หน่วยที่ 10 การเขียนโปรแกรมงานกลึงซีเอ็นซี 2

Download Report

Transcript หน่วยที่ 10 การเขียนโปรแกรมงานกลึงซีเอ็นซี 2

หน่ วยที่ 10
การเขียนโปรแกรมงานกลึงซีเอ็นซี 2
***********************************
สาระสาคัญ
ในการเขียนโปรแกรมงานกลึงซีเอ็นซี หลังจากที่ได้ ศึกษาและทา
ความเข้ าใจเกีย่ วกับแบบงานแล้ว จะต้ องกาหนดขั้นตอนการทางานอย่ าง
ละเอียดและชัดเจนเพือ่ ให้ ง่ายต่ อการทาโปรแกรม และสะดวกต่ อการเลือกใช้
เครื่องมือ การทางานแต่ ละขั้นตอนก็จะประกอบไปด้ วย การกลึงปาดผิวหน้ า
ชิ้นงาน กลึงปอกหยาบผิวชิ้นงาน กลึงเก็บละเอียดผิวงาน กลึงตัดชิ้นงาน
นอกจากนีแ้ ล้ วยังมีการกลึงเซาะร่ อง กลึงเกลียว งานเจาะรู ทั้งนีข้ นึ้ อยู่กบั
แบบงานทีก่ าหนดว่ าจะมีข้นั ตอนหรือกระบวนการผลิตอย่ างไร และยังรวม
ไปถึงเครื่องจักรทีใ่ ช้ ในการผลิตนั้นจะต้ องเลือกใช้ ให้ เหมาะสมกับงานไม่ เกิด
ความเสี ยหาย เพราะจะทาให้ ประสิ ทธิภาพในการทางานสู งและรวดเร็วขึน้
สาระการเรียนรู้
1. การเขียนโปรแกรมการกลึงเกลียว
2. การเขียนโปรแกรมการเจาะรู แบบครบวักจักรด้ วยคาสั่ ง G83
3. การเขียนโปรแกรมการกลึงคว้ านรู ในด้ วยคาสั่ ง G01
4. การเขียนโปรแกรมการกลึงเกลียวในแบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G31
5. การเขียนโปรแกรมการเซาะร่ อง บ่ าฉากด้ วยคาสั่ ง G01
6. การเขียนโปรแกรมโดยใช้ คาสั่ งรวม
7. การเขียนโปรแกรมด้ วยค่ าวัดแบบสั มพัทธ์
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
1. เขียนโปรแกรมการกลึงเกลียวได้
2. เขียนโปรแกรมการเจาะรู แบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G83 ได้
3. เขียนโปรแกรมการกลึงคว้ านรู ในด้ วยคาสั่ ง G01 ได้
4. เขียนโปรแกรมการกลึงเกลียวในแบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G31ได้
5. เขียนโปรแกรมการเซาะร่ อง บ่ าฉากด้ วยคาสั่ ง G01 ได้
6. เขียนโปรแกรมโดยใช้ คาสั่ งรวมได้
7. เขียนโปรแกรมด้ วยค่ าวัดแบบสั มพัทธ์ ได้
10.1 การเขียนโปรแกรมการกลึงเกลียว
10.1.1 ทิศทางการป้ อนลึกของมีดกลึงเกลียว
ปกติจะมีการป้อนลึกประมาณ 3-5 ครั้ง ความลึกที่
ป้ อนเข้ าไปสามารถป้ อนแบบตั้งฉากหรือขนานกับผิวด้ านข้ าง
ของเกลียวก็ได้ โดยเผือ่ ไว้ ประมาณ 5 องศา
รู ปที่ 10.1 การป้ อนมีดแบบตั้งฉากกับแนวแกนและการ
ป้อนมีดแบบขนานกับแนวด้ านข้ างของเกลียว
10.1.2 การกลึงเกลียวแบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G31
N…
N… G97……M3
N…G0 X26 Z5
N…G31 X16 Z-19 I0.25 K1.23 F2
ข้ อมูลทีป่ ้ อน
G97 = ค่ าความเร็วรอบคงที่
G31
X = ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางของเกลียว
Z = จุดสิ้นสุ ดของการกลึงเกลียว
I = ความลึกป้ อนกลึงแต่ ละครั้ง
K = ความลึกเกลียว
F = ระยะพิตช์ (P)
เมือ่ ใช้ คาสั่ ง G31 จะต้ องใช้ คาสั่ ง G97 เพือ่ เป็ นการรักษาค่ า
ความเร็วรอบให้ คงทีส่ าหรับในการตั้งระยะของจุดเริ่มต้ นกลึงเกลียวใน
แนวแกน X เท่ ากับขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางเกลียวขนาดความโตประมาณ
10 ม.ม.ในแนวแกน Z อย่างน้ อย 2 เท่ าของระยะพิตช์ และต้ องใช้ คาสั่ ง
M03 เพือ่ สั่ งให้ เพลางานหมุนตัดกับมีดกลึงเกลียวเนื่องจากเครื่องกลึง
ซีเอ็นซีมกี ารกาหนดเครื่องมือชนิดนีใ้ ห้ คมตัดอยู่ด้านล่ าง เมือ่ ต้ องการ
เกลียวขวาจึงจาเป็ นต้ องสั่ งเพลางานให้ หมุนตามเข็มนาฬิ กา
10.1.3 การกลึงตกร่ องบ่ าโคนเกลียวแบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G85
N…
N… G90 X60 Z1
N…G85 Z-64 I1.2 X5
ข้ อมูลทีป่ ้ อน
G85 (ตามมาตรฐาน DIN76)
Z = ระยะยาวสุ ดของร่ องโคนเกลียว
I = ความลึกตกร่ อง
K = ความกว้ างตกร่ อง
รู ปที่ 10.3 การกลึงตกร่ องบ่ าโคนเกลียวแบบครบวัฏจักร
ตัวอย่าง การกลึงเกลียวและกลึงตกร่ องบ่ าโคนเกลียวแบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง
G31 และ G85
วัสดุชิ้นงาน : 9SMu28K เครื่องมือ : T1 R = 0.8 ม.ม. T3 R = 0.4 ม.ม. T5 F =
4 T6 F = 5
รู ปที่ 10.4 ตัวอย่างการกลึงเกลียวและกลึงตกร่ องบ่ าโคนเกลียว
แบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G31 และ G85
ตารางที่ 10.1 ตัวอย่างการกลึงเกลียวและกลึงตกร่ องบ่ าโคนเกลียวแบบ
ครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G31 และ G85
กลึงปอกหยาบ
N
1
2
3
4
5
6
7
8
G X Z I
96
0 66 0.1
1 -1.6
1
0 64
81 49 -64.8 2.5
81 37 -29.8 2.5
0 150 50
K
F S T
0.4 160 1
M
4
8
9
กลึงสาเร็จ
N
9
10
11
12
13
14
15
16
17
G X Z
96
0
1
1 -0.8 0
88
85 36 -30
88
85 48 -65
87
0 64 50
150
I
3
2.9
3
3.5
3
K
F S
0.1 180
5
T
3
M
8
10
12.5
9
กลึงเกลียว
N
18
19
20
21
22
23
24
25
26
G
97
0
31
0
97
0
31
0
X
Z
I
K
F
S T
1061 5
46 8
36 -28 0.25 2.454 4
150 50
796
M
3
8
9
6
58 -20
48 -62.5 0.25 3.067 5
150 50
8
9
30
10.2 การเขียนโปรแกรมการเจาะรู แบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G83
N1….G97….T1…..M3
N2…..G90…..X0….Z1…..M8
N3….G1….Z-4
N4….G0….Z1
N5….X150….Z50….M9
ข้ อมูลทีป่ ้ อน G83
Z = ความลึกรู เจาะ
K = ความลึกป้อนเจาะแต่ ละ เทีย่ วเพือ่ คายเศษเจาะ
รู ปที่ 10.5 การเจาะรู แบบครบวัฏจักร
10.3 การเขียนโปรแกรมการกลึงคว้ านรู ในด้ วยคาสั่ ง G01
รู ปที่ 10.6 การกลึงคว้ านรู ด้วยคาสั่ ง G01
ตารางที่ 10.2 โปรแกรมการกลึงคว้านรู ดว้ ยคาสั่ง G01
---------> P1
P1———> P2
P2———> P3
P3———> P4
P4--------->
N
1
2
3
4
5
G X Z I K F S T M
0 26 2
0.3 18 6 4
1
0
23 95
0
15 2
30
0 50
10.4 การเขียนโปรแกรมการกลึงเกลียวในแบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G31
ข้ อมูลทีป่ ้ อน G31
X = ขนาดเกลียว
Z = ความยาวเกลียว
I = ความลึกป้ อนกลึงมากสุ ดในแต่ ละเทีย่ ว
K = ความลึกเกลียว
F = ระยะพิตช์ เกลียว
P = จุดเริ่มต้ นที่ X…48 – 10 ม.ม.
Z…10 ม.ม.
รู ปที่ 10.7 การกลึงเกลียวในแบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G31
ตารางที่ 10.3 โปรแกรมการกลึงเกลียวในแบบครบวัฏจักรด้ วยคาสั่ ง G31
N
G
X
Z
1
2
3
4
0
97
31
0
38
10
48
150
-50
50
I
K
0.5 3.07
F
S
T
M
1061 10
3
5
2
10.5 การเขียนโปรแกรมการเซาะร่ องบ่ าฉากด้ วยคาสั่ ง G01
รู ปที่ 10.8 การเซาะร่ องบ่ าฉากด้ วยคาสั่ ง G01
ตารางที่ 10.4 โปรแกรมการเซาะร่ องบ่ าฉากด้ วยคาสั่ ง G01
N
1
2
3
4
5
6
7
8
G
0
1
0
1
72
0
X
72
60
72
Z
40
-39.7
70
69.4 -40
-40.3
I
K
F
0.2
S
600
T
4
M
4
ตารางที่ 10.4 โปรแกรมการเซาะร่ องบ่ าฉากด้ วยคาสั่ ง G01 (ต่ อ)
N
9
10
11
12
G
1
X Z
70
69.4 -40
72
0 150 50
I
K
F
S
T
M
10.6 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ คาสั่ งรวม
กาหนดให้ ใช้ วสั ดุ 9S Mu 28 K และเครื่องมือตัด T1 มีดกลึง
ปอก R = 0.8 , T2 มีดกลึงปอก R = 0.8 T3 มีดกลึงลบคม = 0.4 , T3 มีด
กลึงลบคม R = 0.4 , T4 มีดกลึงโค้ ง W = 5 , T5 มีดกลึงลบคม F = 5
,T6 มีดกลึงคว้ านรู R = 0.8 , T7 ดอกเจาะนาศูนย์ , T8 ดอกสว่ านเจาะรู
Ø 16 , T9 ดอกสว่ านเจาะรู Ø 25 , T10 มีดกลึงเกลียวใน F = 3.5
รู ปที่ 10.9 การกลึงงานโดยใช้ คาสั่ งรวม
ตารางที่ 10.5 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ คาสั่ งรวม
กลึงปอก
N
1
2
3
4
5
G
0
96
81
81
81
X
100
Z
2
I
K
F
0.4
S
108
78
- 2.5
71 129.8 2.5
56
- 2.5 11.667
125.8
104.8
T
1
M
4
8
ตารางที่ 10.5 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ คาสั่ งรวม
N
กลึงลบคม 6
7
8
9
G X Z
81 49 -49
0 150 50
96
0 0 2
I
3
K
F
S
T
M
9
0.2 160 3
8
กลึงปอก
N
10
11
12
13
G
1
88
1
85
X
47
48
Z
0
I
K
F
10
3
11
0
12
-50 3.5 12.5 13
S
1
88
1
85
T
47
48
M
0
0
-50
กลึงเรียว
N
14
15
16
17
18
19
G
1
88
1
87
1
X
49
55
Z
-50
-70
70 -105
-130
84
I
3
4
K
F
S
T
M
กลึงโค้ ง
N
20
21
22
G
87
0
96
X Z
100
150 50
I
8
K
F
S
T
M
9
0.1 140
4
ตารางที่ 10.5 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ คาสั่ งรวม (ต่ อ)
N
กลึงเซาะ 23
ร่ อง
24
25
26
27
28
G
0
1
X Z I
102 -142
90
102 141.
100 7
99.7
-142
K
F
S
T
M
8
กลึงลบคม
ร่ อง
N
29
30
31
32
33
34
35
36
37
G
0
1
X
102
Z
142.3
100
99.7 -142
102
-155
90
102
100 154.7
I
K
F
S
T
M
กลึงลบคม
ร่ อง
N
38
39
40
41
42
43
44
45
46
G
X Z
99.7
102 -155
100
99.7
102
150
I
K
F
S
796
T
M
5
9
3
N G X Z I K F S T
กลึงเกลียว 47 0 58 10
นอก
48 31 48 - 0.5 3.07 5
49 0 150 48.5
50 97
50
0.2 2000 7
M
8
9
ตารางที่ 10.5 การเขียนโปรแกรมโดยใช้คาสั่งรวม (ต่อ)
N
เจาะนาศูนย์ 51
52
53
54
G
0
1
0
X
0
Z
2
-4
2
150 50
I
K
F
S
T
M
8
9
เจาะรู
N
55
56
57
58
59
60
61
62
G
97
0
83
0
97
0
83
0
X
Z
0
2
-70
50
150
0
150
2
-90
50
I
K
F S
0.25 800
0.25 800
T
9
8
M
8
20
9
40
8
4
กลึงปอก
N
63
64
65
66
G X Z
96
0 26.21 2
1 1 -62
24
I
K
F S T
0.4 140 6
M
9
8
N
กลึงเกลียว 67
ใน
68
69
70
71
72
G
0
X
Z
2
150 50
I
K
F
S
T
97
640 10
0 20 7
31 30 -62 0.3 1.894 3.5
0 150 50
M
9
8
3
10.7 การเขียนโปรแกรมด้ วยค่ าวัดแบบสั มพัทธ์
รู ปที่ 10.10 การกลึงงานด้วยค่าวัดแบบสัมััท์
ตารางที่ 10.6 ตัวอย่างการกลึงงานด้ วยค่ าวัดแบบสั มพัทธ์
---------> P1
Incremental
P1———> P2
P2———> P3
P3———> P4
P4———> P5
P5———> P6
P6———> P7
Absolute
P7---------->
N
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
G X Z I
0 48 2
96
1
-8
2
-6
2
-6
2
90
0 10 50
K F S T M
0.4 300 1 4
30