บทที่ 4.2 ลิมิตและความต่อเนื่อง(ทฤษฎีบทลิมิต)

Download Report

Transcript บทที่ 4.2 ลิมิตและความต่อเนื่อง(ทฤษฎีบทลิมิต)

Slide 1

(Limit Theorem)


Slide 2

ทฤษฎีบทลิมิตจะช่วยในการคานวณค่าลิมิตของฟังก์ชนั
ได้เร็ วขึ้น ทฤษฎีบทลิมิตของฟังก์ชนั มีผลลัพธ์คล้ายกับทฤษฎี
บทลิมิตของลาดับ ที่กล่าวมาในบทที่ 3 ในการพิสูจน์สามารถ
ทาได้โดยใช้นิยามลิมิต ทฤษฎีบท 4.1.2 หรื อ ผลที่ได้จาก
หัวข้อ 3.4


Slide 3

ทฤษฎีบท 4.2.1 ให้ f, g : D มี x0 เป็ นจุดลิมิตของ D, f
และ g มีลิมิตที่ x0 แล้ว
(1) f+g มีลิมิตที่ x0 และ
(2) fg มีลิมิตที่ x0 และ

lim f(x) + lim g(x)
(
f+g
)(x)
=
x x
x x
x x

lim

0

0

0

lim f(x) ][ lim g(x) ]
(
fg
)(x)
=
[
x x
x x
x x
lim

0

0

0

f
g(x)

0
แล้

(3) ถ้า g(x)  0 สาหรับ xD และ xlim
g
 x0
มีลิมิตที่ x0 และ
lim f ( x )
x

x0
f
lim ( g ) =
lim g ( x )
x x
0

x x0


Slide 4

การพิสูจน์
(1)เนื่องจาก f, g มีลิมิตที่ x0

{
x
}
ให้ n n  1 เป็ นลาดับใดๆที่ล่เู ข้าสู่ x0 โดยที่ xn x0 ทุกๆ n

{
f
(
x
)}
โดยทฤษฎีบท 4.1.2 ทาให้ n n  1 เป็ นลาดับลู่เข้าสู่ xlim
 x 0 f(x)

{
g
(
x
)}
g(x)
และ n n  1 เป็ นลาดับลู่เข้าสู่ xlim
x
0

โดยทฤษฎีบท 3.4.1 {( f  g )( x n )} n  1 เป็ นลาดับลู่เข้า และ
lim ( f+g )(x) = lim f(x) + lim g(x)
n 
n 
n 
lim g(x)
=xlim
f(x)
+
x x
x
0

0


Slide 5

นัน่ คือ ฟังก์ชนั f + g มีลิมิตที่ x0 และ
lim ( f+g )(x) = lim f(x) + lim g(x)
x x
x x
x x
0

0

0

ต่อไปจะแสดงว่า fg มีลิมิตที่ x0 และ gf มีลิมิตที่ x0 โดยใช้นิยาม 4.1.1
กาหนดให้

f(x)
=
A,
x x
lim

0

lim

g(x) = B

x x0

(2) ให้  > 0
จะหา  > 0 ที่ ถ้า 0 < | x – x0| <  ทาให้ | ( fg )(x) – AB | < 
f มีลิมิตที่ x0 โดยทฤษฎีบท 4.1.4 จะมี M > 0 และ 1 > 0 ซึ่ ง
0 < | x – x0| < 1 , xD แล้ว | f(x) |  M


Slide 6

ให้  =


| B | M

ดังนั้น  > 0

จะมี 2 ซึ่ง 0 < | x – x0| < 2, xD ทาให้ | f(x) – A | < 
g ต่อเนื่องที่ x0
จะมี 3 ซึ่ง 0 < | x – x0| < 3, xD ทาให้ | g(x) – B | < 
เลือก  = min {1, 2, 3}


Slide 7

ถ้า 0 < | x – x0| <  แล้วทาให้
| ( fg )(x) – AB | = | f(x)g(x) – AB + f(x)B – f(x)B |
 | f(x)g(x) – f(x)B | + | f(x)B – AB |
= | f(x) || g(x) – B | + | B || f(x) – A |
< M + | B |
= ( M + | B | ) 
ดังนั้น | ( fg )(x) – AB | < 
lim f(x) ][ lim g(x) ]
ฟังก์ชนั fg มีลิมิตที่ x0 และ xlim
(
fg
)(x)
=
[
x
x x
x x
0

0

0


Slide 8

(3) ให้  > 0 , B  0 และ g(x)  0, xD
f
จะหา  > 0 ที่ ถ้า 0 < | x – x0| <  จะทาให้ | ( g )(x) – AB | < 
เนื่องจาก g มีลิมิตที่ x0 และ | B2 | > 0 จะมี 1 > 0
ซึ่งถ้า 0 < | x – x0| < 1
ทาให้

| g(x) – B | < | B2 |
| | g(x) | - | B | | <
|B|
2

|B|
2

< | g(x) | < 3 | B2 |


Slide 9

กรณี ที่ A2  0
ให้  = 4B| A | จะมี 2 > 0 ซึ่ง 0 < | x – x0| < 2 , xD ทาให้
| g(x) – B | < 
ให้  = | B4|  จะมี 3 > 0 ซึ่ง 0 < | x – x0| < 3 , xD ทาให้
| f(x) – A | < 


Slide 10

เลือก  = min {1, 2, 3} ที่ ถ้า 0 < | x – x0| <  แล้วทาให้
( gf )( x )  AB

=

Bf ( x )  Ag ( x )  AB  AB
Bg ( x )



Bf ( x )  AB
Bg ( x )

+

Ag ( x )  AB
Bg ( x )

| f(x)  A |
| A || g ( x )  B |
= | g ( x ) | + | B || g ( x ) |

2
|
A
|



2
< |B| +
=
2
|B|


Slide 11

f
ดังนั้น | ( g )(x) – AB | < 

กรณี ที่ A = 0
จะมี 0 > 0 ซึ่ง 0 < | x – x0 | < 0 ทาให้ | f(x) | <

2
|B|

เลือก  = min {1, 0}
f(x)
f
(
x
)
A
ถ้า 0 < | x – x0 | <  แล้ว g ( x )  B = g ( x ) < 
lim f ( x )

x x0
f
f
lim
ฟังก์ชนั g มีลิมิตที่ x0 และ x  x ( g )(x) = lim g ( x )
0
x x
0

g(x)  0 และ g(x)  0 , xD
เมื่อ xlim
x
0




Slide 12

ทฤษฎีบท 4.2.3 ให้ f : D และ g : D x0 เป็ นจุดลิมิต
ของ D f, g มีลิมิตที่ x0 ถ้า f(x)  g(x) ทุกๆ xD แล้ว
lim f(x)  lim g(x)
x x0
x x
0

การพิสูจน์ เนื่องจาก f, g มีลิมิตที่ x0

 ลู่เข้าสู่
สาหรับ { x n } n  1 ใดๆที่ล่เู ข้าสู่ x0 ทาให้ลาดับ { f ( x n )} n  1
lim f(x) และลาดับ { g ( x n )} 
lim g(x)


ลู

ข้

สู
n

1
x x
x x
0

0


Slide 13

แต่ f(x)  g(x) ทุกๆ xD ทาให้ f(xn)  g(xn) ทุกๆ n
lim g(xn)
โดยบทแทรก 3.4.4 xlim
f(x
)

n
x
x x
0

f(x) 
นัน่ คือ xlim
 x0

0

g(x)
x x
lim

0




Slide 14

ทฤษฎีบท 4.2.4 ให้ f : D และ g : D , x0 เป็ น
จุดลิมิตของ D ถ้า f มีขอบเขตบนเซต Q ซึ่งเป็ นย่านของจุด
x0 และ g มีลิมิตเท่ากับ 0 ที่จุด x0 แล้ว fg มีลิมิตที่ x0 และ
lim (fg)(x) = 0
x x
0

การพิสูจน์
ให้  > 0 จะหา  > 0 ที่ ถ้า 0 < | x – x0 | <  แล้ว |
(fg)(x) | < 


Slide 15

เนื่องจาก f มีขอบเขตบน Q ซึ่งเป็ นย่านจุด x0 ดังนั้นจะมี
1 > 0 และ M > 0
ที่ | x – x0 | < 1, xD ทาให้ | f(x) |  M
เนื่องจาก g มีลิมิตที่ x0
ให้  = M > 0 จะมี 2 > 0 ที่ 0 < | x – x0 | < 2 ทาให้
| g(x) – 0 | < | g(x) | < 
เลือก  = min {1, 2}


Slide 16

ถ้า 0 < | x – x0 | <  และ xD ทาให้
| (fg)(x) | = | f(x)g(x) |
= | f(x) || g(x) |
< M = 
(fg)(x) = 0
นัน่ คือ fg มีลิมิตที่ x0 และ xlim
x
0