55sci5.1-2-03 miniproject

Download Report

Transcript 55sci5.1-2-03 miniproject

นางสาวอัจฉราพร อุคา
นางสาวนันธิชา เขตรา
ใบบัวบก หรื อ Gotu Kola มีชื่อทางพฤกษศาสตร์วา่ Centella
asiatica พบมากในประเทศแถบยุโรป จนถึงแถบแอฟริ กาใต้ อินเดีย
ปากีสถาน และศรี ลงั กา มีประวัติการใช้ประโยชน์ในทางยามานาน
พบว่าส่ วนสาคัญที่มีคุณสมบัติพิเศษ คือ ส่ วนของใบและราก
จากการศึกษาทางเภสัชวิทยาเพื่อหาสารออกฤทธิ์ต่างๆ ที่มีอยูใ่ น
ใบบัวบกทาให้คน้ พบว่า ใบบัวบกมีกรดบารุ งผิว เมื่อทาเป็ นสบู่จะช่วย
ให้ผวิ หน้าเต่งตึง ลดรอยตีนกา
จากงานวิจยั (รศ.ภญ.ดร.มยุรี)ในการวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์พบว่าใบ
บัวบกมีสารออกฤทธิ์ คือ กรด Madecassic ,กรด Asiatic และ
Asiaticoside สามารถเร่ งเนื้ อเยือ่ และระงับการเจริ ญเติบโตของแบคทีเรี ย
ซึ่งเป็ นสาเหตุของการเกิดหนอง และลดการอักเสบ รวมทั้งยังมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อรา
ได้อีกด้วย
บัวบก: องค์ ประกอบทางเคมี
- องค์ประกอบทางเคมีของบัวบกประกอบไปด้วยสาร ที่สาคัญคือ
(1) Triterpenoid saponins : asiaticoside
(2) Aglycones : asiatic acid, madecassic acid
นอกจากนี้ยงั ประกอบด้วยสารกลุ่มอื่น ได้แก่ amino acids, volatile oils
http://jadzuka.wordpress.com
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาวิธีการสกัดสารจากใบบัวบกและทดสอบฤทธิ์
การต้านการอักเสบ จากเชื้อ Staphylococcus
aureus
วัสดุและอุปกรณ์
1. แอลกอฮอล์ 70%
2. บีกเกอร์
3. ตูอ้ บ , ถาด
4. มีด
5. ส่ วนผสมต่างๆ มี วิตามิน E ,น้ าหอม ,น้ าผึ้ง , ใยบวบ , กลีเซอรี น
6. เครื่ องปั่น
7. Plate , Discs(ตาปลา) , ตะเกียงแอลกอฮอล์
8. พืชสมุนไพร(ใบบัวบก)
9. เตาแก๊ส ,หม้อสแตนเลส , ไม้พาย
วิธีทาการสกัด (ด้ วยนา้ )
นาใบบัวบกมาล้างทาความสะอาดและหัน่ หยาบๆ
ใบบัวบกที่หนั่ หยาบ
200 g ใส่ ในหม้อ เทน้ า 800 ml (1:4)
ตั้งไฟอ่อน
นามากรองเอากากทิ้ง เอาน้ าไปใช้เป็ นส่ วนผสมในสบู่
วิธีทาการสกัด (ด้ วยแอลกอฮอล์ )
นาใบบัวบกมาหัน่ หยาบ
นาพืชสมุนไพรใบบัวบกมาอบให้แห้งทีอ่ ุณหภูมิ
ประมาณ 40 องศาเซลเซียส
จากนั้นนาใบบัวบกแห้ง มาปั่น
นาไปแช่ในตัวทาละลาย (แอลกอฮอล์ 70%) ทิ้งไว้ 5 วัน
กรองเอาส่ วนที่เป็ นของเหลวออกมา
นาเอามาทาสบู่ ที่มีสารสกัด 10% ,15% และ20%
ขั้นตอนการทดสอบของสารทีส่ กัดด้ วยนา้
นาอาหาร NA ที่เตรี ยม เทลง plate (รออาหารให้แข็ง)
เมื่ออาหารแข็ง เอาเชื้อ Staphylococcus aureus
ลง 1 ml แล้ว spread plate
แบ่ง plate เป็ น 2 ฝั่ง ฝั่งขวานา Discs(ตาปลา) จุ่มลงในน้ าสเตอร์ไรด์
เป็ น Control และฝั่งซ้ายจุ่มน้ าใบบัวบกที่สกัดด้วยน้ า มาวางบนอาหาร ดังรู ป
น้ าใบบัวบก
Control
(น้ าสเตอร์ไรด์)
บ่มที่ตบู ้ ่ม อุณหภูมิ 37 °C 24 ชัว่ โมง แล้วมาดูผล
ขั้นตอนการทดสอบของสารทีส่ กัดด้ วยแอลกอฮอล์
นาอาหาร NA ที่เตรี ยม เทลง plate (รออาหารให้แข็ง)
เมื่ออาหารแข็ง เอาเชื้อ Staphylococcus aureus
ลง 1 ml แล้ว spread plate
นา Discs(ตาปลา)จุ่มแอลกอฮอล์ 70% เป็ น Control (ขวา) และจุ่มน้ าใบ
บัวบกที่สกัดด้วยแอลกอฮอล์ (ซ้าย) มาวางบนอาหาร ดังรู ป
ใบบัวบกที่สกัดด้วย
แอลกอฮอล์
Control (Alcohol 70%)
บ่มที่ตบู ้ ่มอุณหภูมิ 37°C 24 ชัว่ โมง แล้วมาดูผล
ผลการสกัดด้ วยนา้
ไม่สามารถยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus ได้
ใบบัวบก
น ้ำสเตอร์ ไรด์
ผลของการสกัดด้ วยแอลกอฮอล์
สามารถยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus ได้
ใบบัวบกที่สกัด
ด้วยแอลกอออล์
70%
แอลกอฮอล์ 70%
วิธีการทาสบู่
อุปกรณ์
1. กลีเซอรี น 1 กิโลกรัม
2. น้ าหอม
3. น้ าใบบัวบก ที่สกัดด้วยแอลกอฮอล์
4. หม้อและเตาสาหรับต้มสบู่
5. พิมพ์รูปแบบต่างๆ
6.ส่ วนผสมต่างๆ มี วิตามิน E , น้ าหอม , น้ าผึ้ง , ใยบวบ ,
กลีเซอรี น
ขั้นตอนการทาสบู่
นากลีเซอรีนหั่นให้ เป็ นแผ่ นเล็กๆ จานวน 1 กิโลกรัม
คนให้ ละลายจนทัว่
เอาส่ วนผสมต่ างๆใส่ หม้ อ ตั้งไฟอ่ อนๆคนจนส่ วนผสมเข้ าเป็ นเนือ้ เดียวกัน
ปิ ดไฟ ยกลงจากเตา แล้ วใส่ ใยบวบลงไป
นากลีเซอรีนใส่ บีกเกอร์ แล้ วใส่ นา้ ใบบัวบกทีส่ กัดจากแอลกอออล์ ที่ 10%,15%
และ 20% ตักใส่ พมิ พ์ตามชอบ
พักสบู่เพือ่ ให้ เนือ้ สบู่แข็งตัว แคะออกจากพิมพ์
จะได้ สบู่บวั บกใยบวบตามต้ องการ
ทดสอบสบู่ใบบัวบกทีส่ กัดจากแอลกอฮอล์ ที่ 0% ,10%,15%,20%
(0%)
นา Discs(ตาปลา)จุ่มแอลกอฮอล์ 70% เป็ น Control (จุดตรงกลาง),
จุ่มสบู่ที่ไม่มีสารสกัด (1) , จุ่มสบู่ที่มีสารสกัดที่10% (2) , จุ่มสบู่ที่มีสาร
สกัดที่15% (3) และจุ่มสบู่ที่มีสารสกัดที่ 20% (4) มาวางบนอาหารNA
ดังรู ป
บ่มที่อณ
ุ หภูมิ 37°C 24 ชัว่ โมง แล้ วดูผลทดสอบ
จานวนซ้ า
สารสกัดที่
Alc 70%
0%
10%
15%
20%
1
0.1
0.6
0.9
1.1
2
0.5
0.7
1.1
1.3
3
0.1
1
1.1
1.3
X̅
0.23333
0.76666
1.03333
1.23333
SD
0.23094
0.20816
0.11547
0.11547
SEM
±0.115
±0.10
±1.057
±1.057
วิจารณ์ ผลการทดลองและสรุปผล
เมื่อนาใบบัวบกมาสกัดด้วยน้ าและแอลกอฮอล์ พบว่าการสกัดด้วยน้ าโดย
การนาไปต้มหรื อการให้ความร้อน เป็ นการสกัดที่ผดิ จุดประสงค์ทาให้ไม่ได้สาร
สกัดที่ตอ้ งการ และไม่สามารถนาสารสกัดที่ได้จากน้ ามาใช้ในการทดสอบกับ
เชื้อ Staphylococcus aureus ได้ ซึ่งการสกัดด้วยน้ าโดยการให้ความ
ร้อนเป็ นการสกัดที่เหมาะสมกับการเอาสี และกลิ่นจากพืชที่นามาทดลอง ทาให้
การสกัดสารใบบัวบกด้วยน้ า ไม่เป็ นไปตามผลที่คาดหวัง
การสกัดใบบัวบกด้วยแอลกอฮอล์พบว่าเมื่อนามาทดสอบ มีฤทธิ์ การต้าน
การอักเสบของเชื้อ Staphylococcus aureus ที่ดีและเมื่อนามาทาสบู่ที่
ความเข้มข้น 10,15,20 พบว่าเมื่อสารสกัดมีความเข้มข้นมาก ก็สามารถยับยั้งเชื้อ
Staphylococcus aureus ได้ดีตามไปด้วย