.49 2,913,120.41 2,330,496.33
873,936.12 21,265,778.97 2,621,808.37 2,039,184.28 2,179,919.01
441,889.35
582,624.08
7,865,425.10 29,131,204.07
1,977,575.45 1,483,181.59 1,087,666.50
692,151.41 2,373,090.54
494,393.86 8,108,059.34
494,393.86
395,515.09
296,636.32
395,515.09
197,757.54
1,779,817.90
9,887,877.24
1,013,985.80
354,895.03
101,398.58 3,194,055.26
506,992.90
659,090.77
304,195.74
253,496.45
152,097.87
1,875,873.72
5,069,928.98
975,239.64 1,300,319.52
564,163.51
507,747.16
861,887.93
780,191.71
338,498.11
608,391.48
282,081.76
169,249.05
253,496.45
ค่ าใช้ จ่ายอืน่
รวม
56,416.35 1,918,155.93
ค่ าใช้ จ่าย
ค่ าใช้ จ่ายด้ าน ค่ าเสื่ อมราคา
บุคลากร-ค่ า ค่ านา้ ค่ าไฟ
ค่ าใช้ จ่ายอืน่
การฝึ กอบรม อาคาร
รักษาพยาบาล
650,159.76
197,457.23
282,081.76
รวม
902,661.62
รวม
6,501,597.61
2,820,817.55
19,612,543.68 16,648,703.00 11,339,333.69 9,083,109.53 8,030,848.93 2,494,317.10 67,208,855.92 8,661,513.29 7,378,592.60 6,939,554.90 2,567,334.02 2,562,586.45 28,109,581.26 95,318,437.18
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 3 รายงานต้ นทุนกิจกรรมย่ อยแยกตามแหล่ งเงิน ประจาปี งบประมาณ 2553 (ต.ค. 52 - ก.ย. 53)
กิจกรรมย่อย
กิจกรรมย่อยของหน่วยงานหลัก
เงินในงบประมาณ
เงินนอก
งบประมาณ
งบกลาง
ค่าเสื่อมราคา
ต้ นทุนรวม
ปริมาณ
หน่ วยนับ
ต้ นทุนต่ อหน่ วย
1. บริ หารการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ
8,539,660.09
948,851.12
3,031,529.65
1,783,913.79
14,303,954.66
133,500 รายการ
2. กาหนดและพัฒนากฏหมายด้านการเบิกจ่ายเงินจากคลัง
5,321,042.58
939,007.51
1,299,226.99
1,013,788.39
8,573,065.48
643 เรื่ อง
13,332.92
3. พัฒนากฏหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้องการคลัง
1,633,497.73
288,264.30
1,299,226.99
675,858.92
3,896,847.95
156 เรื่ อง
24,979.79
4. กาหนดมาตรฐานและนโยบายการบัญชี ภาครัฐ
กิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน
3,776,150.26
198,744.75
1,732,302.66
794,399.94
6,501,597.61
3 เรื่ อง
2,167,199.20
1. ด้านการเงินและบัญชี
10,349,181.34
2,587,295.34
259,845.40
1,677,504.88
14,873,826.96
2. ด้านการพัสดุ
11,786,309.87
620,332.10
173,230.27
1,677,504.88
14,257,377.11
7,842,236.05
871,359.56
86,615.13
1,087,666.50
9,887,877.24
11,590,551.87
1,287,839.10
346,460.53
1,908,292.14
15,133,143.64
65,187 จานวนชัว่ โมง/คนการฝึ กอบรม
5. ด้านตรวจสอบภายใน
2,002,018.19
222,446.47
173,230.27
423,122.63
2,820,817.55
1,142 จานวนงานตรวจสอบ/คนวัน
6. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
3,361,353.68
840,338.42
259,845.40
608,391.48
5,069,928.98
66,202,001.67
8,804,478.67
8,661,513.29
11,650,443.55
95,318,437.18
3. ด้านบริ หารบุคลากร
4. ด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รวมต้ นทุนผลผลิต
17,450 จานวนเอกสารรายการ
647 จานวนครั้งการจัดซื้อจัดจ้าง
2,581 จานวนบุคลากร
4 ระบบ
107.15
852.37
22,036.13
3,831.03
232.15
2,470.07
1,267,482.25
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 4 รายงานต้ นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่ งเงิน ประจาปี งบประมาณ 2553 (ต.ค. 52 - ก.ย. 53)
กิจกรรมหลัก
เงินในงบประมาณ
1. บริ หารและควบคุมการรับจ่ายเงินภาครัฐ
25,366,233.59
2. กากับดูแลทางด้านการคลัง
การบัญชี การพัสดุ และ
ตรวจสอบภายใน
40,835,768.08
รวมต้ นทุนผลผลิต
66,202,001.67
เงินนอก
งบประมาณ
งบกลาง
3,114,039.54
3,455,943.80
5,690,439.13
5,205,569.49
8,804,478.67
8,661,513.29
ค่ าเสื่ อมราคา
4,383,942.33
7,266,501.22
ต้ นทุนรวม ปริมาณ หน่ วยนับ
36,320,159.26
58,998,277.92
11,650,443.55 95,318,437.18
75 หน่วยงาน
74 รายการ
ต้ นทุนต่ อ
หน่ วย
484,268.79
797,274.03
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 5 รายงานต้ นทุนผลผลิตย่ อยแยกตามแหล่ งเงิน ประจาปี งบประมาณ 2553 (ต.ค. 52 - ก.ย. 53)
ผลผลิตย่อย
1. การบริ หารการรับ - จ่ายเงิน
ภาครัฐ
เงินใน
งบประมาณ
25,366,233.59 3,114,039.54
2. การกากับดูแลทางด้านกฏหมาย 21,168,473.10
3. การกากับดูแลด้านบัญชี
รวมต้ นทุนผลผลิต
เงินนอก
งบประมาณ
งบกลาง
ค่ าเสื่ อมราคา
ต้ นทุนรวม
3,455,943.80 4,383,942.33 36,320,159.26
3,252,240.97 3,035,860.41 3,964,699.51 31,421,273.99
19,667,294.98 2,438,198.16
2,169,709.08 3,301,801.71 27,577,003.93
66,202,001.67 8,804,478.67
8,661,513.29 11,650,443.55 95,318,437.18
ปริมาณ หน่ วยนับ ต้ นทุนต่ อหน่ วย
75 หน่วยงาน 484,268.79
799 เรื่ อง
3
เรื่ อง
39,325.75
9,192,334.64
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 6 รายงานต้ นทุนผลผลิตหลักแยกตามแหล่ งเงิน ประจาปี งบประมาณ 2551 (ต.ค. 50 - ก.ย. 51)
ผลผลิตหลัก
เงินในงบประมาณ
เงินนอก
งบประมาณ
งบกลาง
ค่ าเสื่ อมราคา
ต้ นทุนรวม ปริมาณ หน่ วยนับ ต้ นทุนต่ อหน่ วย
1. การบริ หารการเงินการคลัง
ภาครัฐ
25,366,233.59
3,114,039.54
2. การกากับดูแลการคลัง การ
บัญชี การพัสดุ และการตรวจสอบ
ภายใน
40,835,768.08
5,690,439.13
รวมต้ นทุนผลผลิต
66,202,001.67
8,804,478.67 8,661,513.29 11,650,443.55 95,318,437.18
3,455,943.80 4,383,942.33
36,320,159.26
5,205,569.49 7,266,501.22
58,998,277.92
75
หน่วยงาน
484,268.79
74
รายการ
797,274.03
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 7 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนกิจกรรมย่ อยแยกตามแหล่ งเงิน
ต้ นทุนผลผลิตประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 (ต.ค. 50 - ก.ย. 51)
กิจกรรมย่ อย
กิจกรรมย่อยหน่ วยงานหลัก
1. บริ หารการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ
2. กาหนดและพัฒนากฏหมายด้านการเบิกจ่ายเงินจากคลัง
3. พัฒนากฏหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้องการคลัง
4. กาหนดมาตรฐานและนโยบายการบัญชี ภาครัฐ
กิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน
1. ด้านการเงินและบัญชี
2. ด้านการพัสดุ
3. ด้านบริ หารบุคลากร
4. ด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล
5. ด้านตรวจสอบภายใน
6. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
รวม
เงินใน งป เงินนอก
ม.
งปม.
งบกลาง
ค่ าเสื่ อม
ราคา
ต้ นทุนรวม ปริมาณ
8,539,660.09
5,321,042.58
1,633,497.73
3,776,150.26
948,851.12
939,007.51
288,264.30
198,744.75
3,031,529.65
1,299,226.99
1,299,226.99
1,732,302.66
1,783,913.79
1,013,788.39
675,858.92
794,399.94
14,303,954.66
8,573,065.48
3,896,847.95
6,501,597.61
133,500
643
156
3
10,349,181.34
11,786,309.87
7,842,236.05
11,590,551.87
2,002,018.19
3,361,353.68
66,202,001.67
2,587,295.34
620,332.10
871,359.56
1,287,839.10
222,446.47
840,338.42
8,804,478.67
259,845.40
173,230.27
86,615.13
346,460.53
173,230.27
259,845.40
8,661,513.29
1,677,504.88
1,677,504.88
1,087,666.50
1,908,292.14
423,122.63
608,391.48
11,650,443.55
14,873,826.96
14,257,377.11
9,887,877.24
15,133,143.64
2,820,817.55
5,069,928.98
95,318,437.18
17,450
647
2,581
65,187
1,142
4
หน่ วยนับ
รายการ
เรื่ อง
เรื่ อง
เรื่ อง
ต้ นทุนต่ อ
หน่ วย
107.15
13,332.92
24,979.79
2,167,199.20
จานวนเอกสารรายการ
852.37
จานวนครั้งการจัดซื้ อจัดจ้าง
22,036.13
จานวนบุคลากร
3,831.03
จานวนชัว่ โมง/คนการฝึ กอบรม
232.15
จานวนงานตรวจสอบ/คนวัน
2,470.07
ระบบ
1,267,482.25
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 7 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนกิจกรรมย่ อยแยกตามแหล่ งเงิน (ต่ อ)
กิจกรรมย่ อย
เงินใน งปม. เงินนอก งปม.
งบกลาง
ค่ าเสื่อม
ราคา
ต้ นทุนรวม ปริมาณ
หน่ วยนับ
ต้ นทุน
ต้ นทุน
หน่ วยนับ
ต้ นทุนต่ อ รวม
ต่ อหน่ วย
เพิม่ /(ลด)
หน่ วย เพิม่ /(ลด)
เพิม่ /(ลด)
%
%
%
กิจกรรมย่อยหน่ วยงานหลัก
1. บริ หารการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ
2. กาหนดและพัฒนากฏหมายด้านการเบิก
จ่ายเงินจากคลัง
10,551,302.99 1,172,367.00
3,632,333.91
1,808,741.69 17,164,745.59
166,875 รายการ
7,270,662.49 1,283,058.09
1,556,714.53
1,034,550.01 11,144,985.12
739 เรื่ อง
15,081.17
30% 15%
13%
3. พัฒนากฏหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้องการคลัง
4. กาหนดมาตรฐานและนโยบายการบัญชี
ภาครัฐ
กิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน
2,065,332.55 364,470.45
1,556,714.53
689,700.01
4,676,217.54
186 เรื่ อง
25,140.95
20% 19%
0.80%
2,822,407.94 148,547.79
2,075,619.38
804,862.75
5,851,437.85
2 เรื่ อง
2,925,718.92
-10% -30%
28.50%
1. ด้านการเงินและบัญชี
7,896,028.28 1,974,007.07
311,342.91
1,717,683.32 11,899,061.57
-20% -10%
-11%
2. ด้านการพัสดุ
12,392,750.68 652,250.04
207,561.94
1,717,683.32 14,970,245.97
757.66
15,705 จานวนเอกสารรายการ
จานวนครั้งการจัดซื้ อจัด
21,025.63
712 จ้าง
5% 10%
-4%
3. ด้านบริ หารบุคลากร
8,692,668.20 965,852.02
103,780.97
1,114,363.76 10,876,664.96
10%
4. ด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล
9,740,403.05 1,082,267.01
415,123.88
1,625,378.16 12,863,172.09
5. ด้านตรวจสอบภายใน
1,832,758.58 203,639.84
207,561.94
435,816.31
2,679,776.67
1,210 จานวนบุคลากร
จานวนชัว่ โมง/คนการ
58,668 ฝึ กอบรม
จานวนงานตรวจสอบ/คน
1,028 วัน
6. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
4,413,232.36 1,103,308.09
311,342.91
763,024.31
6,590,907.67
รวม
67,677,547.12
8,949,767.39
10,378,096.88 11,711,803.64 98,717,215.04
6 ระบบ
102.86
8,988.98
20%
25%
-4%
5%
5%
219.25
-15% -10%
-5%
2,606.79
-5% -10%
5%
30% 40%
-7%
1,098,484.61
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 8 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่ งเงิน
ต้ นทุนผลผลิตประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต.ค. 51 - ก.ย. 52)
กิจกรรมหลัก
เงินใน งป เงินนอก
ค่าเสื่อม
งบกลาง
ต้ นทุนรวม ปริมาณ
ม.
งปม.
ราคา
1. บริ หารและควบคุมการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ
25,366,233.59
2. กากับดูแลทางด้านการคลัง การบัญชี การพัสดุ
และตรวจสอบภายใน
40,835,768.08
รวม
66,202,001.67
หน่ วยนับ
ต้ นทุนต่ อ
หน่ วย
3,114,039.54 3,455,943.80 4,383,942.33 36,320,159.26
75 หน่วยงาน
484,268.79
5,690,439.13 5,205,569.49 7,266,501.22 58,998,277.92
74 รายการ
797,274.03
8,804,478.67 8,661,513.29 11,650,443.55
95,318,437.18
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 8 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนกิจกรรมหลักแยกตามแหล่ งเงิน (ต่ อ)
ต้ นทุนผลผลิตประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 (ต.ค. 52 - ก.ย. 53)
กิจกรรมหลัก
เงินใน งปม. เงินนอก งปม.
1. บริ หารและควบคุมการรับจ่ายเงินภาครัฐ
27,019,464.05 3,225,159.63
2. กากับดูแลทางด้านการคลัง
การบัญชี การพัสดุ และ
ตรวจสอบภายใน
40,658,083.07 5,724,607.76
รวม
67,677,547.12
8,949,767.39
งบกลาง
ค่ าเสื่ อมราคา ต้ นทุนรวม ปริมาณ หน่ วยนับ
4,140,860.66 4,415,567.53 38,801,051.86
6,237,236.22 7,296,236.11 59,916,163.17
10,378,096.88
11,711,803.64
98,717,215.03
ผลการเปรียบเทียบ
ต้ นทุน
หน่ วย
ต้ นทุน
ต่ อ
นับ
ต้ นทุนต่ อ รวม
หน่ วย
เพิม่ /
หน่ วย เพิม่ /(ลด
เพิม่ /
(ลด)
)%
(ลด)
%
%
75 หน่วยงาน 517,347.36
106
รายการ
565,246.82
7%
2%
0%
7%
43% -29%
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 9 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนผลผลิตย่ อยแยกตามแหล่ งเงิน
ต้ นทุนผลผลิตประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต.ค. 51 - ก.ย. 52)
ผลผลิตย่ อย
เงินใน งป เงินนอก
ค่าเสื่อม
งบกลาง
ต้ นทุนรวม ปริมาณ
ม.
งปม.
ราคา
หน่ วยนับ
1. การบริ หารการรับ - จ่ายเงินภาครัฐ
25,366,233.59
3,114,039.54 3,455,943.80 4,383,942.33 36,320,159.26
2. การกากับดูแลทางด้านกฏหมาย
21,168,473.10
3,252,240.97 3,035,860.41 3,964,699.51 31,421,273.99
799 เรื่ อง
39,325.75
3. การกากับดูแลด้านบัญชี
19,667,294.98
2,438,198.16 2,169,709.08 3,301,801.71 27,577,003.93
3 เรื่ อง
9,192,334.64
รวม
66,202,001.67
8,804,478.67 8,661,513.29
11,650,443.55 95,318,437.18
75 หน่วยงาน
ต้ นทุนต่ อ
หน่ วย
484,268.79
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 9 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนผลผลิตย่ อยแยกตามแหล่ งเงิน (ต่ อ)
ต้ นทุนผลผลิตประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 (ต.ค. 52 - ก.ย. 53)
ผลผลิตย่อย
ค่ าเสื่ อม
ราคา
เงินใน งปม. เงินนอก งปม.
งบกลาง
27,019,464.05
3,225,159.63
4,140,860.66 4,415,567.53
38,801,051.86
22,883,695.68
3,545,828.80
3,637,522.96 3,995,985.39
34,063,032.83
829 เรื่ อง
3. การกากับดูแลด้านบัญชี 17,774,387.39
2,178,778.96
2,599,713.27 3,300,250.72
25,853,130.34
2 เรื่ อง
1. การบริ หารการรับ จ่ายเงินภาครัฐ
2. การกากับดูแลทางด้าน
กฏหมาย
รวม
67,677,547.12
8,949,767.39
10,378,096.88 11,711,803.64
ต้ นทุนรวม ปริมาณ หน่ วยนับ
98,717,215.03
75 หน่วยงาน
ต้ นทุน
ต้ นทุน หน่ วย
ต่ อ
ต้ นทุนต่ อ รวม นับ
หน่ วย
หน่ วย เพิม่ /(ลด) เพิม่ /
เพิม่ /
% (ลด) %
(ลด) %
517,347.36
7%
0%
7%
41,089.30
8%
4%
4%
12,926,565.17
-6%
-33%
41%
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 10 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนผลผลิตหลักแยกตามแหล่ งเงิน
ต้ นทุนผลผลิตประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต.ค. 52 - ก.ย. 53)
ผลผลิตหลัก
1. การบริ หารการเงินการคลังภาครัฐ
2. การกากับดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ
และการตรวจสอบภายใน
รวม
เงินใน งปม.
เงินนอก
งปม.
งบกลาง
ค่าเสื่อม
ต้ นทุนรวม ปริมาณ หน่ วยนับ
ราคา
ต้ นทุนต่ อ
หน่ วย
25,366,233.59
3,114,039.54
3,455,943.80
4,383,942.33
36,320,159.26
75
หน่วยงาน
484,268.79
40,835,768.08
66,202,001.67
5,690,439.13
8,804,478.67
5,205,569.49
8,661,513.29
7,266,501.22
11,650,443.55
58,998,277.92
95,318,437.18
74
รายการ
797,274.03
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 10 เปรี ยบเทียบผลการคานวณต้ นทุนผลผลิตหลักแยกตามแหล่ งเงิน (ต่ อ)
ต้ นทุนผลผลิตประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 (ต.ค. 52 - ก.ย. 53)
ผลผลิตย่ อย
1. การบริ หารการรับ จ่ายเงินภาครัฐ
2. การกากับดูแลทางด้าน
กฏหมาย
3. การกากับดูแลด้านบัญชี
รวม
เงินใน
งปม.
เงินนอก
ปม.
ต้ นทุน
รวม
ต้ นทุนต่ อ
งบกลาง ค่ าเสื่ อมราคา ต้ นทุนรวม
หน่ วยนับ
เพิม่ /
ปริมาณ
หน่ วย
(ลด)
%
27,019,464.05 3,225,159.63
4,140,860.66 4,415,567.53 38,801,051.86
75
22,883,695.68 3,545,828.80
3,637,522.96 3,995,985.39 34,063,032.83
829 เรื่ อง
17,774,387.39 2,178,778.96
2,599,713.27 3,300,250.72 25,853,130.34
2
67,677,547.12
8,949,767.39
10,378,096.88
11,711,803.64
98,717,215.03
หน่วยงาน 517,347.36
เรื่ อง
ต้ นทุน
หน่ วย
ต่ อ
นับ
หน่ วย
เพิม่ /(ล
เพิม่ /
ด) %
(ลด) %
7%
0%
7%
41,089.30
8%
4%
4%
12,926,565.17
-6%
-33%
41%
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 11 รายงานเปรี ยบเทียบต้ นทุนทางตรงตามศูนย์ ต้นทุนแยกตามประเภทค่ าใช้ จ่ายและลักษณะของต้ นทุน (คงที่/
ผันแปร)
ต้ นทุนทางตรง ปี งบประมาณ พ.ศ. 2552
ต้ นทุนคงที่
ศูนย์ ต้นทุน
ศูนย์ตน้ ทุนหลัก
1. สานักบริ หารการรับ - จ่ายเงินภาครัฐ
ค่ าใช้ จ่าย
บุคลากรเงินเดือน
ต้ นทุนผันแปร
ค่ าเสื่ อมราคา- ต้ นทุนในการ
อุปกรณ์
ผลิตผลผลิตอืน่
รวม
ค่ าตอบแทนและ
ค่ าใช้ จ่ายด้าน
ค่ าใช้ สอย-ค่ าวัสดุ
ค่ าใช้ จ่ายเดินทาง
การฝึ กอบรม
, ค่ าจ้ างที่ปรึ กษา
รวม
ต้ นทุนรวม
2,860,790.93
1,430,395.47
286,079.09
4,577,265.49
2,574,711.84
1,716,474.56
858,237.28
5,149,423.68
9,726,689.17
2,493,982.69
1,246,991.34
249,398.27
3,990,372.30
2,244,584.42
1,496,389.61
748,194.81
4,489,168.83
8,479,541.13
975,239.64
650,159.76
130,031.95
1,755,431.35
1,300,319.52
780,191.71
390,095.86
2,470,607.09
4,226,038.45
ศูนย์ตน้ ทุนสนับสนุน
1. กองพัฒนาทรัพยากรบุคคล
3,026,628.73
1,513,314.36
302,662.87
4,842,605.96
2,723,965.86
1,815,977.24
907,988.62
5,447,931.71
10,290,537.68
2. กลุ่มงานตรวจสอบภายใน
564,163.51
282,081.76
56,416.35
902,661.62
507,747.16
338,498.11
169,249.05
1,015,494.32
1,918,155.93
3. สานักงานเลขานุการกรม
6,700,176.94
2,913,120.41
873,936.12 10,487,233.47
4,952,304.69
3,495,744.49 2,330,496.33
10,778,545.51
21,265,778.97
4. กองการเจ้าหน้าที่
1,977,575.45
692,151.41
494,393.86
3,164,120.72
1,483,181.59
1,087,666.50 2,373,090.54
4,943,938.62
8,108,059.34
5. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
1,013,985.80
354,895.03
101,398.58
1,470,279.40
861,887.93
253,496.45
1,723,775.85
3,194,055.26
19,612,543.68
9,083,109.53
2,494,317.10 31,189,970.31 16,648,703.00 11,339,333.69 8,030,848.93
36,018,885.61
67,208,855.92
2. สานักมาตรฐานด้านกฎหมายและ
ระเบียบการคลัง
3. สานักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
รวมต้ นทุนผลผลิต
608,391.48
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 11 รายงานเปรี ยบเทียบต้ นทุนทางตรงตามศูนย์ ต้นทุนแยกตามประเภทค่ าใช้ จ่ายและลักษณะของต้ นทุน (คงที่/
ผันแปร) (ต่ อ)
ต้ นทุนทางตรง ปี งบประมาณ พ.ศ. 2553
ต้ นทุนคงที่
ศูนย์ต้นทุน
ศูนย์ตน้ ทุนหลัก
1. สานักบริ หารการรับ - จ่ายเงิน
ภาครัฐ
2. สานักมาตรฐานด้านกฎหมาย
และระเบียบการคลัง
3. สานักมาตรฐานด้านการบัญชี
ภาครัฐ
ศูนย์ตน้ ทุนสนับสนุน
1. กองพัฒนาทรัพยากรบุคคล
2. กลุ่มงานตรวจสอบภายใน
3. สานักงานเลขานุการกรม
4. กองการเจ้าหน้าที่
5. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
รวมต้ นทุนผลผลิต
ค่าใช้ จ่ายบุคลากรเงินเดือน
ต้ นทุนผันแปร
ค่าเสื่อมราคา- ต้ นทุนในการ
อุปกรณ์
ผลิตผลผลิตอืน่
รวม
ค่าตอบแทนและ
ค่าใช้ จ่ายด้านการ
ค่าใช้ สอย-ค่าวัสดุ
ค่าใช้ จ่ายเดินทาง
ฝึ กอบรม
, ค่าจ้ างที่ปรึกษา
รวม
ต้ นทุนรวม
ต้ นทุน
คงที่
เพิม่ /
(ลด)%
ต้ นทุน ต้ นทุน
ผันแปร รวม
เพิม่ / เพิม่ /
(ลด)% (ลด) %
2,918,006.75
1,437,547.44
287,509.49 4,643,063.68
3,604,596.57 1,733,639.30
866,819.65
6,205,055.53
10,848,119.21
1%
21% 12%
2,543,862.34
1,259,461.26
250,645.26 4,053,968.86
3,254,647.41 1,511,353.51
755,676.75
5,521,677.67
9,575,646.52
2%
23% 13%
994,744.43
653,410.56
97,523.96 1,745,678.96
910,223.67 787,993.63
393,996.82
2,092,214.11
3,837,893.07
-1% -15% -9%
2,118,640.11
1,210,651.49
305,689.50 3,634,981.10
2,751,205.51 1,834,137.01
917,068.50
5,502,411.03
9,137,392.13
-25%
592,371.69
287,723.39
56,980.51 937,075.59
533,134.52 345,268.07
186,173.96
1,064,576.54
2,001,652.13
4%
3,685,097.31
2,971,382.82
882,675.48 7,539,155.61
5,001,827.74 3,530,701.93
2,353,801.29
10,886,330.96 18,425,486.57
2,076,454.22
699,072.92
496,865.83 3,272,392.97
1,409,022.51 706,983.22
2,088,319.67
4,204,325.40
7,476,718.38
1,267,482.25
496,853.04
121,678.30 1,886,013.58
1,163,548.70 821,328.49
266,171.27
2,251,048.47
4,137,062.05
16,196,659.10
9,016,102.92
2,499,568.34 27,712,330.36
18,628,206.62 11,271,405.17 7,828,027.92
37,727,639.71 65,439,970.07
-28%
1% -11%
5%
4%
1% -13%
3% -15% -8%
28%
31% 30%
-15%
51% 17%
ตัวอย่ างสมมติต้นทุนกรมบัญชีกลาง
ตารางที่ 12 รายงานเปรี ยบเทียบต้ นทุนทางอ้ อมตามลักษณะของต้ นทุน (คงที่/ผันแปร)
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2552
ต้ นทุนทางอ้ อม
ต้ นทุนคงที่ ต้ นทุนผันแปร
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2553
รวม
ต้ นทุนคงที่ ต้ นทุนผันแปร
รวม
ผลการเปรียบเทียบ
ต้ นทุน ต้ นทุนผัน ต้ นทุน
คงที่
แปร
รวม
เพิม่ /(ลด) เพิม่ /(ลด) เพิม่ /(ลด)
%
%
%
ค่าใช้จ่ายบุคลากร-ค่ารักษาพยาบาล 8,661,513.29
-
8,661,513.29 10,378,096.88
-
10,378,096.88
20%
-
20%
ค่าน้ า ค่าไฟ
-
7,378,592.60 7,279,193.50
-
7,279,193.50
-1%
-
-1%
ค่าใช้จ่ายด้านการฝึ กอบรม-สัมมนา 1,387,910.98 5,551,643.92 6,939,554.90 1,496,357.06 7,855,874.57 9,352,231.63
8%
42%
ค่าเสื่ อมราคาอาคาร
2,567,334.02
-
2,567,334.02 2,695,700.72
-
2,695,700.72
5%
-
5%
ค่าซ่อมแซมบารุ งรักษาอาคาร
2,562,586.45
-
2,562,586.45 3,572,022.22
-
3,572,022.22
39%
-
39%
7,378,592.60
รวม
35%
22,557,937.34 5,551,643.92 28,109,581.26 25,421,370.39 7,855,874.57 33,277,244.96 70.68% 41.51% 97.63%
การตรวจสอบความถูกต้องของต้นทุนต่อหน่วย
ตรวจสอบความถูกต้ อง
และบังคับให้ ทาแผนลดต้ นทุน
ค่าเฉลี่ย
ค่ากลาง
ตรวจสอบความถูกต้ อง
การวางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ
Input
Economy
Process
Value-added
Output
Quantity
Quality
Time
การประหยัดทรัพยากร
•
•
•
•
•
องค์กรกาหนดนโยบายการใช้ ทรัพยากรอย่างประหยัด
จัดโครงการรณรงค์การใช้ ทรัพยากร
ประเมินความคุ้มค่าการใช้ ทรัพยากร
พิจารณาว่าทรัพยากรใดที่ไม่ถกู ใช้ งาน หรื อ ใช้ งานยังไม่เต็มกาลัง
การจัดซื ้อจัดจ้ างด้ วยราคาที่เหมาะสม
ประสิ ทธิภาพด้านกระบวนการ
• พิจารณากิจกรรมทังองค์
้ กร เพื่อดูความซ ้าซ้ อนของกิจกรรม
• เปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของกิจกรรมที่เหมือนกันระหว่างหน่วยงาน
ย่อยภายในองค์กร
• ลดกระบวนการกิจกรรมที่ไม่จาเป็ นออกไป
ประสิ ทธิภาพของการสร้างผลผลิต
• ปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตให้ ประชาชนพึงพอใจ
• พิจารณาเพิ่มปริมาณผลผลิตให้ ใช้ ทรัพยากรคงที่อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ
• ลดระยะเวลาการรอคอยการรับบริการของประชาชน
ตัวอย่ างแผนเพิ่มประสิทธิภาพ
ต้ นทุนต่ อหน่ วยผลผลิตประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2553
ผลผลิต
ต้ นทุนรวม(บาท) ปริมาณงาน
ต้ นทุนต่ อหน่ วย
การให้บริ การฉายรังสี
25,000,000
4,000,000 ครั้ง
6.25 บาทต่อครั้ง
การให้ตรวจสารเคมี
48,000,000
200,000 ครั้ง
240 บาทต่อครั้ง
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรม
สถานะปัจจุบัน
เป้าหมาย
1. นโยบายใช้กระดาษ Recycle ลด
การใช้กระดาษ
มีการใช้กระดาษ 300,000 แผ่นต่อปี
ต้นทุน 150,000 บาท
มีการใช้กระดาษ 200,000 แผ่นต่อปี
ต้นทุน 90,000 บาท
2. นโยบายลดการใช้หมึกพิมพ์โดยใช้ มีการใช้ผงหมึก 2,000 ตลับ ต่อปี
โหมดประหยัดหมึกสาหรับหนังสื อ ต้นทุน 400,000 บาท
ร่ าง
3. จัดให้มีการประชุม VDO
conference มากขึ้นเพื่อ
ลดการเดินทางการจัดประชุม
มีการใช้ผงหมึก 1,500 ตลับ ต่อปี
ต้นทุน 300,000 บาท
มีค่าใช้จ่ายในการเดินทางประชุมครั้ง มีการติดตั้งระบบ VDO conference
ละ 50,000 บาท มีการประชุม 100 ครั้ง โดยมีค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง 1,000,000
ต่อปี มีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 5,000,000 บาท บาท และมีค่าใช้จ่ายในการบารุ งรักษา
ปี ละ 200,000 บาท และมีค่าใช้จ่ายใน
การเดินทางประชุมก่อนติดตั้งระบบ
1,500,000 บาท
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรม
สถานะปัจจุบัน
เป้าหมาย
4. มีการจ้างเอกชนในงานการดูแล
บารุ งรักษาระบบเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ และโยกย้ายบุคลากร
เดิมและทรัพยากรที่ทางานอยูไ่ ป
ปฏิบตั ิงานด้านการออกแบบ
ระบบงานสถิติ (งานใหม่)
มีค่าใช้จ่ายในการดูแลบารุ งรักษา
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดย
บุคลากรภายใน มีตน้ ทุน 5,000,000
บาทต่อปี
มีค่าใช้จ่ายในการดูแลบารุ งรักษา
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดย
บุคลากรภายนอก มีตน้ ทุน 2,000,000
บาทต่อปี และมีค่าใช้จ่ายในการ
ออกแบบระบบงานสถิติ มีตน้ ทุน
5,000,000 บาทต่อปี
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรม
สถานะปัจจุบัน
5. ขายเครื่ องจักรเก่าและซื้อเครื่ องจักร เครื่ องจักรในการบริ การฉายรังสี 2
ใหม่แทนเครี่ องจักรเก่าเพื่อเพิ่มกาลัง เครื่ อง มีค่าเสื่ อมราคา 40,000 บาทต่อ
การให้บริ การการฉายรังสี
ปี มีค่าซ่อมบารุ ง 10,000 บาท มีกาลัง
การผลิต 500 ครั้งต่อวัน และไม่
เพียงพอให้ประชาชนใช้บริ การ
ต้นทุนต่อหน่วย 100 บาทต่อครั้ง
เป้าหมาย
ขายเครื่ องจักรเก่า 2 เครื่ อง ขาดทุน
20,000 บาท เครื่ องจักรใหม่มีค่าเสื่ อม
ราคา 70,000 บาทต่อปี มีอายุการใช้
งาน 10 ปี ไม่มีค่าซ่อมบารุ งใน 3 ปี แรก
ปี ที่ 4 –10 มีค่าซ่อมบารุ งประมาณปี ละ
15,000 บาท มีกาลังการผลิต 1,000
ครั้งต่อวัน และมีประชาชนมาใช้
บริ การโดยเฉลี่ย 900 ครั้งต่อวัน
ดังนั้นต้นทุนต่อหน่วยปี ที่ 1 เท่ากับ
100 บาทต่อครั้ง ปี ที่ 2-3 เท่ากับ
77.77 บาทต่อครั้ง และ หน่วยปี ที่ 4-10
เท่ากับ 94.44 บาทต่อครั้ง
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรม
ระยะเวลา
เป้ าหมาย ระยะเวลาจริง ผลการ
ตามแผน
ดาเนินงาน
1. นโยบายใช้ กระดาษ
Recycle ลดการใช้
กระดาษ
ต.ค.51-ก.ย.52
2. นโยบายลดการใช้
ต.ค.51-ก.ย.52
หมึกพิมพ์โดยใช้ โหมด
ประหยัดหมึกสาหรับ
หนังสื อร่ าง
มีการใช้ กระดาษ
200,000 แผ่นต่ อปี
ต้ นทุน 90,000 บาท
ม.ค.52-ก.ย.52
มีการใช้ ผงหมึก 1,500 ต.ค.51-ก.ย.52
ตลับต่ อปี ต้ นทุน
300,000 บาท
มีการใช้ กระดาษ
250,000 แผ่น ต่ อปี
ต้ นทุน 150,000 บาท
เหตุผล
เนื่องจากปริมาณ
ผลผลิตที่ 2 เพิม่ ขึน้
จากเป้าหมายทีก่ าหนด
ไว้ ทาให้ มีการใช้
กระดาษเพิม่ ขึน้ แต่
อย่างไรก็ตาม ไม่ ได้
ส่ งผลกระทบให้ ผล
ผลิตที่ 2 มีต้นทุนต่ อ
หน่ วยเพิม่ ขึน้
มีการใช้ ผงหมึก 1,200 เนื่องจากมีมาตรการ
ตลับต่ อปี ต้ นทุน
รณรงค์ ทตี่ ่ อเนื่องและ
240,000 บาท
มีการปรับโหมดการใช้
งานของเครื่องพิมพ์
และมีการส่ งจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ มากขึน้
ทาให้ ลดการพิมพ์
กระดาษ
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรม
ระยะเวลา
เป้ าหมาย ระยะเวลาจริง ผลการ
เหตุผล
ตามแผน
ดาเนินงาน
3. จัดให้มีการประชุม ม.ค.52-ก.ย.52
VDO conference มาก
ขึ้นเพื่อ
ลดการเดินทางการจัด
ประชุม
มีการติดตั้งระบบ
ม.ค.52-ก.ย.52
VDO conference โดย
มีค่าใช้จ่ายในการ
ติดตั้ง 1,000,000 บาท
และมีค่าใช้จ่ายในการ
บารุ งรักษาปี ละ
200,000 บาท และมี
ค่าใช้จ่ายในการ
เดินทางประชุมก่อน
ติดตั้งระบบ 1,500,000
บาท
มีการติดตั้งระบบ
VDO conference โดย
มีค่าใช้จ่ายในการ
ติดตั้ง 1,000,000 บาท
และมีค่าใช้จ่ายในการ
บารุ งรักษาปี ละ
200,000 บาท โดยมี
ค่าใช้จ่ายในการ
เดินทางประชุมก่อน
ติดตั้งระบบ 1,400,000
บาท ค่าใช้จ่ายในการ
เดินทางหลังการติดตั้ง
300,000 บาท ดังนั้น
ค่าใช้จ่ายในการ
เดินทางจัดประชุม
ปี งบประมาณ
พ.ศ.2552
เนื่องจากการติดตั้ง
ระบบ VDO
conference ยังไม่
ครอบคลุม การจัดการ
ประชุมบางครั้งต้อง
เดินทางไปร่ วมประชุม
จึงมีค่าใช้จ่ายในการ
เดินทาง ซึ่ งค่าใช้จ่าย
ในการเดินทางหลังการ
ติดตั้งเหลือ 300,000
บาท
กิจกรรม
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
ระยะเวลา ตาม
แผน
เป้าหมาย
ระยะเวลาจริง
ผลการดาเนินงาน
ประกอบด้วย ค่าตัดจาหน่ายระบบ
150,000 บาท ค่าบารุ งรักษา 150,000
บาท ค่าใช้จ่ายในการเดินทางประชุม
ก่อนติดตั้งระบบ 1,400,000 บาท
และค่าใช้จ่ายในการเดินทางหลังการ
ติดตั้ง 300,000 บาท รวมทั้งสิ้ น
2,000,000 บาท
หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายค่าติดตั้งมีการตัด
จาหน่าย 9 เดือน 150,000 บาท (ค่า
ติดตั้ง 1,000,000 บาท การตัด
จาหน่าย 5 ปี ปี ละ 200,000 บาท ซึ่ งปี
52 ดาเนินการเป็ นเวลา 9 เดือน
คานวณดังนี้ 200,000 x 9/12 =
150,000 บาท) ค่าบารุ งรักษา 9 เดือน
150,000 บาท (ค่าบารุ งรักษาปี ละ
200,00 บาท ปี 52 ดาเนินการเป็ น
เวลา 9 เดือน คานวณดังนี้ 200,000 x
9/12 = 150,000 บาท
เหตุผล
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรม
4. มีการจ้างเอกชนใน
งานการดูแล
บารุ งรักษาระบบ
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์
และโยกย้ายบุคลากร
เดิมและทรัพยากรที่
ทางานอยูไ่ ป
ปฏิบตั ิงานด้านการ
ออกแบบระบบงาน
สถิติ (งานใหม่)
ระยะเวลา
ตามแผน
ต.ค.51-ก.ย.52
เป้ าหมาย
มีค่าใช้จ่ายในการดูแล
บารุ งรักษาระบบ
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์
โดยบุคลากรภายนอก
มีตน้ ทุน 2,000,000
บาทต่อปี และมี
ค่าใช้จ่ายในการ
ออกแบบระบบงาน
สถิติ มีตน้ ทุน
5,000,000 บาทต่อปี
ระยะเวลาจริง
ต.ค.51-ก.ย.52
ผลการ
ดาเนินงาน
เหตุผล
มีค่าใช้จ่ายในการดูแล
บารุ งรักษาระบบ
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์
โดยบุคลากรภายนอก
มีตน้ ทุน 2,000,000
บาทต่อปี และมี
ค่าใช้จ่ายในการ
ออกแบบระบบงาน
สถิติ มีตน้ ทุน
4,500,000 บาทต่อปี
การจ้างเหมาในการ
ดูแลบารุ งรักษาระบบ
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์
สามารถดาเนินการได้
ตามแผน ส่ วนของ
ต้นทุนของระบบงาน
สถิติหน่วยงาน
สามารถประหยัดได้
500,000 บาท เนื่องจาก
บุคลากรของหน่วยงาน
มีการประหยัด
ค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินงาน
รายงานผลการดาเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2554
กิจกรรม
ระยะเวลา
เป้ าหมาย
ระยะเวลา
ผลการ
เหตุผล
ตามแผน
ดาเนิาปี
นงาน
รายงานผลการด
าเนินงานตามแผนการเพิ่มประสิจริทงธิภาพประจ
งบประมาณ
5. ขายเครื่ องจักรเก่า
ก.พ.52-ก.ย.52
และซื้ อเครื่ องจักรใหม่
แทนเครื่ องจักรเก่าเพื่อ
เพิม่ กาลังการให้บริ การ
การฉายรังสี
ขายเครื่ องจักรเก่า 2 เครื่ อง
ก.พ.52-ก.ย.52
ขาดทุน 20,000 บาท เครื่ องจักร
ใหม่มีค่าเสื่ อมราคา 70,000
บาทต่อปี มีอายุการใช้งาน 10
ปี ไม่มีค่าซ่อมบารุ งใน 3 ปี แรก
ปี ที่ 4 –10 มีค่าซ่อมบารุ ง
ประมาณปี ละ 15,000 บาท มี
กาลังการผลิต 1,000 ครั้งต่อวัน
และมีประชาชนมาใช้บริ การ
โดยเฉลี่ย 900 ครั้งต่อวัน
ดังนั้นต้นทุนต่อหน่วยปี ที่ 1
เท่ากับ 100 บาทต่อครั้ง หน่วย
ปี ที่ 2-3 เท่ากับ 77.77 บาทต่อ
ครั้ง และ หน่วยปี ที่ 4-10
เท่ากับ 94.44 บาทต่อครั้ง
ขายเครื่ องจักรเก่า 2 เครื่ อง สามารถดาเนินการได้
ขาดทุน 20,000 บาท
ตามแผนที่ได้กาหนดไว้
เครื่ องจักรใหม่มีค่าเสื่ อม
ราคา 70,000 บาทต่อปี มี
อายุการใช้งาน 10 ปี ไม่มี
ค่าซ่อมบารุ งใน 3 ปี แรก ปี
ที่ 4 –10 มีค่าซ่อมบารุ ง
ประมาณปี ละ 15,000 บาท
มีกาลังการผลิต 1,000 ครั้ง
ต่อวัน และมีประชาชนมา
ใช้บริ การโดยเฉลี่ย 900
ครั้งต่อวัน ดังนั้นต้นทุน
ต่อหน่วยปี ที่ 1 เท่ากับ 100
บาทต่อครั้ง หน่วยปี ที่ 2-3
เท่ากับ 77.77 บาทต่อครั้ง
และ หน่วยปี ที่ 4-10
เท่ากับ 94.44 บาทต่อครั้ง
พ.ศ.2552
กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2552
กิจกรรมการฝึ กอาชี พ
กิจกรรมการตรวจพิสูจน์
ทางวิทยาศาสตร์
กิจกรรมการแปลเอกสาร
การวิเคราะห์ตน้ ทุนเพื่อวางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ
ปี
ต้นทุนต่อหน่ วย
ต้นทุนคงที่
ต้นทุนผันแปร
ต้นทุนรวม
ปริ มาณงาน
ต้นทุนต่อหน่ วย
ต้นทุนคงที่
ต้นทุนผันแปร
ต้นทุนรวม
ปริ มาณงาน
ต้นทุนต่อหน่ วย
ต้นทุนคงที่
ต้นทุนผันแปร
ต้นทุนรวม
ปริ มาณงาน
50
510.00
50,000,000.00
1,000,000.00
51,000,000.00
100,000.00
885.00
140,000,000.00
1,600,000.00
141,600,000.00
160,000.00
1,010.00
15,000,000.00
150,000.00
15,150,000.00
15,000.00
51
262.00
50,000,000.00
2,400,000.00
52,400,000.00
200,000.00
832.53
140,000,000.00
1,530,000.00
141,530,000.00
170,000.00
1,023.51
15,000,000.00
148,000.00
15,148,000.00
14,800.00
52
1,270.00
50,000,000.00
800,000.00
50,800,000.00
40,000.00
841.33
150,000,000.00
1,440,000.00
151,440,000.00
180,000.00
1,044.48
15,000,000.00
145,000.00
15,145,000.00
14,500.00
53
54
55
220,000.00
210,000.00
190,000.00
185,000.00
183,000.00
181,000.00
13,800.00
13,000.00
12,800.00
ตัวอย่ างของกิจกรรมที่ไม่ ใช่ แผนเพิม่ ประสิ ทธิภาพ
• นาแผนการดาเนินมาเป็ นแผนเพิ่มประสิทธิภาพ เช่น ระบุวา่ ปริมาณงานที่จะทา
เพิ่มขึ ้น แต่ไม่บอกต้ นทุนว่าเพิ่มหรื อไม่ เช่น ปี 2553 จะมีการทางาน 5 ชิ ้น จาก
เดิม 4 ชิ ้น (แต่ต้นทุนอาจจาก 4 ล้ าน เป็ น 6 ล้ าน)
• มีการทารายงานต้ นทุนผลผลิต
• ฝึ กอบรมพนักงาน
• จัดทา PMQA
• แผนยุทธศาสตร์ เพื่อใช้ ในการของบประมาณเพิ่ม
• มีการจัดทาแผนการลดค่าใช้ จ่าย
• มีแผนการทางานที่บ้าน
• ทบทวนกิจกรรมย่อย ทบทวนปริมาณงาน
• สถานะปั จจุบนั ไม่ชดั เจน
• ไม่มีเป้าหมาย หรื อเป้าหมายไม่ชดั เจน ไม่สามารถวัดผลได้ เช่นจะทาให้ ต้นทุน
ลดลง
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
ต้ นทุนของกิจกรรมด้ านการเงินและบัญชี คือ ต้ นทุนในการดาเนิน
กิจกรรมด้ านการเงินและบัญชีของหน่วยงาน เช่น การรับ -จ่ายเงินงบประมาณ
และเงินนอกงบประมาณ การติดตามและการรายงานด้ านการเงินและบัญชี
รวมถึงการบริหารจัดการด้ านงบประมาณ (แต่ ไม่ รวมถึงการจัดทาแผนที่อยู่ใน
ความรั บผิดชอบของกลุ่มแผนงาน)
จานวนเอกสารรายการ หมายถึง จานวนรายการเอกสารทางการเงิน
และบัญชี ยกเว้ นเอกสารการจัดซื ้อจัดจ้ าง ซึ่งหน่วยงานสามารถเรี ยกดูจานวน
เอกสารรายการการเงินและบัญชีในระบบ GFMISได้ โดยใช้ Transaction Code :
FB03
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
ต้ นทุนของกิจกรรมด้ านการพัสดุ (จัดซือ้ จัดจ้ าง) คือ ต้ นทุนในการ
ดาเนินกิจกรรมการบริ หารด้ านพัสดุ และการจัดซื ้อจัดจ้ าง แต่ไม่รวมถึงมูลค่าของ
สิ่งของหรื อบริการที่จดั ซื ้อหรื อจัดจ้ าง ในกรณีนีย้ ังไม่ รวมการซ่ อมบารุ งและงาน
ด้ านยานพาหนะ
จานวนครั ง้ ของการจัดซือ้ จัดจ้ าง หมายถึง จานวนครัง้ ที่หน่วยงานทา
การจัดซือ้ และจัดจ้ าง ซึ่งจานวนเอกสารของการจัดซือ้ จัดจ้ างในระบบ GFMIS
สามารถเรี ยกได้ โดยใช้ Transaction Code: ZMM_PO_RPT01
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
ต้ นทุนของกิจกรรมด้ า นบริ หารบุ คลากร คือ ต้ น ทุน ในการ
ดาเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการบริหารบุคลากรของหน่วยงาน เช่น การดูแล
อัตรากาลังและระบบงาน ด้ านวินยั และงานสรรหา และบรรจุแต่งตัง้
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
จานวนบุคลากร หมายถึง ข้ าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้ าง ถ้ าจานวน
บุคลากรไม่เท่ากันระหว่างปี ให้ ใช้ จานวนบุคลากรถั่วเฉลี่ย ตัวอย่างเช่ น ระหว่าง 1
ตุลาคม 2550 ถึง 15 มกราคม 2550 มีจานวนบุคลากร 50 คน ระหว่าง 16 มกราคม
2550 ถึง 30 กันยายน 2550 มีจานวนบุคลากร 60 คน ดังนัน้ การคานวณหาจานวน
บุคลากรเท่ากับ
ระยะเวลา
จานวนวัน จานวนบุคลากร
1 ตุลาคม - 15 มกราคม
107
50 คน
16 มกราคม - 30 กันยายน
258
60 คน
รวม
365
จานวนบุคลากรถัว่ เฉลี่ยทังปี
้ 20,830 / 365 วัน =57.07 คน
จานวนวัน x จานวนบุคลากร
5,350
15,480
20,830
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
ต้ นทุ นของกิจกรรมด้ านพัฒนาทรั พยากรบุคคล หมายถึง กิ จกรรมที่
หน่วยงานดาเนินงานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ไม่ว่าจะเป็ นการวางแผนการ
พัฒนาทรัพยากรบุคคล การประเมินผล และการจัดฝึ กอบรม รวมถึงการจัดทาสื่อ
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยนับรวมการพัฒนาบุ คลากรทัง้
ภายในและภายนอกหน่ ว ยงาน ในกรณี นี ย้ กเว้ น การศึ ก ษาดู ง านและการ
ฝึ กอบรมต่ างประเทศ
จานวนชั่วโมง/คนการฝึ กอบรม หมายถึง ผลรวมของจานวนชัว่ โมงของ
การฝึ กอบรมของแต่ละหลักสูตรคูณด้ วยจานวนผู้เข้ าฝึ กอบรมในหลักสู ตรนัน้ เพื่อ
คานวณหาต้ นทุนของการฝึ กอบรม 1 คน ต่อ 1 ชั่วโมงเป็ นเท่าใด ตัวอย่างเช่น
หลักสูตรฝึ กอบรมมีผ้ เู ข้ ารับการอบรม 20 คน มีระยะเวลา 6 ชัว่ โมง ดังนัน้ จานวน
ชัว่ โมง/คนการฝึ กอบรม เท่ากับ 120 ชัว่ โมง/คน
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
ต้ นทุนของกิจกรรมตรวจสอบภายใน คือ ต้ นทุนในการ
ดาเนินกิจกรรมที่ เกี่ ยวกับงานด้ านตรวจสอบภายในของหน่ว ยงาน
ซึง่ ส่วนใหญ่ดาเนินงานโดยกลุม่ ตรวจสอบภายใน
จานวนงานตรวจสอบ หมายถึง จานวนคนวันที่ใช้ ที่ในงาน
ตรวจสอบตามแผนงานการตรวจสอบประจาปี
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
ต้ นทุนของกิจกรรมด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภายใน
หน่ วยงาน คือต้ นทุนในการดาเนินงานที่เกี่ยวกับการดูแลบารุ งรักษา
คอมพิวเตอร์ ระบบอี เมล์ ระบบ e-office
ระบบเครื อข่า ย
อินทราเน็ต(ไม่รวมการสร้ างระบบงานเฉพาะของหน่วยงาน เว็บไซต์
และระบบอินเตอร์ เน็ตของหน่วยงาน)
จานวนเครื่ องคอมพิวเตอร์ หมายถึง จานวนคอมพิวเตอร์
ทังหมดที
้
่หน่วยงานดูแล
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
อนึง่ หากหน่วยงานภาครัฐมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมเครื อข่าย
อินเตอร์ เน็ตและเว็บไซต์ ก็ให้ กาหนดกิจกรรมเพิ่มเติม ดังนี ้
กิจกรรมด้ านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตและเว็บไซต์ คือ ต้ นทุนในการดาเนินงาน
เกี่ยวกับเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ต้ นทุนของการใช้ อปุ กรณ์ในการเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ต
การใช้ เครื่ องและอุปกรณ์ในการจัดการอินเตอร์ เน็ต และต้ นทุนที่เกี่ยวข้ องกับงาน
อินเตอร์ เน็ต และงานที่เกี่ยวข้ องกับการสร้ างและบารุงรักษาเว็บไซต์ สาหรับฮาร์ ดแวร์
และซอฟท์แวร์ ที่มีอายุการใช้ งานมากกว่า 1 ปี จะใช้ คา่ เสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย
ตามอายุการใช้ งาน
ระบบ หมายถึง ระบบเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตและเว็บไซต์ โดยให้ นบั เป็ น 1
ระบบ
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
กิจกรรมด้ านแผนงาน คือ ต้ นทุนในการดาเนินงานกิจกรรม
การจัดทาแผน ติดตาม ประเมินผล และรายงานแผนของหน่วยงาน
โดยส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของกลุ่มแผนงาน ในกรณีที่ กลุ่ม
แผนงาน ด าเนิ น งานนอกเหนื อ จากนี ต้ ้ อ งแยกต้ น ทุน เป็ นกิ จ กรรม
ต่างหาก
ด้ าน หมายถึง กิจกรรมด้ านแผนงาน โดยให้ นบั เป็ น 1 ด้ าน
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
กิจกรรมด้ านพัฒนาระบบบริหารราชการ คือ ต้ นทุนในการ
ดาเนินงานกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับการพัฒนาระบบราชการ การจัดทา
คารับรองการปฏิบตั ิราชการ การติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิงานตาม
คารั บรองและดาเนินการด้ านการพัฒนาคุณภาพการบริ หารจัดการ
ภาครั ฐ (PMQA) โดยส่ ว นใหญ่ อ ยู่ใ นความรั บ ผิ ด ชอบของกลุ่ม
พัฒ นาระบบบริ ห าร (ก.พ.ร.) ในกรณี ที่ ก ลุ่ม พัฒ นาระบบบริ ห าร
(ก.พ.ร.) ด าเนิ น งานนอกเหนื อ จากนี ต้ ้ อ งแยกต้ น ทุน เป็ นกิ จ กรรม
ต่างหาก
ด้ าน หมายถึง กิจกรรมด้ านพัฒนาระบบบริ หารราชการ โดย
ให้ นบั เป็ น 1 ด้ าน
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
กิจกรรมด้ านงานสารบรรณ คือ ต้ นทุนในการดาเนินงาน
กิ จกรรมของกลุ่มงานสารบรรณในการรั บส่ง หนัง สือส่วนกลางของ
หน่วยงาน ไม่รวมถึงงานสารบรรณย่อยตาม สานัก กอง ศูนย์
จานวนหนั งสือเข้ า –
รับเข้ าและส่งออกของหน่วยงาน
ออก หมายถึง จานวนหนังสือ
อธิบายกิจกรรมย่ อยของหน่ วยงานสนับสนุน
กิ จ กรรมด้ า นยานพาหนะ คื อ ต้ น ทุน ในการด าเนิ น งาน
กิจกรรมเกี่ยวกับด้ านยานพาหนะเพื่อใช้ ในการเดินทางของส่ วนกลาง
ยกเว้ น ค่ า ใช้ จ่ า ยเกี่ ย วกั บ รถประจ าต าแหน่ ง ค่ า แท็ ก ซี่ และ
ยานพาหนะที่มีลกั ษณะเฉพาะ เช่น ยานพาหนะทางน ้า ทางอากาศ
และยานพาหนะที่ใช้ ในการรบ
กิโลเมตร หมายถึง ระยะทางทัง้ หมดที่วิ่งของยานพาหนะ
ทังหมดใน
้
1 ปี
เช่น
เงินในงบประมาณ
กิจกรรมหลัก
AAAAA BBBB XXXXX
03004 10000 F2849
เช่น
กิจกรรมย่ อย
PPPP XXXXX YYY
1000 F2849 100
เช่น
เงินนอกงบประมาณ/งบกลาง
กิจกรรมหลัก
PBBBB / 90909 BBBB XXXXX
P1000 / 90909 1000 F2849
เช่น
กิจกรรมย่อย
BBBB AAAAA YYY
1000 03004 100
รายงานต้ นทุนงานบริการสาธารณะ
ในกิจกรรมสนับสนุนของหน่ วยงาน
ภาครั ฐ
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2552
กิจกรรมด้ านการเงินและบัญชี
• ต้ นทุนรวมทังประเทศเท่
้
ากับ 7,857,629,524.10 บาท
• ต้ นทุนสูงที่สดุ คือ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย จานวนเงิน
1,047,175,759.50 บาท
• ต้ นทุนต่าที่สดุ คือ กองบัญชีการกองทัพไทยจานวนเงิน 258,739.44 บาท
• ค่ากลาง(มัธยฐาน) เท่ากับ 19,666,654.95 บาท
• ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 59,981,904.76 บาท
• ต้ นทุนเฉลี่ยต่อหนึง่ รายการเท่ากับ 2,246.39 บาท
• ต้ นทุนต่อหน่วยสูงที่สดุ ต่อหนึง่ รายการ เท่ากับ 53,173.06 บาท
• ต้ นทุนต่อหน่วยตาที่สดุ ต่อหนึง่ รายการ เท่ากับ 8.43 บาท
กิจกรรมด้ านการพัสดุ
•
•
•
•
•
•
•
•
ต้ นทุนรวมทังประเทศเท่
้
ากับ 10,949,942,623.06 บาท
ต้ นทุนสูงที่สดุ คือ กองทัพเรื อ จานวนเงิน 3,932,638,633.78 บาท
ต้ นทุนต่าที่สดุ คือ กรมส่งเสริ มสหกรณ์ จานวนเงิน 132,841.18 บาท
ค่ากลาง(มัธยฐาน) เท่ากับ 115,345,441.09 บาท
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 83,587,348.27 บาท
ต้ นทุนเฉลี่ยต่อการจัดซื ้อจัดจ้ าง 1 ครัง้ เท่ากับ 23,859.87 บาท
ต้ นทุนต่อหน่วยสูงที่สดุ ต่อการจัดซื ้อจัดจ้ าง 1 ครัง้ เท่ากับ 687,524.24 บาท
ต้ นทุนต่อหน่วยตาที่สดุ ต่อการจัดซื ้อจัดจ้ าง 1 ครัง้ เท่ากับ 81.78 บาท
กิจกรรมด้ านการบริหารบุคลากร
•
•
•
•
•
•
•
•
ต้ นทุนรวมทังประเทศเท่
้
ากับ 4,499,126,700.54 บาท
ต้ นทุนสูงที่สดุ คือ กองทัพเรื อ จานวนเงิน 1,401,405,782.97 บาท
ต้ นทุนต่าที่สดุ คือ กรมการศาสนา จานวนเงิน 687,546.59 บาท
ค่ากลาง(มัธยฐาน) เท่ากับ 18,493,712.85 บาท
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 34,344,478.63 บาท
ต้ นทุนเฉลี่ยต่อจานวนบุคลากร 1 คน เท่ากับ 13,215.06 บาท
ต้ นทุนต่อหน่วยสูงที่สดุ ต่อจานวนบุคลากร 1 คน เท่ากับ 135,875.23 บาท
ต้ นทุนต่อหน่วยตาที่สดุ ต่อจานวนบุคลากร 1 คนเท่ากับ 217.55 บาท
กิจกรรมด้ านพัฒนาทรัพยากรบุคคล
•
•
•
•
•
•
•
•
ต้ นทุนรวมทังประเทศเท่
้
ากับ 18,626,722,964.21 บาท
ต้ นทุนสูงที่สดุ คือ กองทัพเรื อ จานวนเงิน 8,349,937,753.24 บาท
ต้ นทุนต่าที่สดุ คือ กรมควบคุมมลพิษ จานวนเงิน 319,649.13 บาท
ค่ากลาง(มัธยฐาน) เท่ากับ 14,588,389.44 บาท
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 142,188,724.92 บาท
ต้ นทุนเฉลี่ยต่อหนึง่ ชัว่ โมงคนเท่ากับ 4,540.36 บาท
ต้ นทุนต่อหน่วยสูงที่สดุ ต่อหนึง่ ชัว่ โมงคน เท่ากับ 133,469.07 บาท
ต้ นทุนต่อหน่วยตาที่สดุ ต่อ หนึง่ ชัว่ โมงคน เท่ากับ 0.77บาท
กิจกรรมด้ านตรวจสอบภายใน
• ต้ นทุนรวมทังประเทศ
้
เท่ากับ 2,271,137,594.53 บาท
• ต้ นทุนสูงที่สดุ คือ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย จานวนเงิน
885,988,820.40 บาท
• ต้ นทุนต่าที่สดุ คือ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จานวนเงิน
7,969.29 บาท
• ค่ากลาง(มัธยฐาน) เท่ากับ 2,445,434.80 บาท
• ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17,336,928.20 บาท
• ต้ นทุนเฉลี่ยต่อคนวันเท่ากับ 81,074.89 บาท
• ต้ นทุนต่อหน่วยสูงที่สดุ ต่อคนวัน เท่ากับ 8,789,174.57 บาท
• ต้ นทุนต่อหน่วยตาที่สดุ ต่อคนวัน เท่ากับ 18.84 บาท
การบริหารต้ นทุนกับนโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจ
• นโยบายรัฐบาลให้ มีการใช้ จ่ายภาครัฐสูงสุด
• เร่งรัดหน่วยงานภาครัฐเบิกจ่ายเงินงบประมาณให้ หมด
• การบริหารต้ นทุนใช้ ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างจากัดให้ เกิดประโยชน์สงู สุด
Q & A
กลมุ่ มาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐ
โทร. 0-2127-7414 - 5
E-mail address: [email protected]
Website: www.cgd.go.th