สรุปแนวคิด โครงการสร้างสำนึกพลเมืองนครนายก

Download Report

Transcript สรุปแนวคิด โครงการสร้างสำนึกพลเมืองนครนายก

สรุป
แนวคิดของโครงการสร้างสานึกพลเมือง
แนวคิดของโครงการสร้ างสานึกพลเมือง
ความรู้
ทักษะ
เจตคติ
การสร้างสานึกพลเมือง
การสร้างสานึกพลเมือง
•ความหมาย
•กระบวนการ
•ใคร? ระดับ?
•ขอบเขต /ระยะเวลา
นโยบายสาธารณะ
กระบวนการ 6 ขั้นตอน
2. เลือกปัญหา
ฉันทามติ
3. เก็บรวบรวมข้อมูล
1.
2.
3.
4.
อธิบายปัญหา
ประเมินนโยบายที่มอี ยู่
นาเสนอนโยบาย
แผนงาน
4. การพัฒนาแฟ้มผลงาน
5. การนาเสนอนโยบายต่อผูร้ ับผิดชอบ
ไม่รับ
รับนาไปประยุกต์
นโยบายาธารณะในการแก้ปัญหา
ดาเนินการเอง
6. สะท้อน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ความสาเร็จ
1. ระบุปัญหา
ขัน้ ตอนที่ 1
ระบุปัญหา
ระบุหาปัญหา  โดยการระดมความคิดเห็น ใช้ข้อมูลประกอบ  ใช้
การพู ดคุยกัน  มีหลักการในการระบุ แลกเปลี่ยน จดบันทึก 
ปัญหาที่สาคัญ เป็ นไปได้ ภาครัฐรับผิดชอบ ข้อมูลเพียงพอ
ขัน้ ตอนที่ 2
เลือกปัญหา
เลือกปัญหา เปิ ดโอกาสให้ทกุ คนแสดงความคิดเห็น 
แลกเปลี่ยน ให้คนในชุมชนเลือกปัญหาที่สาคัญที่สดุ และเป็ นไปได้ 
และพร้อมที่จะให้ความร่วมมือโดยใช้ “ ฉันทามติ”

ขัน้ ตอนที่ 3
รวบรวมข้อมูล
ระบุแหล่งที่มาของปัญหา วิธีการรวบรวม แบ่งงานกัน  ให้มีการ
ยืนยันว่าปัญหาสาคัญ มีน้าหนักมากขึ้น จัดระบบข้อมูล  ะ
ดาเนินการอย่ างต่อเนื่องจริงจัง ใช้ประกอบการผลักดัน
นโยบายการแก้ปัญหา
ขัน้ ตอนที่ 4
พัฒนาแฟ้มผลงาน
 2 ส่วน ตัวแฟ้มเอกสร และผังนาเสนอ 4 บอร์ด
 ใช้ผงั นาเสนอเพือ่ สร้างความสนใจในการนาเสนอ  มากกว่าตัวหนังสือบนกระดาษ A4
ผังนาเสนอต้องชัดเจน งานต่อการติดตาม ตัวใหญ่ รูปภาพ สถิติ เน้นข้อมูลที่สาคัญ
1. อธิ บายปัญหา 2. นโยบายที่มอี ยู่ ข้อดี/ข้อเสีย
3. นโยบายทางเลือก ข้อดี/ข้อท้าท้าย 4. แผนปฏิบตั ิการ
ขัน้ ตอนที่ 5
การนาเสนอแฟ้มข้อมูล
รับฟังความคิดเห็น /
(ประชาพิจารณ์)
 การนานโยบายไปเสนอต่อภาครัฐ จัดเวทีแลกเปลี่ยน และฝึ กนาเสนอ
ก่อนทุกครั้ง  เปิ ดโอกาสให้ทกุ คนได้มีส่วนร่วมรับฟัง  เป็ นรากฐาน
ประชาธิ ปไตย “การรับฟังกัน”  และยอมรับในข้อเสนอที่แตกต่าง
ขัน้ ตอนที่ 6
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
มองปัจจัยแห่งความสาเร็จ จุดอ่ อนจุดแข็ง  พัฒนา
ปรับปรุงแก้ไข ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้อง  เป็ นบทเรียนให้
ผูอ้ ื่ นและชุมชน
โครงการสร้ างสานึกพลเมือง
อะไรคือสิ่ งที่วิทยากรต้ องการให้ เกิดความสาเร็จในแต่ ละขั้นตอน
การแนะนาโครงการสร้ างสานึกพลเมือง
ในระหว่ างการนาเสนอ หัวข้ อที่ควรนาเสนอและต้ องการให้ เกิดความสาเร็จมีดังนี้
 อธิบาย เป้ าหมายและเหตุผลของโครงการโดยมีพน
ื้ ฐานมาจาก 3 ส่ วนคือ ความรู้ ทักษะ
และเจตคติ
 อธิบายภาพรวมรายละเอียดของหนังสื อสาหรั บนักเรี ยนและคู่มอ
ื สาหรับครู ว่ามี
อะไรบ้ าง
 นาเสนอรายละเอียดโดยรวมในแต่ ละขั้นตอนเพือ
่ ให้ นักเรียนเข้ าใจและนาไปดาเนินงาน
 อธิบาย พร้ อมทั้งยกตัวอย่ างของผลงานทีน
่ ักเรียนจะทาขึน้ เมือ่ เสร็จสิ้ นโครงการนี้
• ผังนิทรรศการ
• แฟ้มเอกสาร ข้ อมูลต่ างๆ
• การนาเสนอปากเปล่ า
 เชื่ อมโยงความสั มพันธ์ การสร้ างสานึกพลเมืองไปสู่ ระดับประเทศ จังหวัด และท้ องถิ่น

ภาพรวมของนโยบายสาธารณะ





อธิบายและประยุกต์ แนวคิดของเรื่องส่ วนตัว ภาคประชาสั งคม และภาครัฐ
อธิบายและประยุกต์ แนวคิดของนโยบายสาธารณะ กระบวนการทาให้ เกิด
นโยบายสาธารณะ และใครคือผู้มีอานาจออกนโยบายสาธารณะ
จาแนกระหว่ างนโยบายสาธารณะในการแก้ปัญหาและการแก้ปัญหาทีเ่ กิดจาก
กระบวนการทางภาคสั งคมโดยเฉพาะ
นาหนังสื อพิมพ์มาใช้ เพือ่ ค้ นหาตัวอย่ างของนโยบายสาธารณะ
อธิบายบทเรียนต่ างๆ เพือ่ ช่ วยให้ กบั ครูห้องอืน่ ๆ ให้ มีความเข้ าใจในนโยบาย
สาธารณะ กระบวนการทานโนบายสาธารณะ และผู้มีอานาจในการออก
นโยบายสาธารณะ
ขั้นตอนที่ 1 การระบุปัญหานโยบายสาธารณะ





ระบุถึงตัวอย่ างของปัญหาทั่วๆ ไป ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในชุ มชน (เพือ่ ที่จะสร้ างปฏิสัมพันธ์ กบั
นักเรียนหรือผู้เข้ าอบรม วิทยากรอาจค้ นหาปัญหาของชุ มชนมาก่ อนล่ วงหน้ าว่ ามี
อะไรบ้ าง)
กระตุ้นให้ นักเรียนหรือผู้เข้ าอบรมเสนอปัญหา ซึ่งแต่ ละคนรับรู้ และต้ องการที่จะ
ทาการศึกษา
ทบทวนและอธิบายแบบฟอร์ มต่ างๆ ทีม่ อี ยู่ในหนังสื อและใช้ ในแต่ ละขั้นตอน เช่ น
ฟอร์ มการค้ นหาข้ อมูลของปัญหา
แบ่ งกลุ่มย่ อย 2-3 คน เพือ่ ให้ ช่วยกันให้ คาจากัดความของปัญหาและวิเคราะห์ ใน
แบบฟอร์ มในหนังสื อ
แบ่ งกลุ่ม ให้ แต่ ละคนคิดปัญหา 3 ปัญหา และพูดคุยกันในกลุ่มให้ เหลือกลุ่มละ 2 ปัญหา
และนามาคัดเลือกในขั้นที่ 2
ขั้นที่ 2 การเลือกปัญหา
 ทบทวนเกณฑ์ หรือหลักการทีห
่ ้ องเรียนจะนามาใช้ ในการคัดเลือกปัญหา








ปัญหานีม้ คี วามสาคัญกับคุณหรือคนในชุ มชนไหม
มีความเป็ นไปได้ ในการแก้ ไขปัญหาทีเ่ ลือกมาหรือไม่
ภาครัฐมีหน้ าทีร่ ับผิดชอบในการจัดการกับปัญหานีห้ รือไม่
ข้ อมูลของปัญหามีเพียงพอสาหรับการพัฒนาให้ เป็ นโครงการทีด่ หี รือไม่
ให้ แต่ ละกลุ่มนาเสนอปัญหาต่ อทุกคนโดยให้ อธิบายเหตุผลและความจาเป็ น (กรุ ณาดู
กิจกรรมในส่ วนที่ 3) กาหนดเวลาการนาเสนอแต่ ละกลุ่ม
เปิ ดโอกาสให้ ทุกคนได้ ร่วมกันแสดงและแลกเปลีย่ นความคิดเห็น เพือ่ ช่ วยกันพิจารณา
เลือกปัญหา โดยดูว่าปัญหาไหนตัดออกได้ ก่อน
เมื่อคัด เลือกปั ญหาให้ เหลือน้ อยลงแล้ ว ต้ องเปิ ดโอกาสให้ เวลากับนักเรี ย นหรื อผู้เข้ า
อบรมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพิม่ เติม โดยอาจเห็นด้ วยหรือคัดค้ านต่ อปัญหาที่
กาลังจะเลือก
อธิบายกระบวนการสร้ างฉันทามติ เพือ่ จะนารู ปแบบนีม้ าใช้ ในการคัดเลือกปัญหา
ขัน้ ตอนที่ 3 การรวบรวมข้ อมูล






เปิ ดโอกาสให้ นักเรียนได้ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นเพิม่ เติมต่ อปัญหาทีไ่ ด้ เลือกมาแล้ว 1
ปัญหา เพือ่ ให้ เกิดความเข้ าใจทีช่ ัดเจนมากขึน้
ทบทวนและระบุแหล่ งข้ อมูลทีก่ ลุ่มหรือนักเรียนจะไปสามารถค้ นคว้ าเพือ่ ใช้ ในการทา
โครงการ
จัดทาแนวทางในการศึกษาหาข้ อมูลและกาหนดระยะเวลา
ทบทวนแบบฟอร์ มทีส่ ามารถใช้ ขณะทีไ่ ปเก็บรวบรวมข้ อมูล
จัดตั้งทีมหรือคณะทางานเพือ่ ศึกษาหาข้ อมูล และพิจารณาว่ าทีมหรือคณะทางานกลุ่ม
ไหน จะรับผิดชอบแหล่ งข้ อมูลใดทีใ่ ด
ถ้ าเป็ นไปได้ อาจมีการสอนให้ นักเรียนหรือผู้เข้ าอบรมได้ เรียนรู้ เกีย่ วกับการเก็บรวบรวม
ข้ อมูล เช่ น พาไปห้ องสมุด การใช้ internet การสั มภาษณ์ โดยพิจารณาจากความ
เหมาะสมของแต่ ละคน
ขัน้ ตอนที่ 4 การพัฒนาผังนิทรรศการ และแฟ้ มผลงาน



หลังจากห้องเรี ยนได้ประสบการณ์ในขั้นตอนการค้นหาข้อมูลหรื อศึกษาวิจยั แล้ว
ควรมีเวลาในการทบทวนและพิจารณาข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมมา ถ้าจาเป็ นควร
เขียนหัวข้อว่าปัญหาที่เราเลือกไว้คืออะไร
จัดตั้งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม เพื่อร่ วมกันทางานเป็ นทีม โดยแต่ละกลุ่มจะต้องทางานให้
สาเร็ จ กาหนดเวลาในการทางาน เมื่อแต่ละกลุ่มทางานเสร็ จแล้ว ให้มีการนาเสนอ
และเปิ ดโอกาสให้คนอื่ นๆ ได้ให้ขอ้ เสนอแนะและคาแนะนาเพื่อให้เกิ ดความ
สมบูรณ์
ในระหว่างการนาเสนอ ครู จะจดบันทึกความเห็นหลักๆ ของแต่ละกลุ่มบน
กระดานหรื อกระดาษ ซึ่งแนวคิดหลักๆ ควรมีดงั นี้
• ประเด็นปั ญหาคืออะไร
• ทางเลือกของนโยบายต่างๆ ที่นามาพิจารณามีอะไรบ้าง
• นโยบายสาธารณะอะไรที่กลุ่มต้องการนาเสนอและสนับสนุน
• ขั้นตอนหรื อแผนการดาเนิ นงาน เพื่อผลักดันให้นโยบายเกิดขึ้น ซึ่ งเกี่ยวข้อง
กับภาครัฐ






อธิบายเกณฑ์ การประเมินผังนิทรรศการว่ ามีอะไร
จัดให้ มีกจิ กรรมการเรียนรู้ ร่วมกัน โดยให้ เข้ าใจว่ าทีมหรือคณะทางาน 4 กลุ่มมี
หน้ าทีแ่ ละต้ องทาอะไรบ้ าง
ต่ อมา ให้ จัดตั้งทีมหรือคณะทางาน มีหน้ าทีเ่ พือ่ พัฒนาผังนิทรรศการ และ
นาเสนอต่ อห้ องเรียนรวม เปิ ดโอกาสให้ มีการพูดคุยกันระหว่ าง 4 กลุ่ม ตลอดจน
การสะท้ อนการเรียนรู้ และการพยายามดาเนินงาน
กาหนดภารหน้ าทีใ่ นการจัดทาผังนิทรรศการและแฟ้มผลงาน ควรให้ เวลากับ
นักเรียนอย่ างเพียงพอ
ให้ แต่ ละทีมหรือคณะทางาน นาเสนอข้ อสรุปต่ อห้ องเรียนเพือ่ หาข้ อตกลงและ
ตรวจสอบความถูกต้ องระหว่ างกลุ่ม
แจกผังให้ แต่ ละกลุ่มเพือ่ นาไปพัฒนา ตรวจสอบว่ ามีข้อมูลทีส่ าคัญในผังและแฟ้ม
ผลงาน
ขัน้ ตอนที่ 5 การนาเสนอผังนิทรรศการ







ทบทวนหลักการและแนวทางในการนาเสนองาน
ทบทวนขั้นตอนและกระบวนการนาเสนอโดยดูวธิ ีการจากหนังสื อโครงสร้ าง
สานึกพลเมืองทีแ่ จกให้ นักเรียนว่ ามีอะไรบ้ าง
ทบทวนเกณฑ์ การประเมินสาหรับการนาเสนอ โดยดูจากหนังสื อคู่มือของครู ว่ามี
อะไรบ้ าง
ให้ เวลากับทีมหรือคณะทางานทีจ่ ะวางแผนและฝึ กฝนการนาเสนอ
คัดเลือกสมาชิกในห้ องเพือ่ ให้ เป็ นผู้ประเมินการนาเสนอผลงาน
อธิบายวัตถุประสงค์ และแนวทางการประเมินให้ ผู้ประเมินทราบ
ดาเนินการรับฟังความความคิดเห็น
ขั้นตอนที่ 6 การสะท้ อนการเรียนรู้ จากประสบการณ์


ให้ นักเรียนหรือผู้เข้ ารับการอบรมกรอกแบบฟอร์ ม ดูจาก
หนังสื อโครงการสร้ างสานึกพลเมือง
เปิ ดให้ มกี ารแลกเปลีย่ นความคิดเห็นประสบการณ์ การเรียนรู้
จากทาโครงการ
Road to HANA
Road to Hana

The Hāna Highway (also known as the Hana Road or Road To Hana) is the name
given to the 68-mile (109 km) long stretch of Hawaii State Highways 36 and 360
which connect the population center of Kahului with the town of Hāna in east Maui.
On the east after Kalepa bridge, Hana Highway continues to Kīpahulu as Hawaii
Highway 31 (Piilani Highway), the first section of which is unofficially considered to
be part of Hāna Highway. Although Hāna is only about 52 miles (84
km) from Kahului, a typical trip to Hāna takes about three hours, as the road
is very winding and narrow and passes over 59 bridges, 46 of which are only onelane bridges, requiring oncoming traffic to yield and occasionally causing brief
traffic jams if two vehicles meet head-on. There are approximately 620 curves
along Highway 360 from just east of Kahului to Hana, virtually all of it through lush,
tropical rainforest. Many of the concrete and steel bridges date back to 1910 and
all but one are still in use. That one bridge, badly damaged by erosion, has been
replaced by a parallel structure by a portable steel Bailey bridge erected by the
United States Army Corps of Engineers. Signs on the old bridge warn pedestrians to
stay off due to imminent collapse
เนื้อหา (Substance)
วิธีการ (Procedure)
สามเหลี่ยมความก้าวหน้าของการจัดการความขัดแย้ง
Conflict Resolution Progress
Gregg B. Walkers
Oregon State University
เนื้อหา (Substance)
วิธีการ (Procedure)
ความสัมพันธ์ Relationship
สามเหลี่ยมความก้าวหน้าของการจัดการความขัดแย้ง
Conflict Resolution Progress
Gregg B. Walkers
Oregon State University
ความคาดหวัง
Hope/Expectation
ความกลัว
Fear
100 วัน
ความสาเร็จ กับ ทาเสร็จ
ผม ดิฉนั จะทาอะไรให้
สาเร็จภายใน 100 วันนี้
ปัญหาความกังวลใจ ความทุกข์ ส่วนใหญ่ เกิดขึน้ จากการ
พยายามทางานวันนี้ด้วยเครื่ องมือของวันวาน
“If we don’t know the way, any road will do”
“ถ้ าเส้ นทางทีม่ อี ยู่ไม่ สามารถพาเรากลับบ้ านได้
น่ าจะมี “ถนน” อืน่ ไหมทีช่ ่ วยให้ เราไปถึงบ้ าน”
“เราไม่ สามารถใช้ วธิ ีการเดิมๆ มาใช้ ในการแก้ ปัญหา
กับสภาพความเป็ นจริงใหม่ ได้ ”
Judge Huge Landerkin, Canada
ให้โอกาส
เชื่อใจ
เห็นผลสาเร็จ
มีพลัง
เห็นเป้ าหมาย
ร่ วมกัน
ประสานคน
มีส่วนร่ วม
“ภูมใิ จ”
ร่ วมมือกันทา
ไม่มีผดิ ไม่มีถูก
“เปิ ดใจ”
“ใจดี”
“สบายใจ”
วงจร “ใจ”
“ไว้ วางใจ”
มีขอ้ มูล
ฟังให้มาก
“ร่ วมใจ”
“จูงใจ”
ฟังความเป็ นจริ ง
“เข้ าใจ”
ร่ วมคิด
“เต็มใจ”
“จริงใจ”
วงจรใจการเข้ าถึงหัวใจแห่ งการเรียนรู้
ร่ วมตัดสิ นใจ
ที่มา:ดร.สมคิด แก้วทิพย์
ผูป้ ระสานงาน สกว. สานักงานภาค