Document 7408700

Download Report

Transcript Document 7408700

ศัพท์ เทคนิคที่ใช้ กบั เรื่ องพยาธิตัวกลม
(Terms used in the description of nematodes)
Cuticle
เป็ นส่ วนผิวชั้นนอกสุ ด เป็ นชนิด
Non-cellular hyaline layer
Papillae เป็ นส่ วนทีย่ ื่นจากผิวหนังขึน้ มา อาจอยู่ที่
Cervicle หรื อ caudal ก็ได้
Buccal capsule ช่ องปาก
Hypodermis
ชั้นของผิวหนังทีอ่ ยู่ระหว่ างผิวชั้นนอก
(Epidermis)
และเซลล์ ส่วนภายในของร่ างกาย
Bacillary band
Plathymyarian
Meromyarian
เซลล์ ทเี่ รียงเป็ นแถวตามยาว พบใน
พวก Trichinelloidea เป็ น somatic
muscle cell ซึ่ง muscle fiber จะทอด
ไปตามยาวข้ าง ๆ ของเซลล์ มบี าง
ส่ วนตั้งได้ ฉากกับ Hypodermis
เป็ น Somatic cell ซึ่ง muscle fiber ตั้ง
ได้ ฉากกับ Hypodermis
เป็ นกลุ่มกล้ ามเนื้อ ซึ่งมี cell 2-3 cell
พบในพยาธิเข็มหมุดและพยาธิปากขอ
Amphid
Phasmid
Spicule
เป็ น sensory receptor อยู่ใกล้ anterior end
เป็ น sensory receptor อยู่ทาง posterior end
เป็ นอวัยวะสื บพันธุ์ของพยาธิตวั ผู้ มี
ลักษณะเป็ นแท่ งยาว
Copulatory bursa เป็ นเยื่อบาง ๆ ของ cuticle ทีแ่ ผ่ กาง
เหมือนร่ มอยู่ทาง posterior end ของ
ตัวผู้ (ใช้ ยดึ พยาธิตวั เมียเวลาผสมพันธุ์)
Gubernaculum ส่ วนที่ยื่นจากผนังของ cloaca ใช้ เป็ นไกด์
นา spicule ระหว่ างผสมพันธุ์
Cloaca
เป็ นท่ อเปิ ดของ Rectum และ Genital tract
Stichosome เป็ น glandular cells (Stichocytes) ซึ่งเรียงตัว
เป็ นแถวตามยาวของ oesophagus พบในพวก
Trichinelloidea
Pseudocoelom (Pseudocoel) เป็ น Body cavity ภายในมี
ของเหลวและอวัยวะภาย
ในลอยอยู่
Esophagus (Pharynx)
เป็ นส่ วนทีต่ ่ อระหว่ างปาก
และลาไส้
Corpus
ส่ วนหน้ าของหลอดอาหาร (oesophagus)
ในพวก Rhabditi จะแบ่ งเป็ น procorpus
และ metacorpus
Isthmus ส่ วนกลางของ oesophagus
Bulb
เป็ นส่ วนปลายของ oesophagus ทีโ่ ป่ งออก
Didelphic (Bicornate) มีอวัยวะสื บพันธุ์ 2 ชุด
Monodelphic
Viviparous
Oviparous
Parthenogenesis
Autoinfection
พยาธิตวั เมีย มีอวัยวะสื บพันธุ์ชุดเดียว
พวกทีอ่ อกลูกเป็ นตัว
พวกทีอ่ อกลูกเป็ นไข่
คือการออกลูก โดยทีไ่ ข่ น้ันไม่ ได้ ผสม
กับ sperm
คือการติดพยาธิจากตัวเอง
Retroinfection
เป็ นชนิดหนึ่งของ Autoinfection
คือเมื่อพยาธิฟักออกจากไข่ ใกล้
Anus จะเดินทางกลับเข้ าไปในลาไส
ใหญ่ อกี และเจริญเป็ นตัวแก่
Rhabditiform larva
เป็ นตัวอ่ อนของพยาธิ ซึ่งมี
oesophagus สั้ นและมีส่วนโป่ ง
ทาง posterior end
Filariform larva เป็ นตัวอ่ อนทีม่ ี oesophagus ยาว
และไม่ มสี ่ วนโป่ งทาง posterior end
Paratenic
เป็ น transpot host ซึ่งพยาธิจะไม่
เจริญเติบโตแต่ ยงั มีชีวติ อยู่ได้
Periodicity
เป็ นเทอมทีใ่ ช้ ในโรคฟิ ลาเรีย
หมายถึงเวลาทีส่ ามารถพบหรื อไม
พบ microfilaria ในกระแสเลือด
Nocturnal periodicity เวลาทีพ่ บ microfilaria ใน
กระแสโลหิตในเวลากลางคืน
Diurnal periodicity
เวลาทีพ่ บ microfilaria ใน
กระแสโลหิตในเวลากลางคืน
Subperiodicity พบ microfilaria ได้ ตลอด 24 ชั่วโมง
Phylum Nematoda
Nematodes หรื อ Round worms
รูปร่ างลักษณะ
(General Characteristics of Nematodes)
1. รูปร่ างทรงกระบอก หัวหางเรียว ขนาดตั้งแต่ เล็ก
ประมาณ 1 mm จนถึงใหญ่ ประมาณ 1 m
2. ลาตัวไม่ มีปล้ อง (unsegmented)
3. ผนังลาตัว (body wall) 3 ชั้น
4. มีช่องว่ างในลาตัว (body cavity)
5. มีทางเดินอาหารสมบูรณ์
6. แยกเพศ
ลักษณะทั่วไป (General Morphology)
ขนาด 1 mm – 1 m
ผนังลาตัว 3 ชั้น
1. ผิวชั้นนอก (Cuticle)
- ไม่ มี nucleus
- มีลกั ษณะลาย หรื อ เรียบ หรื อเป็ นปุ่ ม
- ประกอบด้ วย collagen , carbohydrate และ lipid
- มีปมรั
ุ่ บสั มผัส (sensory papillae) บริเวณรอบ
ปาก คอ และ หาง
2. ชั้นกลาง (Epithelial layer)
- ประกอบด้ วย syncytium fiber
- มี nucleus หลายอันปนกัน
- มีส่วนที่ประกอบกันเป็ นแท่ ง (cord) 4 อัน
ยื่นเข้ าไปใน body cavity เรียก longitudinal
line
(เป็ นลักษณะสาคัญอย่ างหนึ่งของ nematode)
3. ชั้นในสุ ด (Dermo-muscular layer)
- ประกอบด้ วยกล้ามเนื้อเรียงตัวเป็ น
ชั้นเดียวไปตามยาว
- แบ่ งเป็ น 4 กลุ่มโดย longitudinal line
ระบบทางเดินอาหาร (Alimentary system)
- ทางเดินอาหารเป็ นท่ อตรงจาก ปาก
anus
- ปาก บางครั้งเรียกว่ า buccal cavity มี lip หรื อ
teeth (cutting plate) รอบปาก
- ส่ วนประกอบของทางเดินอาหาร คือ
ปาก esophagus
intestine rectum
- esophagus อาจมีลกั ษณะพิเศษ เรียก Stichosome
ในบางพวก เช่ น Trichinellidae
anus
ระบบสื บพันธุ์ (Reproductive system)
- แยกเพศ
- เพศผู้ ประกอบด้ วย
Testes
Vas deferens Seminal vessicle
Ejeculatory duct
เปิ ดที่
Cloaca (บริเวณ subterminal ด้ าน ventral)
- เพศเมีย ประกอบด้ วย
Ovary
Oviduct
Seminal receptacle
Uterus
Ovijector Vagina
เปิ ด
ที่ Vulva (บริเวณส่ วน anterior ด้ าน ventral)
- พยาธิบางชนิดมีอวัยวะเพศ 2 ชุดในตัวเดียว
กัน เช่ น Ascaris (พยาธิไส้ เดือน)
Ancylostoma duodenale (พยาธิปากขอ)
ระบบประสาท (Nervous system)
- Nerve trunk 6 เส้ น
- Nerve ที่สาคัญ คือ วงรอบ esophagus
(circum – esophageal ring) ทาหน้ าที่
เป็ น nerve center คล้ายสมอง
ระบบขับถ่ าย (Excretory system)
- ประกอบด้ วย collecting tubules ตามความ
ยาวของตัว อยู่ทาง lateral ข้ างละ 1 ท่ อ
- อาจมี gland cell 1 อัน
- Excretory canal ไปเปิ ดที่ excretory pore
บริเวณ midventral ด้ าน anterior end
ไข่ (Egg)
- ส่ วนมากมีเปลือก 3 ชั้น
1. ชั้นนอก (Albuminus coating)
- อาจเรียบ หรื อ ขรุขระ
- ผิวหนา
2. ชั้นกลาง (True shell)
- หนากว่ าชั้นในมาก
- เป็ น Chitin
3. ชั้นใน (Vitelline membrane , Fertilization
membrane)
- เป็ น membrane บางๆ
- เป็ น Lipoidal substance
วงชีวติ (Life cycle)
- ออกลูกเป็ นไข่ (มีท้งั Unembryonated egg
และ Embryonated egg)
- ออกลูกเป็ นตัว (Larva)
- บางชนิดต้ องการ Intermediate host บาง
ชนิดไม่ ต้องการ
การติดต่ อ (Mode of infection)
- โดยการกิน
- โดยการไชเข้ าผิวหนัง
- บางชนิดต้ องมี Route of migration จึง
จะโตเป็ นตัวแก่ได้ เช่ น มี lung migration
- สามารถแพร่ กระจายจากโฮสต์ ได้
หลายวิธี ได้ แก่
พวกทีอ่ ยู่ในลาไส้
anus
พวกทีอ่ ยู่ในปอด
เสมหะ
พวกทีอ่ ยู่ในไต
ปัสสาวะ
พวกทีอ่ ยู่ในเนื้อเยื่อ
ผิวหนัง
แบ่ งกลุ่มตามทีอ่ ยู่ของตัวพยาธิในโฮสต์ ได
เป็ น 2 พวก คือ
1. พวกทีอ่ าศัยอาศัยอยู่ในลาไส้
(Intestinal Nematodes)
2. พวกทีอ่ าศัยอยู่ในระบบหมุนเวียน
เลือดในระบบนา้ เหลืองหรื อในเนื้อเยื่อ
(Tissue-inhabiting Nematodes)
1. พวกอาศัยอยู่ในลาไส้ (Intestinal)
Small intestine only
- Ascaris lumbricoides (Common roundworm)
- Ancylostoma duodenale (The old world hook worm)
- Necator americanus (American hookworm)
- Strongyloides stercoralis
- Trichinella spiralis (Trichina worm)
- Capillaria philippinensis
Caecum and Vermiform Appendix
- Enterobius vermicularis
(Threadworm or Pinworm)
- Trichuris trichiura (Whipworm)
2. พวกอาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อหรื อในอวัยวะอื่น ๆ
นอกจากลาไส้ (Inside the tissues and organs)
Lymphatic System
- Wuchereria bancrofti
- Brugia malayi
Subcutaneous Tissues
- Loa loa (African eye worm)
- Onchocerca volvulus
- Dracunculus medinensis (Guinea worm)
Lungs
- Strongyloides stercoralis
Mesentery
- Dipetalonema perstans
- Mansonella ozzardi
Conjunctiva
- Loa loa
(K.D. Chatterjee, 1980 p. 159)
วงจรชีวิตของพยาธิไส้เดือนกลม
วงจรชีวิตของพยาธิปากขอ
วงจรชีวิตของพยาธิสตรองจิลอยดิส
วงจรชีวิตของพยาธิแส้มา้
วงจรชีวิตของพยาธิเข็มหมุด
พยาธิไส้เดือน (Ascariasis)
 Ascaris lumbricoides เป็ นพยาธิตัวกลมชนิดหนึ่งที่มี
รู ปร่ างคล้ ายไส้ เดือนสี ขาวยาวประมาณ 20-40 ซม.อาศัย
อยู่ในลาไส้ เล็กของคน
 สาเหตุ : การกลืนไข่ พยาธิที่เปื้ อนอาหาร นา้ ดื่มหรื อนิว้ มือ
 อาการ
: ปวดท้ องเฉียบพลัน เบื่ออาหาร หากพยาธิ
เคลื่อนทีไ่ ปปอดทาให้ ไอ ปอดอักเสบ หากเคลื่อนตัวไปอุด
ตันในท่ อนา้ ดีทาให้ มีอาการดีซ่านในเด็กอาจพบอาการ
คลื่นไส้ อาเจียน
พยาธิไส้เดือน (Ascariasis)
 การรักษา : ให้ กน
ิ ยาถ่ ายพยาธิเช่ น Albendazole,
Mebendazole
 ข้ อแนะนา : เด็กทีม
่ ีอาการปวดท้ องหรื ออาเจียน
บ่ อยหรื อเป็ นลมพิษเรื้อรังโดยไม่ ทราบสาเหตุชัดเจน
ควรนึกถึงโรคนีไ้ ว้ ด้วย
 วิธีป้องกัน : โรคนีส้ ามารถป้ องกันได้ ด้วยการกิน
อาหารที่ไม่ มีแมลงวันตอม ดื่มนา้ สะอาด ผักสด
ผลไม้ ควรล้ างให้ สะอาดก่ อนกิน ล้ างมือก่ อนกิน
อาหารและหลังถ่ ายอุจจาระ ตัดเล็บให้ ส้ั น
พยาธิไส้เดือน (Ascariasis)
พยาธิเส้นด้าย

(Enterobiasis)
มีลกั ษณะเป็ นเส้ นด้ าย ตัว
แก่ อาศัยอยู่ในลาไส้ ใหญ่ คนตัวเมียจะออกมาวางไข่ ที่ก้นของ
ผู้ป่วยทาให้ มีความรู้ สึกคันมาก
Enterobius vermicularis
 สาเหตุ : ผู้ป่วยได้ รับไข่ พยาธิจากการใช้ มือเกาก้ นไปจับ
อาหารและสามารถติดต่ อไปยังผู้อื่นได้ โดยการสั มผัสไข่
พยาธิจากผู้ป่วย
 อาการ : ปวดท้ อง คลื่นไส้ อาเจียน โดยจะพบอาการคันก้ น
มากเวลากลางคืน
พยาธิเส้นด้าย
(Enterobiasis)
 การรักษา : ให้ ยาถ่ ายพยาธิเช่ น Albendazole,
Mebendazole
ควรให้ กนิ ซ้าอีกใน 2 สั ปดาห์ ต่อมา
 ข้ อแนะนา : ควรนากางเกงใน ชุ ดนอนและผ้ าปูทน
ี่ อนไป
ต้ มให้ สะอาด
 วิธีป้องกัน : - ป้ องกันการติดโรคนีซ
้ ้าๆโดยหมั่นตัดเล็บให้
สั้ น ล้ างมือก่ อนรับประทานอาหารและหลังถ่ ายอุจจาระทุก
ครั้ง
- ควรทาการรักษาทุกคนในบ้ านถึงแม้ ว่าจะยัง
ไม่ มีอาการ
พยาธิเส้นด้าย
(Enterobiasis)
วงจรชีวติ พยาธิเส้ นด้ าย
พยาธิปากขอ (Hook worm disease)

Ancylostoma duodenale,
Necator americanus เป็ นพยาธิตัวกลมที่มีขนาด
ประมาณ 7 ซม. เกาะอาศัยอยู่บนผนังลาไส้ และดูดเลือด
จากบริเวณนั้น
 สาเหตุ : ตัวอ่ อนของพยาธิที่ฟักตัวบนดินจะไชเข้ าทาง
ผิวหนังของผู้ทไี่ ม่ สวมรองเท้ า เข้ าทางง่ ามนิว้ เท้ า
 อาการ : มีต่ ุมแดงทีผ่ วิ หนังบริเวณทีพ
่ ยาธิไชเท้ า ไม่
สบายท้ อง จุกเสี ยดแน่ นท้ อง มีภาวะโลหิตจางจากการ
ขาดธาตุเหล็ก ซึ่งสามารถสั งเกตได้ โดยหนังตาล่ างด้ านใน
จะซีด
พยาธิปากขอ (Hook worm disease)
 การรักษา : ให้ ยาถ่ ายพยาธิเช่ น Albendazole,
Mebendazole ถ้ าซีดให้ กน
ิ เฟอรัสซัลเฟตรักษาภาวะ
โลหิตจาง
 ข้ อแนะนา : ผู้ป่วยทีม
่ ีอาการซีดเนื่องจากการขาดธาตุ
เหล็ก ถ้ าหากอยู่ในถิน่ ทีม่ ีพยาธิปากขอชุกชุมนอกจากให้
ยาบารุงโลหิตจางแล้ วควรให้ ยาถ่ ายพยาธิปากขอร่ วมด้ วย
 วิธีป้องกัน : โรคนีส้ ามารถป้ องกันได้ โดยการถ่ าย
อุจจาระลงในส้ วม สวมรองเท้ าถ้ าต้ องเดินบนดินและไม่
เล่ นคลุกคลีบนดินทราย
พยาธิปากขอ (Hook worm disease)
Intestinal
Roundworm
Hookworm
infection
พยาธิแส้มา้ (Trichuriasis)
 มีลก
ั ษณะคล้ ายแส้ ม้า อาศัยอยู่ในลาใส้ ใหญ่ แล้ วปล่ อยไข่
ออกมากับอุจจาระลงอยู่ตามพืน้ ดิน
 สาเหตุ : ไข่ เจริญจนมีตวั อ่ อนอยู่ในไข่ และคนกินไข่ พยาธิที่
ติดเปื้ อนมากับผักหรื ออาหารเข้ าไป
 อาการ : ปวดท้ อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้ องเดิน หรื อถ่ าย
อุจจาระเป็ นมูกเลือด อาจมีอาการอ่ อนเพลีย นา้ หนักลด
พยาธิแส้มา้ (Trichuriasis)
 การรักษา : ให้ กน
ิ ยาถ่ ายพยาธิเช่ น
Mebendazole
 วิธีป้องกัน : โรคนีส้ ามารถป้ องกันได้ ด้วยการกินอาหารที่
ไม่ มีแมลงวันตอม ดื่มนา้ สะอาด ผักสด ผลไม้ ควรล้ างให้
สะอาดก่ อนกิน ล้ างมือก่ อนกินอาหารและหลังถ่ ายอุจจาระ
ตัดเล็บให้ ส้ั น
พยาธิแส้มา้ (Trichuriasis)
พยาธิตวั จี๊ด (Gnathostomiasis)
 ตัวจี๊ด (Gnathostoma spinigerum)เป็ นพยาธิที่
อาศัยอยู่ในโพรงก้ อนทูมของกระเพาะอาหารของ
แมวและสุ นัขตัวอ่ อนระยะติดต่ ออาศัยอยู่ใน
กล้ ามเนื้อของสั ตว์ นา้ จืด สั ตว์ เลือ้ ยคลาน สั ตว์ ปีก
 สาเหตุ : กินกุ้ง ปลา หรื อเนื้อสั ตว์ สุกๆดิบๆ
 อาการ : เป็ นรอยบวม แดงๆ ตึงๆ คัน ตามผิวหนัง
เกิดเฉพาะแห่ งส่ วนไหนของร่ างกายก็ได้ รอยบวมนี้
ขนาดไม่ แน่ นอน และเคลื่อนทีไ่ ปเรื่ อยๆ
พยาธิตวั จี๊ด (Gnathostomiasis)
 การรักษา : ปัจจุบันยังไม่ มยี าฆ่ าพยาธิตวั จี๊ด ถ้ ามี
อาการดังกล่ าวให้ รักษาตามอาการเช่ น ยาแก้ ปวด ยาแก้
แพ้ ในรายที่มีอาการอักเสบมากอาจต้ องให้ สเตอ
รอยด์ ถ้ าพยาธิขนึ้ มาทีผ่ วิ หนัง อาจรักษาด้ วยการผ่ า
เอาพยาธิออกมา
 คาแนะนา : ไม่ รับประทานอาหารดิบหรื อสุ กๆดิบๆ
พยาธิตวั จี๊ด (Gnathostomiasis)
พยาธิตวั กลมในระบบหมุนเวียนเลือด
นา้ เหลืองและเนื้อเยื่อ
(The blood and tissue dwelling nematodes)
Class Nematoda
Subclass Phasmida
Order Spirurida
Superfamily Filarioidea
- ปรสิ ตใน Superfamily นี้ มีมากกว่ า 100 ชนิด
แต่ ทตี่ ดิ ต่ อสู่ คน มีประมาณ 10 ชนิด
ลักษณะทั่วๆไป
1. ลักษณะยาวคล้ ายเส้ นด้ าย (Thread like)
2. พยาธิตัวแก่ อาศัย ในระบบน้าเหลือง
เนื้อเยื่อใต้ ผวิ หนัง
และ ช่ องว่ างในร่ างกายของโฮสต์
3. ตัวอ่ อน เรียก Microfilaria
4. ต้ องการโฮสต์ 2 ชนิด
Intermediate host ( I.H. ) = แมลงดูดเลือด
Definitive host ( D.H. ) = สั ตว์ มีกระดูกสั นหลังชนิดต่ างๆ
5. เป็ นปรสิ ตของสั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง
( Vertebrate animal )
( Amphibians
Mammals )
พยาธิ Filaria ที่เป็ นปรสิ ตในคน ได้ แก่
1. Brugia malayi
พบในประเทศไทย
2. Wuchereria bancrofti
3. Brugia timori
4. Loa loa
5. Onchocerca volvulus
6. Dipetalonema perstans
7. Dipetalonema streptocerca
8. Mansonella ozzardi
พยาธิ Filaria ที่เป็ นปรสิ ตในสั ตว์ ได้ แก่
Dirofilaria spp.
หมายถึง โรค Filaria ซึ่งเกิดบริเวณท่ อน้าเหลือง
พยาธิที่ทาให้ เกิดโรค คือ Brugia malayi
Wuchereria bancrofti
การแพร่ กระจาย (Distribution)
- ในประเทศไทย
Brugia malayi พบบริเวณภาคใต้
Wuchereria bancrofti พบบริเวณภาค
ตะวันตก
วงชีวติ (Life cycle)
- วงชีวติ เป็ นแบบเดียวกัน
- ตัวแก่ อยู่ในต่ อมนา้ เหลือง
- ตัวอ่ อนเรียกว่ า Microfilaria ตรวจพบได้ ใน
กระแสเลือดของผู้ป่วย
สามารถจาแนกชนิดได้ จากลักษณะของ
Microfilaria
ระยะที่ 4
พยาธิตัวแก่ (ระยะที่ 5)
ในต่ อมนา้ เหลือง ผสมพันธุ์
ตัวอ่ อน ระยะ microfilaria
คน
ในกระแสเลือด
ระยะที่ 3 (Infective stage)
ระยะที่ 2
ยุง
ยุงกัดผู้ป่วย
ระยะที่ 1
รูปร่ างตัวอ่ อน Microfilaria
เปรียบเทียบลักษณะ Microfilaria จาก ฟิ ล์ มเลือด (Giemsa’s stain)
ของ
Brugia malayi และ Wuchereria bancrofti
ลักษณะของ microfilaria
1. ขนาด
2. Sheath
3. ช่ องว่ างส่ วนหัว
Brugia malayi
177 – 230 um
มี
ยาว 2 เท่ าของความกว้ าง
(Cephalic space)
4. Nucleus
Overlap
5. Terminal nucleus
2 อัน
Wuchereria bancroft
244 – 296 um
มี
ยาว = กว้ า
แยก
ไม่ มี
การเจริญเติบโตในยุง
Microfilaria จาก คน
กระเพาะยุง
เจาะผนังกระเพาะ ออกมาในช่ องว่ างลาตัว
Infective stage อยู่ที่ Proboscis
ยุงไปกัดคน
เดินทางไปที่ส่วนอก
(Metamorphosis)
การเจริญในคน
Infective stage จาก ยุง
เดินทางไปท่ อทางเดินนา้ เหลือง
ต่ อมนา้ เหลือง เจริญเป็ นตัวแก่
ออกลูกเป็ น Microfilaria
Microfilaria เดินทางไปที่กระแสเลือด
การปรากฏตัวของเชื้อ (Periodicity)
เป็ นการปรากฏตัวของระยะ microfilaria ในกระแสเลือด
1. Periodic type
คือ ชนิดที่ปรากฏตัวในช่ วงเวลาใดเวลาหนึ่งเท่ านั้น
1.1 Nocturnal periodic type
1.2 Diurnal periodic type
2. Subperiodic type
คือ ชนิดที่ปรากฏตัวได้ ตลอดเวลา แต่ จะพบมาก
ช่ วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
2.1 Nocturnal subperiodic type
2.2 Diurnal subperiodic type
พยาธิสภาพ (Pathology)
- ผู้ป่วยจะเกิดพยาธิสภาพบริเวณ
ต่ อมนา้ เหลือง และท่ อทางเดินนา้ เหลือง
- มีอาการบวมแดงของผิวหนัง
- มีไข้ อุณหภูมิ ประมาณ 38 – 40 oC
- หนาวสั่ น (Filaria fever)
- การอักเสบเกิดเนื่องจาก
1. เกิดการระคายเคือง
- พยาธิตาย สลายตัวให้ สารพิษ
- ติดเชื้อ bacteria
2. เกิดการอุดตันของระบบนา้ เหลือง
- เกิดจากพยาธิโดยตรง
- ผนังท่ อนา้ เหลืองหนา
- เกิดพังพืด
อาการ (Sign and Symptom)
1. พบเชื้อในกระแสเลือด ยังไม่ ปรากฏอาการ
2. เริ่มมีอาการ
3. มีอาการบวมโตของอวัยวะต่ างๆ
การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis)
1. ตรวจหาระยะตัวอ่อน Microfilaria ใน
กระแสเลือด
2. ตรวจทางอิมมูนวิทยา
การรักษา (Treatment)
- ใช้ ยา Diethycabamazine citrate (DEC)
การควบคุมและป้ องกัน
(Control and Prevention)
1. ป้ องกันยุงพาหะกัด
Brugia malayi พบว่ ายุงทีเ่ ป็ นพาหะ คือ
Mansonia sp. Anopheles sp.
Wuchereria bancrofti พบว่ ายุงพาหะ คือ
Aedes sp. Culex sp.
2. ทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
3. ให้ ความรู้ แก่ประชาชน
4. รักษาผู้ป่วยให้ หายเพื่อกาจัดวงชีวติ
ของปรสิ ต
Microfilaria of Wuchereria bancrofti (Sun, 1988)
Microfilaria of Wuchereria bancrofti
(Radomyos et al., 1997)
Bancroftian filariasis (Radomyos et al., 1997)
Elephantiasis(Bancroftian filariasis) ( Sun, 1988)
Microfilaria of Brugia malayi (Sun, 1988)
Microfilaria of Brugia malayi
(Radomyos et al., 1997)
(Radomyos et al., 1997)