ความรู้ ภาษาไทยพืน้ ฐานสาหรับคครู ศาสตราจารย์ กติ ติคุณ ดร. กาญจนา นาคสกุล ๑๑ – ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๑ เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย หลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน.

Download Report

Transcript ความรู้ ภาษาไทยพืน้ ฐานสาหรับคครู ศาสตราจารย์ กติ ติคุณ ดร. กาญจนา นาคสกุล ๑๑ – ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๑ เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย หลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน.

ความรู้ ภาษาไทยพืน้ ฐานสาหรับคครู
ศาสตราจารย์ กติ ติคุณ ดร. กาญจนา นาคสกุล
๑๑ – ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๑
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิชาภาษาไทย
 ความรู้
 ทักษะและวัฒนธรรมการใช้ ภาษาเพือ
่ การสื่ อสาร
 ความชื่ นชม
การเห็นคุณค่ า ภูมปิ ัญญาไทย
และภูมใิ จในภาษาประจาชาติ
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
ประเด็นทีเ่ กีย่ วกับคการเรียนรู้ ภาษาไทย
๑. ความรู้ความเข้าใจเรื่ องภาษา
๒. ความรู้เรื่ องการสอนภาษา
๓. ความรู้เรื่ องภาษาไทย
๔. จุดหมายการเรี ยนภาษาไทย
๕. จุดหมายการสอนภาษาไทย
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
ผู้ใช้ ภาษาต้ องมีความรู้ ต่อไปนี้
๑. ออกเสี ยงคาได้ถูกต้อง
๒. เขียนคาได้ถูกต้อง ตรงตามความหมายที่ตอ้ งการ
๓. ใช้คาได้ถูกต้องตามบริ บทสังคมและวัฒนธรรม
๔. เข้าใจความหมายของคา สานวน และภาษาลักษณะต่าง
ๆ
๕. รู ้วฒั นธรรมไทย และข้อจากัดในการใช้ภาษาไทย
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
ความรู้ ภาษาไทย
หลักสูตรฯ จัดแบ่งเป็ น ๕ สาระ
 การอ่าน
 การเขียน
 การฟั งการดูและการพูด
 หลักการใช้ภาษาไทย
 วรรณคดีและวรรณกรรม
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
 ภาษา
เป็ นระบคบคสั ญลักษณ์ ทมี่ นุษย์ ใช้ เพือ่ ติดต่ อกัน แบค่ ง
ได้ เป็ น อวัจนภาษา กับ วัจนภาษา
- อวัจนภาษา เป็ นภาษาสื่ อสารกันด้วยท่าทาง
และสิ่ งอื่น ๆ
- วัจนภาษา เป็ นระบบสัญลักษณ์ที่คนกลุ่มหนึ่งใช้ในการ
ติดต่อสื่ อสารกัน : เสี ยงพูด ตัวอักษร
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
ครู ภาษาไทยเป็ นคนสาคัญของชาติ
ข้อความต่อไปนี้เป็ นจริ งหรื อไม่
 ครู ภาษาไทยเป็ นผูส
้ ร้างคนผูเ้ ป็ นกาลังให้แก่ชาติ
่ ี่ครู
 คนในชาติจะมีความรู ้หรื อไม่อยูท
 คนในชาติจะมีวน
ิ ยั หรื อไม่
่ ี่ครู
 คนในชาติจะมีความซื่ อสัตว์หรื อไม่อยูท
่ ี่ครู
 คนในชาติจะดีหรื อเลวอยูท
่ ี่ครู
 คนไทยจะรักชาติหรื อไม่อยูท
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
ข้ อสรุป
 ภาษาไทยเป็ นภาษาสาคัญที่สุดของคนไทย
 คนไทยเริ่ มเรี ยนการพูดจากครอบครัว
 เรี ยนการเขียนและเรี ยนวิชาภาษาไทย
ภาษาไทยที่ถูกต้องจากครู ในโรงเรี ยน
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
วิชาการใช้
ขอบคเขตเนือ้ หาวิชาภาษาไทย
 อักขรวิธี
 วจีวภ
ิ าค
 วากยสัมพันธ์
 ฉันทลักษณ์
-
เรี ยนรู้ระบบการเขียน
เรี ยนรู้ระบบคา
เรี ยนรู้ระบบไวยากรณ์
เรี ยนรู้เรื่ องคาร้อยกรอง
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
การเรียนรู้ ระบคบคการเขียน
 รู ้จก
ั ตัวรู ปอักษร
: พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
 รู ้จก
ั เสี ยงในภาษาที่สมั พันธ์กบั รู ป
 รู ้จก
ั ระบบเสี ยงในภาษา
 รู ้จก
ั วิธีการประสมอักษร
 รู ้จก
ั วิธีการผันวรรณยุกต์
 รู ้จก
ั วิธีการออกเสี ยงคารู ปแบบต่าง ๆ
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
เสี ยงทีส่ ั มพันธ์ กบคั รู ป
รู ปอักษรทีใ่ ช้ ในการเขียน ๖ ชนิด
 พยัญชนะ ๔๔ รู ป แบ่งเป็ นวรรคตามฐานที่เกิด
 สระ ๓๖ รู ป
 วรรณยุกต์ ๔ รู ป
 ตัวเลข ๑๐ ตัว
 เครื่ องหมายประกอบการเขียน เช่น ฤ ฤๅ ์์ ๆ ฯ ฯลฯ
การเว้นวรรค
 เครื่ องหมายวรรคตอน
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
เสี ยงตัวพยัญชนะ
 ตัวพยัญชนะที่น่าสนใจเป็ นพิเศษ
ตัว ญ เมื่อเป็ นพยัญชนะต้น แทนเสี ยง ย
เมื่อเป็ นพยัญชนะสะกด แทนเสี ยง น (แม่กน)
ตัว ฉ ฌ ไม่ใช้เป็ นตัวสะกด
ตัว ฑ ออกเสี ยง ท ในพยางค์เบา
และพยางค์ที่เป็ นคาเป็ น
ออกเสี ยง ด ในพยางค์ที่เป็ นคาตาย
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
ระบคบคเสี ยงภาษาไทย
หน่วยเสี ยงในภาษาไทย
- พยัญชนะต้นเดี่ยว ๒๑ หน่วย
พยัญชนะควบ ๑๑ คู่
พยัญชนะท้าย ๙ หน่วย
- สระเดี่ยว ๑๘ หน่วย สระประสม ๓ หน่วย
- วรรณยุกต์ ๕ หน่วย
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
หน่ วยเสี ยงพยัญชนะ
พยัญชนะต้น ๒๑ หน่วย
ปตจกอ พทชค บด ม น ง
ลร ฟซฮ วย
 พยัญชนะควบ ๑๑ คู่
ปร ตร กร พร คร ปล กล พล คล กว คว
คายืมจากภาษาอังกฤษ ทาให้มีเสี ยงควบ
บร ฟร ดร ทร บล

เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
พยัญชนะต้ น ๒๑ หน่ วย กับค ตัวเขียน
ปตจกอ
พทชค
บด
มนง
ลร
ฟซฮ
วย
-
ป ฏต จ ก อ
พผภ ฐฑฒถทธ ฉชฌ ขคฆ
บ ฏด
ม ณน ง
ลฬ ร
ฝฟ ซศษส หฮ
ว ญย
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
พยัญชนะต้ นควบค
 ปร
ตร กร พร คร
 ปล กล พล คล
 กว คว
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
เสี ยงพยัญชนะท้ าย กับค ตัวสะกด
กง - ง
 กน - น ญ ณ ร ล ฬ
 กม - ม ( ์า )
 กก - ก ข ค ฆ
 กด - จ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ
 กบ - บ ป พ ฟ ภ
 เกอย - ย ( ใ ไ )
 เกอว - ว ( เ า )

เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
การประสมเสี ยงของคาไทย
พยางค์ของคาไทย - คาพยางค์เดียว
๑. นา ดี ปู แล เปี ย CVVT
๒. แปร ครู่ ไพร่ กว่า CCVVT
๓. วัน ดิน ลม ไฟ ช้ า CVNT
๔. กรง กลุม้ คว่า ครั้ง เขลา CCVNT
๕. ก้าง ดื่ม ข้าว เหมือน เขียน CVVNT
๖. กราม เปลี่ยน เคลื่อน คว้าน ขวาง CCVVNT

เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
๖. กัด หลัก ปั ด คัด พบ ยุบ นับ CVST
๗. กรัก ปรับ กวัก พริ ก คลิป CCVST
๘. กาบ ขวด เบียด เรี ยบ เลือด CVVST
๙. กราบ ขวาก เปลือก ปลวก ตรวจ CCVVST
คาน่ าสนใจ
เมตร นอต บล็อก
วอกแวก เลิ่กลัก่ ท่อกแท่ก
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
ลักษณะพยางค์และคาในภาษาไทย
พยางค์ในภาษาไทย
 ลักษณะคาในภาษาไทย
 คาพยางค์เดียว
 คาสองพยางค์เทียม
 คาสี่ พยางค์

คาสองพยางค์แท้
คาสามพยางค์
คาหลายพยางค์
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
การประสมอักษร
ไตรยางค์ อักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่า
 อักษร ๒ ตัว ประสมสระเดียวกันหรื อไม่มีรูปสระคัน
่ ออก
เสี ยงเป็ นอักษรควบ กร กล กว คร คล คว ตร ปร ปล พร
พล
ออกเสี ยงแต่ตวั หน้า จร สร ซร ศร สร
ออกเป็ นเสี ยงอื่น ทร

เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
รู ปคล้ายอักษรควบ ไม่ออกเสี ยงควบ
จระเข้ ทรหด บรม ชาติพลี
รู ปคล้ายอักษรควบ แต่แกเสี ยงเป็ นอักษรนา
จรวด จริ ต ตลาด ปรอท ปริ ตร อร่ อย
อ่านได้ ๒ แบบ ต่างความหมายกัน
กรี ปรัก ครุ เพลา เสลา เสมา ไสว ฯลฯ
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
อักษรนา ต้ องนาวรรณยุกต์
ตัวนา
อักษรสูง ข ฉ ถ ผ ฝ ศ ส
อักษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ
ตัวตาม
อักษรต่าเดี่ยว ง ญ น ม ย ร ล ว
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
การออกเสี ยงอักษรนา

อักษรสู งนาอักษรตา่ เดีย่ ว
ขนง ขมีขมัน เฉวียง ถนน ผลิต สง่า สนาม สมอง หงาย
หญิง หนาม หมอง หยาม หรื อ หลาน หวาน

อักษรกลางนาอักษรตา่ เดีย่ ว
กนก จมูก ตลับ ปรัก ปรอท ปรวด ปลัด อร่ อย อย่า อยู่
อย่าง อยาก
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
คาเลียนแบคบคอักษรนา
 อักษรนาในพยางค์
เช่น ประวัติ ประโยชน์ ดิลก ดิเรก
สิ ริ หิ ริ
 อักษรนากลางหลายพยางค์ เช่น กฤษณา รัศมี ศาสนา
ลักษมี ปรารถนา
 คาแผลง เช่น การาบ กาเนิ ด ตารวจ ดาริ สารวจ สาเร็ จ
กระลบ กระลอก กระลัด
 ยกเว้น จาแนก บาราบ
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
ไม่ ออกเสี ยงนา
 กฐิน
กติกา ขมา ขนิษฐ์ คณิ ต
 ตลึง ตลิงปลิง พลี กลียค
ุ
 ปริ ญญา ปราชัย ปรัมปรา ปรักหักพัง
 สดับ สตรี สบู่ สมัชชา สมาคม สมาชิก สโมสร สลิล
ศรันย์ สรี ระ สุ นทรี
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
การออกเสี ยงสระในคาภาษาไทย
 สระตามรู ป
 สระลดรู ป
หรื อ สระที่ไม่ปรากฏรู ป
 สระเปลี่ยนรู ป
 สระที่ไม่ตรงรู ป
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
การใช้ รูปสระ
 สระเดี่ยว
๑๘ เสี ยง
- สระที่มีคู่ส้ นั ยาวมีรูปแตกต่างกัน
ะ า ์ิ ์ี ์ึ ์ื ์ุ ์ู
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
การใช้ รูปสระ
เมื่อมีตวั สะกดรู ป ะ เปลี่ยนเป็ น ์ั
- สระที่ใช้รูป ะ แสดงเสี ยงสั้นได้แก่ เ ะ เ แ ะ แ เ าะ -อ โ ะ
โ เอะ เอ
- เมื่อมีตวั สะกด สระที่ใช้รูป ะ แสดงเสี ยงสั้นให้เปลี่ยน ะ เป็ น
์็ ได้แก่ สระ เ ะ แ ะ เ าะ เช่น เห็น แข็ง ช็อก
- เมื่อมีตวั สะกด ลดรู ปหมด ได้แก่ สระ โ ะ เช่น กบ ตม จน
ลบ ขม ดง ผง ฝน ลด
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่
เสี ยงสระประสม
สระประสม เอียะ เอีย
เอือะ
อัวะ
เอือ
อัว
เผยแพร่ โดย ครู รจนา อินทร์ เหล่าใหญ่