Conflict ความขัดแย้ ง ความขัดแย้งคืออะไร ? • ความขัดแย้ งเกิดขึน้ ได้ เมื่อมีความคิดเห็นทีไ่ ม่ ลงรอยกัน ด้ วยเรื่องใน เชิงเนือ้ หาสาระหรือเชิงอารมณ์ ซึ่งก่อให้ เกิดการกระทบกระทั่งกันได้ ระหว่ างบุคคลหรือกลุ่ม.

Download Report

Transcript Conflict ความขัดแย้ ง ความขัดแย้งคืออะไร ? • ความขัดแย้ งเกิดขึน้ ได้ เมื่อมีความคิดเห็นทีไ่ ม่ ลงรอยกัน ด้ วยเรื่องใน เชิงเนือ้ หาสาระหรือเชิงอารมณ์ ซึ่งก่อให้ เกิดการกระทบกระทั่งกันได้ ระหว่ างบุคคลหรือกลุ่ม.

Conflict
ความขัดแย้ ง
ความขัดแย้งคืออะไร ?
• ความขัดแย้ งเกิดขึน้ ได้ เมื่อมีความคิดเห็นทีไ่ ม่ ลงรอยกัน ด้ วยเรื่องใน
เชิงเนือ้ หาสาระหรือเชิงอารมณ์ ซึ่งก่อให้ เกิดการกระทบกระทั่งกันได้
ระหว่ างบุคคลหรือกลุ่ม
ความหมายของความขัดแย้ ง
คือ ความไม่ลงรอยกัน หรือสภาวะทีไ่ ม่เห็นพ้องต้องกัน
หรือความเป็ นปฏิปักษ์กนั ระหว่างบุคคล หรือกลุ่มบุคคล
ตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้ นไป โดยมีสาเหตุมาจากวัตถุประสงค์
ทีไ่ ม่สามารถเข้ากันได้ ความไม่ลงรอยกัน ทางด้าน
ความต้องการ ความปรารถนา ค่านิยม ความเชื่อ
และหรือทัศนคติ ( Catherine Morris , 2004:12)
Log
ความหมายของความขัดแย้ ง (ต่อ)
คือ เรือ่ งของความไม่ลงรอยกัน ความตรงกันข้ามกัน
หรือการต่อสู่ระหว่าง 2 ฝ่ ายขึ้ นไป ซึ่งเกิดขึ้ นจาก
ความไม่เท่าเทียมกัน ทางอิทธิพล และรวมถึง
ความแตกต่าง ทางอานาจของแต่ละฝ่ าย
( Gordon, 2002:298)
Log
ความหมายของความขัดแย้ ง (ต่อ)
คือ การต่อสูก้ นั หรือแข่งขันระหว่างความคิดความสนใจ
หรือผลประโยชน์ มุมมอง หรือรสนิยม ค่านิยม แนวทาง
ความชอบ อานาจ สถานการณ์ ทรัพยากร ฯลฯ
ความขัดแย้ง อาจเกิดขึ้ นในตัวใคร คนใดคนหนึง่
หรือ ขัดแย้งกับคนอื่น หรือ ระหว่างคนใดคนหนึง่
กับกลุ่มใดกลุ่มหนึง่ หรือหลายๆ กลุ่ม
(
Log
วันชัย วัฒนศัพท์, 2545 : 1)
Type of Conflict
• substantive conflict-ความขัดแย้ งด้ านเนือ้ หา / ความสาเร็ จในงานที่
ไม่พอใจในกระบวนการ หรื อไม่ยอมรับ
• emotion conflict-ความขัดแย้ งด้ านอารมณ์
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความขัดแย้ ง
1. มุมมอสงแบบดั้งเดิม (The Traditional View)
- ความขัดแย้งเป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งการหลีกเลีย่ ง
2. มุมมองแบบมนุษย์สมั พันธ์ (The Human Relation View)
- ความขัดแย้งเป็ นเรือ่ งธรรมชาติ และยากทีจ่ ะหลีกเลีย่ ง
- ความขัดแย้งไม่ใช่เรือ่ งเลวร้ายเสมอไป สามารถกาหนดแนวทางในการ
แสดงออกได้
3. มุมมองแบบร่วมสมัย (The Integrationist View)
- ความขัดแย้งทาให้เกิดผลดีต่อกลุ่ม เพราะเป็ นตัวบังคับให้เกิด
ประสิทธิภาพ
- ความขัดแย้ง Conflict คล้ายคลึงกับ การแข่งขัน
Competition
- ความขัดแย้งเป็ นส่วนหนึง่ ของชีวิตองค์การ
- ความขัดแย้ง สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ลักษณะของความขัดแย้ ง
1. ความขัดแย้ งที่สร้ างสรรค์ (Functional Conflict)
การเผชิญหน้าระหว่างกลุ่ม หรือสมาชิกในองค์การ เพือ่ สร้าง
ประโยชน์หรือผลเชิงบวก ให้แก่องค์กรหรือคนในองค์กร
แต่ต่างวิธีการ หรือ ต่างความคิด
2. ความขัดแย้ งที่ไม่สร้ างสรรค์ (Dysfunctional Conflict)
การเผชิญหน้าระหว่างกลุ่ม หรือสมาชิกในองค์กร เพือ่ สร้าง
ผลเสีย หรือผลกระทบในเชิงลบให้แก่บุคลากรกลุ่ม หรือองค์กร
เกิดความ เกลียดชัง หรือเป็ นปรปั กษ์
Levels of Conflict
ระดับของความขัดแย้ ง
• Interpersonal conflict
• Intrapersonal conflict
• Inter group conflict
• Inter organizational conflict
ความขัดแย้ งระหว่างบุคคล
ความขัดแย้ งภายในบุคคล ความขัดแย้ งระหว่างกลุ่ม
ความขัดแย้ งระหว่างองค์กร
สาเหตุของความขัดแย้ง
• ความขัดแย้ งในแนวดิง่ (Vertical Conflict)
• ความขัดแย้ งในแนวนอน (Horizontal
Conflict)
• ความขัดแย้ งในสายงาน (Line-Staff Conflict)
• ความขัดแย้ งในบทบาท (Role Conflict)
สาเหตุของความขัดแย้ง
• การพึง่ พากันระหว่ างสายงาน
(Workflow Interdependencies)
• ความคลุมเครือในกลุ่มงาน
(Domain Ambiguities)
• ความไม่ สมมาตรของอานาจหรือคุณค่ าในสั มพันธภาพ
การทางาน (Power or Value Asymmetries)
Functional Conflict & Dysfunctional
Conflict
ความขัดแย้ งด้ านบวกและด้ านลบ
• ความขัดแย้ งด้ านบวก
• ความขัดแย้ งด้ านลบ
Functional Conflict
เป็ นหน้ าทีข่ องผู้นาทีจ่ ะต้ องสร้ างความขัดแย้ งในลักษณะทีเ่ ป็ นบวก
(Functional Conflict) เพือ่ เป็ นการกระตุ้นการตรวจสอบ และเพิม่ มุมมอง
ของการทางาน เนื่องจากผู้ร่วมงานแต่ ละคน เก่งคนละด้ าน คิดคนละแบบทา
ให้ บ้ างท่ านจะมองเห็นถึงจุดบอด หรือ อุปสรรคที่ ผู้บริหารมองไม่ เห็น
• ผู้นาดังกล่ าวต้ องมีวิธีทจี่ ะดึงทุกคน
ออกมาจาก Comfort Zone
แล้วนาสู่ การเจรจา ผูน้ าจะต้องให้ทุกคน
ยึดกฎแห่งการประชุมอันหนึ่ งที่เรี ยกกัน
ว่า Cabinet Rule ที่จะต้อง
ยอมรับและปฏิบตั ิตามมติของทีมอย่าง
เคร่ งครัด และไม่นาไปวิพากษ์วจิ ารณ์
อย่างไม่เห็นด้วยหลังการประชุม
Dysfunctional Conflict
ความขัดแย้ งในเรื่องส่ วนตัว หรือการชิงดีชิงเด่ น กันในเรื่องตาแหน่ งหน้ าที่
การงาน เกิดเป็ นความขัดแย้ งในเชิงลบ แล้วจะทาความเสี ยหายให้ กบั องค์ กร
มากกว่ าผลดี
ผู้นาจาต้ องหาหนทางทีจ่ ะต้ อง
ขจัดความขัดแย้ งดังกล่าวให้ เร็ว
ทีส่ ุ ด
Conflict Management
การบริหารความขัดแย้ ง
1. Stages of Conflict/ขั้นของความขัดแย้ ง
ไม่ สะดวก สบาย ความขับข้ องใจ
รายละเอียดของปัญหา เหตุการณ์
ความเข้ าใจคลาดเคลือ่ น
ตึงเครียด
Conflict Management
ผลประโยชน์
ร่ วมมือกัน
การแข่ งขัน
ประนีประนอม
ไม่ ได้ ผลประโยชน์
หลีกเลียง
ปรองดอง เหมาะสม
การร่ วมมือ
สร้ างสันติภาพ
การฑูต
ใช้ กฎบังคับ
รักษาสันติภาพ
เลือ่ น เหตุ แห่ งความขัดแย้ ง
การป้ องกัน
ลักษณะของความขัดแย้ ง
บวก
เป็ น
ธรรมชาติ
ลบ
ระดับที่
เหมาะสม
ระดับที่
ก่อให้เกิดผลเสีย
Model by ชั ยเสฎฐ์
พรหมศรี , 2550)
Indirect Conflict Management
Strategies
กลยุทธ์ การบริหารความขัดแย้ งทางอ้ อม
• การลดการพึง่ พาอาศัยกัน
(Reduced Interdependencies)
• การดึงดูดเข้ าสู่ เป้าหมายร่ วม
(Appeals to Common Goals)
• สายการบังคับบัญชา (Hierarchical Referral)
• การปรับเปลีย่ นโดยใช้ เรื่องเล่าและงานเขียน
(Altering Scripts and Myths)
การลดการพึ่งพาอาศัยกัน
• การจับแยก
(Decoupling)
• การใช้ เกราะกันชน
(Buffering)
• การใช้ หมุดเชื่อมโยง
(Linking-Pin Roles)
ความขัดแย้งแบบแพ้ท้ งั คู่
(Lose-Lose Conflict)
• การหลีกเลีย่ ง (Avoidance)
• การปรองดองหรือความราบรื่น
(Accommodation or
Smoothing)
• การประนีประนอม
(Compromise)
ความขัดแย้งแบบชนะ-แพ้ (Win-Lose
Conflict)
• การแข่ งขัน
(Competition)
• การใช้ อานาจสั่ งการ
(Authoritative Command)
ความขัดแย้งแบบชนะทั้งคู่
(Win-Win Conflict)
• การให้ ความร่ วมมือ
(Collaboration)
• การแก้ ไขปัญหา
(Problem Solving)
Direct Conflict Management
Strategies
กลยุทธ์ การบริหารความขัดแย้ งโดยตรง
•กลยุทธ์ แพ้ -แพ้
•กลยุทธ์ ชนะ-แพ้
•กลยุทธ์ ชนะ-ชนะ
•กระบวนการ
•ที่มา ประเภท
สร้ างสรร
ผลลัพธ์
เป็ นภัย
การบริหารความขัดแย้ ง
แก้ไขทันที่
หลีกให้
ยืนยัน
ประเด็นของความขัดแย้ ง
เผชิญหน้ า
ข้ อตกลง ฉุกเฉิน
END
ผลประโยชน์