Transcript ลิมิตของฟังก์ 1880 Kb 03/11/14
Slide 1
By Proof หนุ่มเลขน่ ารั ก
ลิมิตของฟังก์ ชัน
Slide 2
ลิมิตของฟังก์ ชัน
2.1 สมบัติของลิมิต
การคานวณหาลิมิตโดยใช้กราฟ เป็ นสิ่ งที่ดีในด้านการให้ผเู ้ รี ยนเห็น
แนวคิดของลิมิตได้แจ่มชัดว่าลิมิตของฟังก์ชนั เป็ นอย่างไร อย่างไรก็ตาม
การหาลิมิตจากกราฟ อาจทาให้ได้คาตอบที่คลาดเคลื่อนไปจากความเป็ น
จริ งได้
วิธีการหาลิมิตที่จะกล่าวในหัวข้อนี้ เป็ นวิธีการหาลิมิตของฟังก์ชนั โดย
การใช้กฎ หรื อสมบัติต่างๆ ของลิมิตเข้าช่วยหาลิมิตโดยไม่ตอ้ งเขียนกราฟ
ทั้งที่หาลิมิตได้และหาลิมิตไม่ได้
Slide 3
ขอเริ่ มด้วยการใช้กฎของการคานวณหาลิมิตของฟังก์ชนั พื้นฐาน
จานวน 2 ฟังก์ชนั คือ
f(x) = k
เมื่อ k เป็ นค่าคงตัว
และ f(x) = x
ซึ่งทั้งสองฟังก์ชนั ให้กราฟเป็ นเส้นตรง ดังรู ป 2.1 (1) และ (2)
ทั้งนี้ เพื่อนาไปสู่การคานวณหา ลิมิตของฟังก์ชนั ที่ซบั ซ้อนขึ้น
k
(1)
รู ป 2.1
(2)
Slide 4
ตารางทีจ่ ะแสดงต่ อไปนี้ เป็ นกฎพืน้ ฐานสาหรับคานวณหาลิมิตฟังก์ชันทั้ง
สอง รวมทั้งหมด 6 ข้ อพร้ อมทั้งตัวอย่ าง และการแสดงทีม่ าของกฎโดยการ
ใช้ กราฟของฟังก์ชัน เมื่อกาหนดให้ a และ k ทีเ่ ป็ นค่ าคงตัว
เมือ่
ลิมิต
ตัวอย่าง
xa
x
x
lim k k
x a
lim k k
x
lim
lim 5 5
x1
lim 5 5
x
kk
x
รู ป 2.2
lim 5 5
x
Slide 5
เมือ่
xa
x
x
(a)
ลิมิต
ตัวอย่าง
lim x a
lim x 4
x a
lim x
x
lim
x
x
(b)
รู ป 2.3
x 4
ดูรูป 2.3 (b)
ดูรูป 2.3 (c)
(c)
Slide 6
จากกราฟของฟังก์ชนั ที่กาหนดให้ จะได้ทฤษฎีบทที่จะกล่าวต่อไปนี้
ซึ่งเป็ นสมบัติพ้นื ฐานของลิมิตที่สามารถเห็นได้ชดั เจนจากกราฟ
นอกเหนือไปจากกฎพื้นฐาน 6 ข้อ ที่กล่าวในทฤษฎีบท 2.11 แล้ว
เราสามารถคานวณหาลิมิตของฟังก์ชนั ที่มีรูปที่ซบั ซ้อนมากขึ้นได้
ทฤษฎีบท 2.1.1 ถ้า f(x) = k เมื่อ k เป็ นค่าคงตัว จะได้วา่
(1) lim k k
x a
(2)
(3)
lim k k
x
lim
x
kk
Slide 7
ทฤษฎีบท 2.1.2 ถ้า f(x) = x จะได้วา่
(1) lim x a
x a
(2)
(3)
lim x
x
lim
x
x
Slide 8
เพื่อความสะดวกต่อจากนี้ไป ขอทาความตกลงว่าสัญลักษณ์ของลิมิต
ที่เขียนว่า lim f(x) ขอให้หมายถึงว่ามีความหมายเป็ นอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
ใน 5 อย่างต่อไปนี้
lim f ( x )
x a
lim f ( x )
x a
lim f ( x )
x
lim f ( x )
x a
lim
x
f (x )
Slide 9
ทฤษฎีบท 2.1.3
ถ้า lim f(x) = L1 และ lim g(x) = L2 เมื่อ L1 , L2 เป็ นจานวนจริ ง แล้ว
1. lim f(x) g(x) lim f ( x ) lim g ( x ) L 1 L 2
2. lim f(x) g(x) lim f ( x ) lim g ( x ) L 1 L 2
3. lim f(x) g(x) lim f ( x ) g ( x ) L 1 L 2
4.
lim
5. lim n
f(x)
g(x)
lim f ( x )
lim g ( x )
L1
L2
เมือ่ L 2 0
f(x) n lim f ( x ) n L 1
โดยที่ L 1 0 เมือ่ n เป็ นจานวนค ูู ู่
Slide 10
สมบัติของลิมิตทั้งห้าข้อในทฤษฎีบท 2.1.3 หากกล่าวเป็ นคาพูด
อาจกล่าวได้วา่
1.ลิมิตของผลบวกเท่ากับผลบวกของลิมิต
2.ลิมิตของผลต่างเท่ากับผลต่างของลิมิต
3.ลิมิตของผลคูณเท่ากับผลคูณของลิมิต
4.ลิมิตของผลหารเท่ากับผลหารของลิมิต เมื่อลิมิตของตัวหารไม่เท่ากับศูนย์
5. ลิมิตของรากที่ n เท่ากับรากที่ n ของลิมิต
หมายเหตุ การใช้สมบัติของลิมิตในทฤษฎีบท 2.1.3
เราจะต้องแน่ใจเสี ยก่อนว่า lim f(x) และ g(x)หาค่าได้
Slide 11
สมบัติของ 1 และ 3 ในทฤษฎีบท 2.2.1 นอกจากจะใช้ได้สาหรับ
สองฟังก์ชนั แล้ว ยังใช้ได้สาหรับฟังก์ชนั จานวนจากัดด้วย กล่าวคือ
ทฤษฎีบท 2.1.4
ถ้า lim f1(x) = L1 , lim f2(x) = L2 ,…, lim fn(x) = Ln แล้ว
limf1(x) + f2(x) +… + fn(x) = lim f1(x) + lim f2(x) + … + lim fn(x)
= L1 + L2 + … + Ln
ทฤษฎีบท 2.1.5
limf1(x) f2(x)…fn(x) = lim f1(x)lim f2(x) … lim fn(x) = L1L2...Ln
Slide 12
ในกรณี ที่เป็ นผลคูณของฟังก์ชนั เดียวกันทั้ง n ฟังก์ชนั ทบ.2.1.5
อาจกล่าวใหม่ได้วา่
n
n
lim
f(x)
lim
f
(
x
)
ทฤษฎีบท 2.1.6
เมื่อ lim f(x) หาค่าได้ และ n เป็ นจานวนเต็มบวก
และในกรณี ที่ f(x) = x และ a เป็ นค่าคงตัว จาก ทบ. 2.1.2 เราทราบแล้วว่า
lim f(x) a
x a
ดังนั้น ถ้า n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้วโดยอาศัย ทบ.2.1.6 และ ทบ.2.1.7 ดังนี้
n
n
ทฤษฎีบท 2.1.7 lim x a
x a
เมื่อ a เป็ นค่าคงตัว และ n เป็ นจานวนเต็มบวก
Slide 13
ทฤษฎีบท 2.1.8 lim
n
xn a
x a
เมื่อ a เป็ นค่าคงตัว n เป็ นจานวนเต็มบวก และในกรณี ที่ n เป็ นจานวนคู่
a จะต้องเป็ นจานวนจริ งบวกหรื อศูนย์
ในกรณี ที่ k เป็ นค่าคงตัว จาก ทบ.2.1.1 จะได้วา่ lim k = k
ดังนั้น ถ้า lim f(x) หาค่าได้แล้ว จากสมบัติของลิมิต ทบ.2.1.3 จะได้วา่
lim k f(x) = k lim f(x)
ทฤษฎีบท 2.1.9 lim k f(x) = k lim f(x) เมื่อ k เป็ นค่าคงตัว
และ lim f(x) หาค่าได้
Slide 14
ต่อจากนี้ไป จะเป็ นตัวอย่างการนากฎพื้นฐานและสมบัติต่างๆ
ของลิมิต มาช่วยการคานวณหาลิมิตของฟังก์ชนั โดยไม่ตอ้ งเขียนกราฟ
2
ตัวอย่ างที่ 1 จงหา lim (x 5x 4)
x 2
วิธีทา
เนื่องจาก
2
2
lim x 2 4
x 2
lim 5 x 5 ( 2 ) 10
x 2
และ
lim 4 4
x 2
(ทบ. 2.1.7)
(ทบ. 2.1.9)
(ทบ. 2.1.1)
Slide 15
ดังนั้น จากทฤษฎีบท 2.1.3 ข้อ (1) และ (2) จะได้วา่
2
2
lim (x 5x 4) lim x lim 5 x lim 4
x 2
x 2
x 2
4 10 4
2
ดังนั้น
2
lim (x 5x 4) -2
x 2
x 2
Slide 16
2.2 ลิมิตของฟังก์ชันพหุนาม
2.2.2 ลิมติ ของฟังก์ ชันพหุนามในขณะที่ x a
จากตัวอย่างที่ 1 จะพบว่าฟังก์ชนั
2
f (x) x 5x 4
x 2 เป็ นฟังก์ชนั พหุ นาม และค่าลิมิตที่ได้
ที่นามาหาลิมิต เมื่อ
จะเท่ากับ f(2) = 22 – 5(2) + 4 = -2
ซึ่งเรื่ องนี้ไม่ใช่เรื่ องบังเอิญเท่านั้น แต่จะเป็ นจริ งสาหรับทุกๆ
ฟังก์ชนั ที่เป็ นฟังก์ชนั พหุนามดังทฤษฎีบทที่จะกล่าวต่อไปนี้
Slide 17
ทฤษฎีบท 2.2.1 กาหนดฟังก์ชนั พหุนามใดๆ
p(x) = c0 + c1x +c2x2 +…+cnxn
และ a เป็ นจานวนจริ งใดๆ จะได้วา่
lim p ( x )
x a
p(x) = c0 + c1x +c2x2 +…+cnxn
ผลจากทฤษฎี 2.2.1 จะทาให้การคานวณหาลิมิตของฟังก์ชนั
พหุนามสะดวกและง่ายขึ้น กล่าวคือ ถ้าต้องการหาลิมิตของฟังก์ชนั
พหุนามในขณะที่ x a เมื่อ a เป็ นจานวนจริ ง แล้วเราเพียงแต่นา a
ไปแทนค่าตัวแปรในฟังก์ชนั ดังตัวอย่างต่อไปนี้
Slide 18
ตัวอย่ างที่ 2
2
1 ) lim ( 3 x 6 x 1 )
x 4
2
3
2 ) lim ( 4 x 8 x 5 x )
x 1
3
5
3 ) lim ( 8 x 7 x 6 x 3 )
x 0
ตัวอย่ างที่ 3 จงหา
3
lim
x 2
2
2x 3x 5
2
x 4x 5
Slide 19
2.2.2 ลิมิตของฟังก์ชนั พหุนามในขณะที่ x หรื อ x
ต่อไปเราจะหาหลักการหาลิมิตของพหุนามในขณะที่ x
หรื อ x
โดยจะเริ่ มจากการหาลิมิตของพหุนาม f(x) = xn เมื่อ n = 1,2,3,…
เช่นฟังก์ชนั พหุนาม
f(x)=x , f(x) = x2, f(x) = x3, f(x) = x4
ชื่อมีกราฟดังรู ป 2.1 ผลที่ได้จากกราฟทั้งสี่ เป็ นกรณี เฉพาะของ
กรณี ทวั่ ไป ดังต่อไปนี้
Slide 20
ทฤษฎีบท 2.2.2 ถ้า f(x) = xn เมื่อ n = 1,2,3,… แล้วจะได้วา่
n
1 ) lim x เมือ่ n 1 , 2 , 3 ,...
x
2)
lim
x
lim x
x
lim x
x
เมือ่ n 2 , 4 , 6 ,...
n
x
เมื
อ
่
n
1
,
3
,
5
,...
2
lim x
x
lim
x
2
x
3
lim x
x
3
lim x
x
4
lim x
x
4
lim x
x
Slide 21
ในกรณี ที่มีค่าคงตัวคูณกับ xn ถ้าค่าคงตัวนั้นเป็ นจานวนบวก
จะไม่มีผลต่อลิมิต ทบ.2.2.2 ข้อ ( 1 ) และ ( 2 )
ดังกล่าวแต่ถา้ ตัวคงตัวเป็ นจานวนลบ จะมีผลโดยต้องเปลี่ยน
เครื่ องหมายของลิมิตที่ได้ใน ทบ.2.2.2 ข้อ ( 1 ) และ ( 2 ) ดัง ทบ. ต่อไปนี้
ทฤษฎีบท 2.2.3 ถ้า f(x) = xn เมื่อ c เป็ นค่าคงตัว แล้วจะได้วา่
n
1 ) lim cx เมือ่ c 0 และ n 1 , 2 , 3 ,...
x
n
2 ) lim cx เมือ่ c 0 และ n 1 , 2 , 3 ,...
x
Slide 22
ทฤษฎีบท 2.2.4 ถ้า f(x) = xn เมื่อ c เป็ นค่าคงตัว แล้วจะได้วา่
1)
lim
x
2)
lim
x
เมือ่ n 2 , 4 , 6 ,...; c 0
n
cx
เมือ่ n 1 , 3 , 5 ,...; c 0
เมือ่ n 2 , 4 , 6 ,...; c 0
n
cx
เมื
อ
่
n
1
,
3
,
5
,...;
c
0
By Proof หนุ่มเลขน่ ารั ก
ลิมิตของฟังก์ ชัน
Slide 2
ลิมิตของฟังก์ ชัน
2.1 สมบัติของลิมิต
การคานวณหาลิมิตโดยใช้กราฟ เป็ นสิ่ งที่ดีในด้านการให้ผเู ้ รี ยนเห็น
แนวคิดของลิมิตได้แจ่มชัดว่าลิมิตของฟังก์ชนั เป็ นอย่างไร อย่างไรก็ตาม
การหาลิมิตจากกราฟ อาจทาให้ได้คาตอบที่คลาดเคลื่อนไปจากความเป็ น
จริ งได้
วิธีการหาลิมิตที่จะกล่าวในหัวข้อนี้ เป็ นวิธีการหาลิมิตของฟังก์ชนั โดย
การใช้กฎ หรื อสมบัติต่างๆ ของลิมิตเข้าช่วยหาลิมิตโดยไม่ตอ้ งเขียนกราฟ
ทั้งที่หาลิมิตได้และหาลิมิตไม่ได้
Slide 3
ขอเริ่ มด้วยการใช้กฎของการคานวณหาลิมิตของฟังก์ชนั พื้นฐาน
จานวน 2 ฟังก์ชนั คือ
f(x) = k
เมื่อ k เป็ นค่าคงตัว
และ f(x) = x
ซึ่งทั้งสองฟังก์ชนั ให้กราฟเป็ นเส้นตรง ดังรู ป 2.1 (1) และ (2)
ทั้งนี้ เพื่อนาไปสู่การคานวณหา ลิมิตของฟังก์ชนั ที่ซบั ซ้อนขึ้น
k
(1)
รู ป 2.1
(2)
Slide 4
ตารางทีจ่ ะแสดงต่ อไปนี้ เป็ นกฎพืน้ ฐานสาหรับคานวณหาลิมิตฟังก์ชันทั้ง
สอง รวมทั้งหมด 6 ข้ อพร้ อมทั้งตัวอย่ าง และการแสดงทีม่ าของกฎโดยการ
ใช้ กราฟของฟังก์ชัน เมื่อกาหนดให้ a และ k ทีเ่ ป็ นค่ าคงตัว
เมือ่
ลิมิต
ตัวอย่าง
xa
x
x
lim k k
x a
lim k k
x
lim
lim 5 5
x1
lim 5 5
x
kk
x
รู ป 2.2
lim 5 5
x
Slide 5
เมือ่
xa
x
x
(a)
ลิมิต
ตัวอย่าง
lim x a
lim x 4
x a
lim x
x
lim
x
x
(b)
รู ป 2.3
x 4
ดูรูป 2.3 (b)
ดูรูป 2.3 (c)
(c)
Slide 6
จากกราฟของฟังก์ชนั ที่กาหนดให้ จะได้ทฤษฎีบทที่จะกล่าวต่อไปนี้
ซึ่งเป็ นสมบัติพ้นื ฐานของลิมิตที่สามารถเห็นได้ชดั เจนจากกราฟ
นอกเหนือไปจากกฎพื้นฐาน 6 ข้อ ที่กล่าวในทฤษฎีบท 2.11 แล้ว
เราสามารถคานวณหาลิมิตของฟังก์ชนั ที่มีรูปที่ซบั ซ้อนมากขึ้นได้
ทฤษฎีบท 2.1.1 ถ้า f(x) = k เมื่อ k เป็ นค่าคงตัว จะได้วา่
(1) lim k k
x a
(2)
(3)
lim k k
x
lim
x
kk
Slide 7
ทฤษฎีบท 2.1.2 ถ้า f(x) = x จะได้วา่
(1) lim x a
x a
(2)
(3)
lim x
x
lim
x
x
Slide 8
เพื่อความสะดวกต่อจากนี้ไป ขอทาความตกลงว่าสัญลักษณ์ของลิมิต
ที่เขียนว่า lim f(x) ขอให้หมายถึงว่ามีความหมายเป็ นอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
ใน 5 อย่างต่อไปนี้
lim f ( x )
x a
lim f ( x )
x a
lim f ( x )
x
lim f ( x )
x a
lim
x
f (x )
Slide 9
ทฤษฎีบท 2.1.3
ถ้า lim f(x) = L1 และ lim g(x) = L2 เมื่อ L1 , L2 เป็ นจานวนจริ ง แล้ว
1. lim f(x) g(x) lim f ( x ) lim g ( x ) L 1 L 2
2. lim f(x) g(x) lim f ( x ) lim g ( x ) L 1 L 2
3. lim f(x) g(x) lim f ( x ) g ( x ) L 1 L 2
4.
lim
5. lim n
f(x)
g(x)
lim f ( x )
lim g ( x )
L1
L2
เมือ่ L 2 0
f(x) n lim f ( x ) n L 1
โดยที่ L 1 0 เมือ่ n เป็ นจานวนค ูู ู่
Slide 10
สมบัติของลิมิตทั้งห้าข้อในทฤษฎีบท 2.1.3 หากกล่าวเป็ นคาพูด
อาจกล่าวได้วา่
1.ลิมิตของผลบวกเท่ากับผลบวกของลิมิต
2.ลิมิตของผลต่างเท่ากับผลต่างของลิมิต
3.ลิมิตของผลคูณเท่ากับผลคูณของลิมิต
4.ลิมิตของผลหารเท่ากับผลหารของลิมิต เมื่อลิมิตของตัวหารไม่เท่ากับศูนย์
5. ลิมิตของรากที่ n เท่ากับรากที่ n ของลิมิต
หมายเหตุ การใช้สมบัติของลิมิตในทฤษฎีบท 2.1.3
เราจะต้องแน่ใจเสี ยก่อนว่า lim f(x) และ g(x)หาค่าได้
Slide 11
สมบัติของ 1 และ 3 ในทฤษฎีบท 2.2.1 นอกจากจะใช้ได้สาหรับ
สองฟังก์ชนั แล้ว ยังใช้ได้สาหรับฟังก์ชนั จานวนจากัดด้วย กล่าวคือ
ทฤษฎีบท 2.1.4
ถ้า lim f1(x) = L1 , lim f2(x) = L2 ,…, lim fn(x) = Ln แล้ว
limf1(x) + f2(x) +… + fn(x) = lim f1(x) + lim f2(x) + … + lim fn(x)
= L1 + L2 + … + Ln
ทฤษฎีบท 2.1.5
limf1(x) f2(x)…fn(x) = lim f1(x)lim f2(x) … lim fn(x) = L1L2...Ln
Slide 12
ในกรณี ที่เป็ นผลคูณของฟังก์ชนั เดียวกันทั้ง n ฟังก์ชนั ทบ.2.1.5
อาจกล่าวใหม่ได้วา่
n
n
lim
f(x)
lim
f
(
x
)
ทฤษฎีบท 2.1.6
เมื่อ lim f(x) หาค่าได้ และ n เป็ นจานวนเต็มบวก
และในกรณี ที่ f(x) = x และ a เป็ นค่าคงตัว จาก ทบ. 2.1.2 เราทราบแล้วว่า
lim f(x) a
x a
ดังนั้น ถ้า n เป็ นจานวนเต็มบวกแล้วโดยอาศัย ทบ.2.1.6 และ ทบ.2.1.7 ดังนี้
n
n
ทฤษฎีบท 2.1.7 lim x a
x a
เมื่อ a เป็ นค่าคงตัว และ n เป็ นจานวนเต็มบวก
Slide 13
ทฤษฎีบท 2.1.8 lim
n
xn a
x a
เมื่อ a เป็ นค่าคงตัว n เป็ นจานวนเต็มบวก และในกรณี ที่ n เป็ นจานวนคู่
a จะต้องเป็ นจานวนจริ งบวกหรื อศูนย์
ในกรณี ที่ k เป็ นค่าคงตัว จาก ทบ.2.1.1 จะได้วา่ lim k = k
ดังนั้น ถ้า lim f(x) หาค่าได้แล้ว จากสมบัติของลิมิต ทบ.2.1.3 จะได้วา่
lim k f(x) = k lim f(x)
ทฤษฎีบท 2.1.9 lim k f(x) = k lim f(x) เมื่อ k เป็ นค่าคงตัว
และ lim f(x) หาค่าได้
Slide 14
ต่อจากนี้ไป จะเป็ นตัวอย่างการนากฎพื้นฐานและสมบัติต่างๆ
ของลิมิต มาช่วยการคานวณหาลิมิตของฟังก์ชนั โดยไม่ตอ้ งเขียนกราฟ
2
ตัวอย่ างที่ 1 จงหา lim (x 5x 4)
x 2
วิธีทา
เนื่องจาก
2
2
lim x 2 4
x 2
lim 5 x 5 ( 2 ) 10
x 2
และ
lim 4 4
x 2
(ทบ. 2.1.7)
(ทบ. 2.1.9)
(ทบ. 2.1.1)
Slide 15
ดังนั้น จากทฤษฎีบท 2.1.3 ข้อ (1) และ (2) จะได้วา่
2
2
lim (x 5x 4) lim x lim 5 x lim 4
x 2
x 2
x 2
4 10 4
2
ดังนั้น
2
lim (x 5x 4) -2
x 2
x 2
Slide 16
2.2 ลิมิตของฟังก์ชันพหุนาม
2.2.2 ลิมติ ของฟังก์ ชันพหุนามในขณะที่ x a
จากตัวอย่างที่ 1 จะพบว่าฟังก์ชนั
2
f (x) x 5x 4
x 2 เป็ นฟังก์ชนั พหุ นาม และค่าลิมิตที่ได้
ที่นามาหาลิมิต เมื่อ
จะเท่ากับ f(2) = 22 – 5(2) + 4 = -2
ซึ่งเรื่ องนี้ไม่ใช่เรื่ องบังเอิญเท่านั้น แต่จะเป็ นจริ งสาหรับทุกๆ
ฟังก์ชนั ที่เป็ นฟังก์ชนั พหุนามดังทฤษฎีบทที่จะกล่าวต่อไปนี้
Slide 17
ทฤษฎีบท 2.2.1 กาหนดฟังก์ชนั พหุนามใดๆ
p(x) = c0 + c1x +c2x2 +…+cnxn
และ a เป็ นจานวนจริ งใดๆ จะได้วา่
lim p ( x )
x a
p(x) = c0 + c1x +c2x2 +…+cnxn
ผลจากทฤษฎี 2.2.1 จะทาให้การคานวณหาลิมิตของฟังก์ชนั
พหุนามสะดวกและง่ายขึ้น กล่าวคือ ถ้าต้องการหาลิมิตของฟังก์ชนั
พหุนามในขณะที่ x a เมื่อ a เป็ นจานวนจริ ง แล้วเราเพียงแต่นา a
ไปแทนค่าตัวแปรในฟังก์ชนั ดังตัวอย่างต่อไปนี้
Slide 18
ตัวอย่ างที่ 2
2
1 ) lim ( 3 x 6 x 1 )
x 4
2
3
2 ) lim ( 4 x 8 x 5 x )
x 1
3
5
3 ) lim ( 8 x 7 x 6 x 3 )
x 0
ตัวอย่ างที่ 3 จงหา
3
lim
x 2
2
2x 3x 5
2
x 4x 5
Slide 19
2.2.2 ลิมิตของฟังก์ชนั พหุนามในขณะที่ x หรื อ x
ต่อไปเราจะหาหลักการหาลิมิตของพหุนามในขณะที่ x
หรื อ x
โดยจะเริ่ มจากการหาลิมิตของพหุนาม f(x) = xn เมื่อ n = 1,2,3,…
เช่นฟังก์ชนั พหุนาม
f(x)=x , f(x) = x2, f(x) = x3, f(x) = x4
ชื่อมีกราฟดังรู ป 2.1 ผลที่ได้จากกราฟทั้งสี่ เป็ นกรณี เฉพาะของ
กรณี ทวั่ ไป ดังต่อไปนี้
Slide 20
ทฤษฎีบท 2.2.2 ถ้า f(x) = xn เมื่อ n = 1,2,3,… แล้วจะได้วา่
n
1 ) lim x เมือ่ n 1 , 2 , 3 ,...
x
2)
lim
x
lim x
x
lim x
x
เมือ่ n 2 , 4 , 6 ,...
n
x
เมื
อ
่
n
1
,
3
,
5
,...
2
lim x
x
lim
x
2
x
3
lim x
x
3
lim x
x
4
lim x
x
4
lim x
x
Slide 21
ในกรณี ที่มีค่าคงตัวคูณกับ xn ถ้าค่าคงตัวนั้นเป็ นจานวนบวก
จะไม่มีผลต่อลิมิต ทบ.2.2.2 ข้อ ( 1 ) และ ( 2 )
ดังกล่าวแต่ถา้ ตัวคงตัวเป็ นจานวนลบ จะมีผลโดยต้องเปลี่ยน
เครื่ องหมายของลิมิตที่ได้ใน ทบ.2.2.2 ข้อ ( 1 ) และ ( 2 ) ดัง ทบ. ต่อไปนี้
ทฤษฎีบท 2.2.3 ถ้า f(x) = xn เมื่อ c เป็ นค่าคงตัว แล้วจะได้วา่
n
1 ) lim cx เมือ่ c 0 และ n 1 , 2 , 3 ,...
x
n
2 ) lim cx เมือ่ c 0 และ n 1 , 2 , 3 ,...
x
Slide 22
ทฤษฎีบท 2.2.4 ถ้า f(x) = xn เมื่อ c เป็ นค่าคงตัว แล้วจะได้วา่
1)
lim
x
2)
lim
x
เมือ่ n 2 , 4 , 6 ,...; c 0
n
cx
เมือ่ n 1 , 3 , 5 ,...; c 0
เมือ่ n 2 , 4 , 6 ,...; c 0
n
cx
เมื
อ
่
n
1
,
3
,
5
,...;
c
0