Transcript PCT

PATIENT CARE TEAM
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
หน้ าที่
1. จัดทาแนวทางการรักษาและ
พัฒนาระบบบริการสุขภาพ
2. พัฒนาระบบริการสุขภาพทัง้ 4 มิติ
3. สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยใน
การดูแลผูป้ ่ วย
เป้าหมาย
1. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
2. ผลการรักษาในผูป้ ่ วย
เป็ นไปตามมาตรฐาน
3. บุคลากรมีความรู้และทักษะ
ตามมาตรฐานวิชาชีพ
4. ผูป้ ่ วยมีความรู้ความสามารถ
ในการดูแลสุขภาพตนเองได้
5. เกิดความเชื่อมโยงในการ
ดูแลสุขภาพในระดับชุมชน
จุดเน้ นในการพัฒนาและเข็มมุ่งในปี 2557-58 ของโรงพยาบาล
กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพความปลอดภัยในการดูแลผูป้ ่ วย
(SIMPLE)
I1. Hand Hygiene
M1.2: Improve the safety of High-Alert Drug
Medication reconciliation
P 2.1 Effective Communication – SBAR
E1: Response to the Deteriorating Patient/ RRT
E3: Acute Coronary Syndrome
จุดเน้ นในการพัฒนาและเข็มมุ่งในปี 2557-58 ของทีม PCT
จุดเน้ นทีม PCT : พัฒนาการดูแลผูป้ ่ วยตามนโยบายความปลอดภัย(
SIMPLE) โดยเน้ น
 P2.1: การสือ
่ สารการรายงานแพทย์โดยใช้ SBAR
 E1: การตอบสนองต่อการเปลีย
่ นแปลงกรณีผปู้ ว่ ยอาการทรุดลงโดยใช้
การประเมินและเฝ้าระวังผูป้ ว่ ยโดยใช้เกณฑ์ warning signs
 E3: Acute coronary syndrome (ACS)
P2.1: การสื่อสารการรายงานแพทย์โดยใช้ SBAR
Situation: สถานการณ์ที่ทาให้ต้องรายงาน
- ระบุตวั ผูร้ ายงาน หน่วยงาน ชื่อผูป้ ว่ ย หมายเลขห้อง
- ระบุปญั หาสัน้ ๆ เวลาทีเ่ กิด ความรุนแรง
 Background: ข้อมูลภูมิหลังเกี่ยวกับสถานการณ์
- การวินิจฉัยเมือ่ แรกรับและวันทีร่ บั ไว้
- บัญชีรายการยา สารน้าทีไ่ ด้รบั การแพ้ยา การตรวจทดสอบทางห้องปฏิบตั กิ าร
- สัญญาณชีพล่าสุด
--ข้อมูลทางคลินิกอื่นๆ
- Code status
 Assessment: การประเมินสถานการณ์ ของพยาบาล
 Recommendation: ข้อเสนอแนะหรือความต้องการของพยาบาล

ตัวอย่างสถานการณ์ SBAR
S: สวัสดีคะ่ จุฑารัตน์รายงาน case จาก ER ค่ะ เป็ น case ผป. หญิง อายุ 57 ปี
โรคประจาตัว เบาหวาน มาด้วยถามตอบไม่รเู้ รือ่ ง ซึมลง ก่อนมา 30 นาที
B: V/S แรกรับ T=36.5, P=90, R=14, BP 100/70
DTX= 30% ให้ 50% glucose 50 ml vein push ไป
A: หลังให้ 50% glucose ไปแล้ว 5 นาที ผป. ตื่น รูต้ วั รูเ้ รือ่ ง E4V5M6
R: คิดว่าเป็ น symtompatic hypoglycemia ต้องได้ admit ตาม CPG เชิญแพทย์
มาเยีย่ ม case
E1: การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงกรณี ผปู้ ่ วยอาการทรุดลง
( RESPONSE TO THE DETERIORATING PATIENT/ RRT ) โดยใช้ EARLY
WARNING
เจ้าหน้าทีท่ ด่ี แู ลผูป้ ว่ ย รูส้ กึ ไม่สบายใจเกีย่ วกับอาการของผูป้ ว่ ย
 PR < 40 or > 130 bpm
 SBP < 90 mmHg
 RR < 8 or > 28 bpm
 O2 Sat < 90% ทัง้ ทีใ่ ห้ O2
 ระดับความรูส
้ กึ ตัวเปลีย่ นแปลง
 ปริมาณปสั สาวะ < 50 ml in 4 hr

จุดเน้ นในการพัฒนาและเข็มมุ่งในปี 2556-57
กลุ่มโรคเรื้อรัง : DM,HT,COPD
กลุ่ม Non-Trauma : Acute Coronary Syndrome
กลุ่ม Trauma: Head Injury
กลุ่มโรคติดต่อ: HIV TB
SPECIFIC CLINICAL RISK
DM /HT : ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันและเรือ้ รัง
 COPD : การควบคุมภาวะ Exacerbation
 ACS : การได้รบ
ั การดูแลถูกต้องและรวดเร็ว
 HI : การได้รบ
ั การดูแลถูกต้องและรวดเร็ว
 HIV : ผูป
้ ว่ ยไม่มภี าวะเชือ้ ดือ้ ยา ,ไม่เกิดผูป้ ว่ ยรายใหม่
 TB : ผูป
้ ว่ ยไม่มภี าวะเชือ้ ดือ้ ยา ,ไม่เกิดผูป้ ว่ ยรายใหม่

กระบวนการหลักในการดูแลผูป้ ่ วย

การเข้าถึงและเข้ารับบริการ
 การประเมินผูป
้ ว่ ย
 การวางแผนดูแลผูป
้ ว่ ย
 การดูแลผูป
้ ว่ ย
 การให้ขอ
้ มูลและเสริมพลังแก่ผปู้ ว่ ยและครอบครัว
 การดูแลต่อเนื่อง
1. การเข้าถึง
 ผูป
้ ว่ ย Hypoglycemia สามารถเรียกใช้ระบบ EMS
 ถ้ามารับบริการเอง สามารถรับบริการทีห
่ อ้ งอุบตั -ิ ฉุกเฉิน ได้ทนั ที
2. การประเมิน
 ได้รบ
ั การประเมินสภาพแรกรับโดยพยาบาลวิชาชีพทันที
 ได้รบ
ั การตรวจ investigation เพือ่ ค้นหาการวินิจฉัย
3. การวางแผนดูแล
 มี CPG ในการดูแลผูป
้ ว่ ย Hypoglycemia
 มีการวางแผนจาหน่ ายทีส
่ อดคล้องกับปญั หาของผูป้ ว่ ย
กระบวนการหลักในการดูแลผูป้ ่ วย (ต่อ)
4. การดูแลผูป้ ่ วย
 ปฏิบต
ั ติ าม CPG ในการดูแลผูป้ ว่ ย
 ค้นหาสาเหตุของการเกิด Hypoglycemia และการแก้ไข
5. การให้ข้อมูลและเสริมพลัง
 แจ้งผป. และญาติ เกีย
่ วกับสาเหตุของการเจ็บปว่ ยในครัง้ นี้
 ประเมินและเสริมความรู้ เรือ
่ งอาการและการแก้ไขอาการเบือ้ งต้นในเรื่องของ
Hypoglycemia
6. การดูแลต่อเนื่ อง
 มีเกณฑ์ในการติดตามเยีย
่ มบ้าน โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ