Transcript excel1

Microsoft Excel
โดย อ.ประภาพร เตชอังกูร
1
Microsoft Excel





เป็ นโปรแกรมตารางคานวณ หรื อ สเปรดชีต (Spread Sheet)
เป็ นส่ วนหนึ่งของโปรแกรม Microsoft Office
เหมาะสาหรับการจัดการเกี่ยวกับการคานวณ หาผลลัพธ์ การสร้างกราฟ
แผนภูมิ
Excel ยังสามารถป้ อนข้อความ แทรกรู ปภาพ และสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ
ของตัวเลข และการจัดการเกี่ยวกับตารางข้อมูลได้
Excel มีฟังก์ชนั ในการคานวณให้ผใู ้ ช้สามารถเลือกใช้มากมาย จึงทาให้
สามารถนามาใช้ในการวิเคราะห์คานวณค่าตัวเลขต่างๆได้สะดวก
2
การเข้ าสู่ การใช้ งานโปรแกรม Microsoft Excel
1.
นาเมาส์คลิกเมนู start ->programs-> Microsoft Excel
ดังรู ป
3
ส่ วนประกอบต่ างๆ ของ Excel เมื่อเปิ ดโปรแกรมขึน้ มา



แถบชื่อเรื่อง (Title Bar)
เป็ นส่ วนแสดงว่าเราใช้โปรแกรม Excel เปิ ดแฟ้ มชื่ออะไรอยู่
ปุ่ มควบคุมโปรแกรม (Control Button)
ใช้ควบคุมขนาดหน้าต่างโปรแกรม เช่น ย่อ ขยาย และปิ ด
แถบเมนู (Menu bar)
เป็ นการนาเอาคาสัง่ ที่ใช้บ่อยๆ มาสร้างเป็ นปุ่ ม เพื่อให้สะดวกต่อ
การเรี ยกใช้งาน
5
ส่ วนประกอบต่ างๆ ของ Excel เมื่อเปิ ดโปรแกรมขึน้ มา(ต่ อ)



แถบเครื่องมือ (Toolbar)
เป็ นการนาเอาคาสัง่ ที่ใช้บ่อยๆ มาสร้างเป็ นปุ่ ม เพื่อให้สะดวกต่อ
การเรี ยกใช้งาน
แถบสู ตร (Formula bar)
เป็ นแถบที่ใช้สาหรับให้กาหนดสูตรคานวณข้อมูล
ชีท หรือ เวิร์กชีต (Sheet or Work Sheet)
เป็ นพื้นที่ที่จะทางาน ซึ่ งจะมองเห็นเป็ นลักษณะตาราง โดยแต่ละ
ช่ องตารางจะเรี ยกว่า “เซลล์ (Cell)”
6
ส่ วนประกอบต่ างๆ ของ Excel เมื่อเปิ ดโปรแกรมขึน้ มา(ต่ อ)


แถบสถานะ (Status Bar)
ใช้แสดงสภาวะต่างๆ ของโปรแกรม เช่น การกดปุ่ มพิเศษ และการ
พิมพ์งานออกทางพริ นเตอร์ เป็ นต้น
แถบเลือ่ น (Scroll Bar)
ใช้เลื่อนไปยังพื้นที่ของเซลล์ที่ตอ้ งการที่ไม่สามารถแสดงให้เห็น
ทั้งหมดในหน้าจอได้
7
ส่ วนประกอบต่ างๆ ของ Excel เมื่อเปิ ดโปรแกรมขึน้ มา(ต่ อ)
ชื่อเซลล์ (Name Box) เป็ นช่องที่แสดงถึงการระบุตาแหน่งของเซลล์โดยจะ
แสดงตาแหน่งของเซลล์
เช่น ชื่อเซลล์ปรากฎชื่อ E3 ซึ่งชื่อเซลล์จะได้มาจากการนาชื่อหัวคอลัมน์ (Column
Name) มาต่อด้วย ชื่อแถว (Row Name) โดยจะต้องมีการอ่านบังคับตามลาดับ
เหมือนกับการอ่านจุดพิกดั บนแผนที่ ดังนั้น E3 หมายถึง เซลล์ E3 ที่เกิดจาก
คอลัมน์ E ตัดกับแถวที่ 3
 ชื่ อแถว (Row Name) เป็ นสิ่ งที่ใช้ในการกาหนดการอ้างอิงตาแหน่ งข้อมูลใน
แนวนอน
 ชื่ อคอลัมน์ (Column Name) เป็ นสิ่ งที่ใช้ในการกาหนดการอ้างอิงตาแหน่ ง
ข้อมูลในแนวตั้ง

8
แถบชื่อ
เรื่ อง
ชื่อ
เซล
ล์
แถบ
สูตร
แถบเมนู
ชื่อคอลัมน์
แถบ
เครื่ องมือ
ปุ่ มควบคุม
โปรแกรม
ชื่อ
แถว
แถบสถานะ
ชีต หรื อ Work
แถบเลื่อน
แถบงาน
เริ่มต้ นทางานกับ Work Sheet

ส่ วนประกอบต่ างๆ ของ Work Sheet
Work Sheet เป็ นพื้นที่ทางานที่เปรี ยบเสมือนเป็ นกระดาษที่สามารถป้ อน
ข้อมูลที่ตอ้ งการลงไปได้ แต่ Work Sheet ของโปรแกรม Excel จะมี
ความสามารถเหนื อกว่า กระดาษที่สามารถป้ อนข้อมูลเท่านั้น เพราะสามารถที่
จะแก้ไขข้อมูลได้ง่ายและคานวณได้ใน Work Sheet ด้วย
10
ส่ วนประกอบต่างๆ ของ Work Sheet ที่ควรรู้จกั ดังนี้


เซลล์ (Cell)
เป็ นช่องสาหรับใส่ ขอ้ มูล ภายในหนึ่งเซลล์จะมีขอ้ มูลได้เพียงแค่ตวั
เดียว โดยข้อมูลจะเป็ นตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ หรื อสู ตรต่างๆ
ตาแหน่ งกรอกข้ อมูล
ตาแหน่งกรอกข้อมูลจะเป็ นเซลล์ที่มีกรอบเข้มกว่าเซลล์อื่นเป็ น
พิเศษ เซลล์น้ ีเป็ นเซลล์ที่ผใู้ ช้สนใจจะแก้ไข หากผูใ้ ช้พิมพ์ขอ้ มูลลงไป
เซลล์น้ ีจะถูกแก้ไขทันที
11
ส่ วนประกอบต่างๆ ของ Work Sheet ที่ควรรู้จกั ดังนี้


คอลัมน์ (Column)
คือช่องข้อมูลที่เรี ยงอยูท่ างแนวตั้ง ใน Excel จะมีท้ งั หมด 256
คอลัมน์
หัวคอลัมน์ (Column Heading)
คือชื่อแทนช่องข้อมูลที่อยูใ่ นแนวตั้ง ใน Excel จะใช้ตวั อักษรภาษา
อังกฤษเป็ นชื่อคอลัมน์ เริ่ มตั้งแต่ A, B, C-Z แล้วต่อด้วย AA, AB ไป
จนถึง IV
12
ส่ วนประกอบต่างๆ ของ Work Sheet ที่ควรรู้จกั ดังนี้



แถว (row)
คือ ช่องข้อมูลที่เรี ยงอยูท่ างแนวนอน ใน Excel จะมีแถวทั้งหมด
65,536 แถว
หัวแถว (row Heading)
คือ ชื่อของช่องที่อยูใ่ นแนวนอนเดียวกัน ใน Excel ใช้ตวั เลขแทน
ชื่อของแถว เริ่ มไปตั้งแต่ 1 ไปจนถึง 65,536
ป้ายชื่อของเวิร์กชีต (Sheet Tab)
ใช้แสดงชื่อของเวิร์กชีตที่ผใู้ ช้ใช้งานอยูใ่ นขณะนี้
13
หัวคอลัมน์
หัว
แถว
ตาแหน่งกรอก
ข้อมูล
ป้ ายชื่อของ Work
การสร้ างWork Bookใหม่
คลิกที่เมนู File -> คลิก New
 บนแผ่นงาน New คลิก Blank workbook จะ
ปรากฏเป็ นworkbookเปล่าพร้อมใส่ ขอ้ มูล

15
16
การแทรก WorkSheet เพิ่ม


เราสามารถแทรก worksheet เพิ่มระหว่าง worksheet ที่มีอยูแ่ ล้ว
โดย worksheet ใหม่จะถูกแทรกไว้ทางซ้ายของ worksheet ที่ใช้
อยู่
วิธีการเพิ่ม worksheet มีดงั นี้
1. คลิกเมาส์เลือกแท็บชีตงานที่ตอ้ งการให้ worksheet ใหม่มา
แทรกอยูท่ างซ้าย
2. เลือก Insert -> worksheet เพื่อแทรก worksheet ใหม่
17
เกิด worksheet ใหม่
19
การบันทึกข้ อมูล



คลิกที่เมนู File -> คลิก Save หรื อ คลิกที่ปุ่ม Save บน
Standard toolbar หรื อ กด Ctrl + S ปรากฏกล่อง Save As
Dialog บนหน้าจอ
ถ้าต้องการเปลี่ยน folder หรื อ drive ใหม่ ในช่อง Save in คลิก
ที่ ▼ เพื่อเลือกตาแหน่งใหม่ที่ตอ้ งการ
ในช่อง File Name พิมพ์ชื่อไฟล์ที่ตอ้ งการบันทึก ในการตั้งชื่อ
ไม่ควรใช้ตวั อักษรพิเศษ \ / * < > และ | เป็ นส่ วนหนึ่งของชื่อ
ไฟล์
20
21
การบันทึกงานที่มีการแก้ไขและต้องการเปลี่ยนชื่อ
แฟ้ มข้อมูลเป็ นชื่ออื่น

คลิกที่เมนู File -> คลิก Save As จะปรากฏกล่อง Save As
Dialog หมายเหตุ ขั้นตอนต่อมาดูการบันทึกเอกสารใหม่
22
การเปิ ดงานที่มีอยู่
1.
2.
3.
คลิกที่เมนู File -> คลิก Open หรื อ คลิกที่ปุ่ม Open บน
Standard toolbar หรื อ กด Ctrl + O จะปรากฏกล่อง Open บน
หน้าจอ
เปลี่ยน folder หรื อ drive ใหม่ ในช่อง Look in คลิกที่ ▼ เพื่อ
ไปยัง folder ที่ไฟล์อยู่
ดับเบิ้ ลคลิ กที่ ไฟล์ที่ตอ้ งการ หรื อ คลิ กที่ ไฟล์ที่ตอ้ งการ ->
คลิกที่ปุ่ม Open
23
การสั่ งพิมพ์เอกสาร



คลิกเมนู File -> คลิก Print หรื อ กด Ctrl + P จะปรากฏกล่อง Print dialog
ในช่อง Name คลิกที่ ▼ เพื่อเลือกเครื่ องพิมพ์
ในกรอบ Page range เลือกหน้าเอกสารที่ตอ้ งการพิมพ์ โดยที่
 คลิก All
ถ้าต้องการพิมพ์ท้ งั เอกสาร
 คลิก Page(s) From: … To:… เป็ นการสัง่ พิมพ์งานเป็ นช่วงที่ตอ
้ งการ
โดยจะต้องกาหนดหน้าเริ่ มต้นในช่อง From และกาหนดหน้าสิ้ นสุ ดใน
ช่อง To
24
การสั่ งพิมพ์เอกสาร (ต่ อ)


ในส่ วน Print What เป็ นส่ วนที่สามารถกาหนดให้การพิมพ์สามารถทาได้สะดวกมากขึ้น
มีตวั เลือกดังนี้
 คลิก Selection สาหรับการสั่งพิมพ์เฉพาะส่ วนที่ได้มีการทาแถบสี หรื อเลือกไว้
 คลิก Entire Workbook สาหรับสั่งพิมพ์ทุก Work Sheet ที่มีอยูใ่ น WorkBook ที่เปิ ด
อยู่
 คลิก Active Sheet(s) สาหรับการสัง่ พิมพ์เฉพาะ Work Sheet ที่กาลัง่ ทางานอยูเ่ ท่านั้น
ในช่อง Number of copies คลิกที่ ▲ ( หรื อ ▼) เพื่อกาหนดจานวนสาเนาที่ตอ้ งการ
พิมพ์
 ที่ตวั เลือก Collate เป็ นการสั่งให้การพิมพ์ให้เอกสารออกเป็ นชุดเรี ยงหน้าที่ละชุด
หรื อพิมพ์เอกสาร แต่ละหน้าให้ครบจานวนสาเนาที่ละหน้า
คลิก OK เพื่อพิมพ์เอกสาร หรื อ คลิก Cancel เพื่อยกเลิกการพิมพ์
25

26
การกาหนดค่ าเริ่มต้ นให้ กบั Work Sheet ที่จะทางาน

การกาหนดหน้ ากระดาษและชนิดกระดาษ
1.
คลิกเมนู File -> Page Setup จะปรากฏกล่อง Page Setup Dialog
27
การกาหนดหน้ ากระดาษและชนิดกระดาษ (ต่ อ)
2. คลิกเลือกที่เมนูยอ่ ย Page
3. ในส่ วน Orientation จะให้ผใู ้ ช้เลือกรู ปแบบของกระดาษ แนวตั้ง (Portrait)
หรื อแนวนอน (Landscape)
4. ในส่ วน Scaling สามารถให้ผใู ้ ช้กาหนดการย่อหรื อขยายขนาดของ Work
Sheet ได้ที่ส่วนของ Adjust to:
และในส่ วน Fit to: สามารถที่จะกาหนดให้ขนาดของความสู งของหน้าที่
ต้องการให้เป็ นแบบคงที่ได้
28
การกาหนดหน้ ากระดาษและชนิดกระดาษ (ต่ อ)
5. ในส่ วน Paper size: สามารถให้ผใู ้ ช้กาหนดขนาดของกระดาษที่ตอ้ งการ
ทางานได้ เช่น A4, Letter, Legal
6. ในส่ วน Print Quality: สามารถให้ผใู ้ ช้กาหนดคุณภาพของการพิมพ์งานได้
(ขึ้นอยูก่ บั เครื่ องพิมพ์ดว้ ย)
7. เมื่อกาหนดได้ตามต้องการแล้ว คลิก OK เพื่อให้ Excel กาหนดตามที่
ต้องการ หรื อคลิก Cancel เพื่อยกเลิก
29
30
การกาหนดค่ าเริ่มต้ นให้ กบั Work Sheet ที่จะทางาน

การกาหนดระยะขอบของหน้ ากระดาษ
1.
คลิกเมนู File -> Page Setup จะปรากฏกล่อง Page Setup Dialog
31
การกาหนดระยะขอบของหน้ ากระดาษ(ต่ อ)
2. คลิกเลือกเมนูยอ่ ย Margins
3. ทาการกาหนดระยะขอบที่ตอ้ งการ
(อย่าลืมว่าตัวเลขที่กาหนดนี้หน่วยวัดเป็ น นิ้ว)
4. ในส่ วน Center On page เป็ นการกาหนดให้ตารางข้อมูลใน Work Sheet ให้
อยู่ตรงกลางพื้นที่กระดาษโดยสามารถกาหนดให้มีการอ้างอิงตามแนวตั้ง
(Vertically) หรื อให้อา้ งอิงตามแนวนอน (Horizontally) หรื อให้มีการอ้างอิง
ทั้ง ตามแนวตั้ง และแนวนอน ให้ ผู ้ใ ช้ ค ลิ ก ในช่ อ งสี่ เหลี่ ย มเพื่ อ
กาหนดการจัดตารางที่ตอ้ งการ
5. คลิก OK เพื่อให้ Excel กาหนดตามที่ตอ้ งการ หรื อคลิก Cancel เพื่อยกเลิก
32
33

การกาหนดค่ าเริ่มต้ นให้ กบั Work Sheet ที่จะทางาน
การกาหนดหัวกระดาษ (Header) และท้ ายกระดาษ (Footer)
1.
คลิกเมนู File -> Page Setup จะปรากฏกล่อง Page Setup Dialog
34
การกาหนดหัวกระดาษ (Header) และท้ ายกระดาษ (Footer)(ต่ อ)
2. คลิกเลือกเมนูยอ่ ย Header/Footer
3. เมื่อต้องการกาหนดในส่ วนหัวกระดาษ โดยเลือกรู ปแบบข้อความที่มีอยูแ่ ล้ว
ให้คลิกที่ ▼ เพื่อเลือกรู ปแบบข้อความที่ตอ้ งการ (ในการกาหนดท้าย
กระดาษก็ปฏิบตั ิเหมือนกันในส่ วนตัวเลือก Footer)
35
36
การกาหนดหัวกระดาษ (Header) และท้ ายกระดาษ (Footer)(ต่ อ)
4. หากต้องการกาหนดหัวกระดาษเอง ให้คลิกที่ปุ่ม Custom Header
แล้วจะปรากฎกล่อง Header Dialog
 สังเกตว่าจะมีส่วนที่ให้ผใู ้ ช้พิมพ์ขอ
้ ความ หรื อกาหนดใส่ หน้ากระดาษ
วัน เหมือนกับการกาหนดหัวกระดาษและท้ายกระดาษของโปรแกรม
Word เพียงแต่ ในโปรแกรม Excel จะมีการแบ่งพื้นที่ให้พิมพ์เป็ น 3
ส่ วน คือ Left Section เมื่อต้องการให้สิ่งที่พิมพ์ไปชิดซ้าย , Center
Section เมื่อต้องการให้สิ่งที่พิมพ์ไปอยูต่ รงกลางกระดาษ และ Right
Section เมื่อต้องการให้สิ่งที่พิมพ์ไปชิดขวา
 เมื่อกาหนดหัวกระดาษให้ได้ตามต้องการแล้ว คลิกปุ่ ม OK หรื อยกเลิก
คลิกปุ่ ม Cancel
37

Custom Header และ Custom Footer มี Tool ที่ใช้แต่งดังนี้

การกาหนดรู ปแบบ และขนาดตัวอักษร

Page(เลขหน้า) &[Page]

Pages(จานวนหน้าทั้งหมด) &[Pages]

Date(วันที่เครื่ อง) &[Date]

Time(เวลาเครื่ อง) &[Time]

พิมพ์ชื่อโฟลเดอร์และ Workbook &[Path]&[File]

File(ชื่อWorkbook) &[File]

Tab(ชื่อWorkSheet) &[Tab]

Picture(แทรกภาพจากไฟล์) &[Picture]

ปรับแต่งรู ปภาพ
ต้องการกาหนดหัวกระดาษเอง
39
การตั้งชื่อให้กบั worksheet
ในการทางานนั้นควรเปลี่ยน Worksheet ให้สอดคล้องกับข้อมูลที่
ป้ อน เพื่อช่วยให้เตือนความจาและทาให้การเรี ยกใช้ขอ้ มูลได้สะดวก
วิธีเปลี่ยนชื่อ Worksheet มีดงั นี้


1.
2.
3.
คลิกขวาที่แท็บชีตงาน
และคาสัง่ Rename
พิมพ์ชื่อ Worksheet ใหม่ และกด Enter
40
1. Click ขวา -> Rename
2. พิมพ์ชื่อ worksheet ใหม่ -> กด Enter
41
การใส่ ข้อมูลลงในเซลล์ ทีอ่ ยู่ใน Work Sheet

การใส่ ขอ้ มูลลงในเซลล์ จะเหมือนกับการพิมพ์ขอ้ มูลที่ตอ้ งการลงไป
ในเซลล์ที่ตอ้ งการ ปฏิบตั ิดงั นี้
 คลิกเซลล์ที่ตอ้ งการป้ อนข้อมูล
 ป้ อนข้อมูลที่ตอ้ งการลงในเซลล์
 ข้อมูลตัวอักษร (ชิดซ้ายของเซลล์, คานวณไม่ได้)
 ข้อมูลตัวเลข (ชิดขวาของเซลล์, คานวณได้)
 เมื่ อ ป้ อนข้อ มู ล จบแล้ว ให้ ก ดแป้ น enter หรื อ คลิ ก เมาส์ ที่
เซลล์อื่น
42
เทคนิคการปัดตัวหนังสื อทีย่ าวๆ
ให้ นาเสนอหลายๆ บรรทัดใน เซลเดียวกัน

ในบางครั้งเมื่อป้ อนข้อมูลที่มีความยาว เช่น ข้อความยาวๆ แต่มีขนาด
ความกว้างของเซลล์จากัดแต่ผใู้ ช้ตอ้ งการนาเสนอข้อความยาวๆ นั้นให้
สามารถนาเสนอในช่องเซลล์ได้ครบถ้วนไม่ขาดหาย ปฏิบตั ิดงั นี้
 เมื่ อพิมพ์ขอ
้ มูลในบรรทัดแรกในเซลล์ไปจนถึงขอบของเซลล์ ให้
กดปุ่ ม Alt +enter
 สั ง เกตจะมี ก ารเลื่ อ นบรรทัด ลงมาเป็ นบรรทัด ที่ ส อง แต่ ย งั อยู่ใ น
เซลล์เดียวกัน ดังรู ป
43
ข้อความ
ยาวๆ ที่ไม่
ใช้ Alt+enter
ข้อความ
ยาวๆ ที่ใช้
Alt+enter
รู ป แสดงลักษณะของเซลล์ที่มีขอ้ ความยาวๆ ที่ใช้
การเลือกเซลล์ กลุ่มเซลล์ ใน Work Sheet ทีต่ ้ องการ
มี 4 รู ปแบบดังนี้
 การ Drag เมาส์เพื่อกาหนดขอบเขตของข้อมูลที่ตอ้ งการ
 การเลือกทั้งแถว (Row)ติดกัน/แถวไม่ติดกัน
 การเลือกทั้งคอลัมน์ (Column) ติดกัน/ คอลัมน์ไม่ติดกัน
 การเลือกข้อมูลทั้ง Work Sheet
45
การเลือกเซลล์ กลุ่มเซลล์ ใน Work Sheet ทีต่ ้ องการ
1. การ Drag เมาส์เพื่อกาหนดขอบเขตของข้อมูลที่ตอ้ งการ
1.1 กลุ่มเซลล์ที่ติดกันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม
 คลิกเมาส์ปุ่มซ้ายค้างไว้ที่เซลล์เริ่ มต้นที่ตอ
้ งการ
 ทาการลากเมาส์ (Drag) ผ่านเซลล์ที่ตอ
้ งการทาแถบสี โดยยัง
ไม่ปล่อยคลิก
 เมื่อ Drag เมาส์ไปถึงเซลล์สุดท้ายที่ตอ
้ งการแล้วจึงปล่อยคลิก
สังเกตเซลล์ที่ได้ทาการ Drag จะเกิด แถบสี ข้ ึน ดังรู ป
46
47
การเลือกเซลล์ กลุ่มเซลล์ ใน Work Sheet ทีต่ ้ องการ
1. การ Drag เมาส์เพื่อกาหนดขอบเขตของข้อมูลที่ตอ้ งการ (ต่อ)
1.2 กลุ่มเซลล์ที่ไม่ติดกัน เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมมากกว่า 1 รู ป
ั กลุ่มเซลล์ที่ตอ้ งการเลือกกลุ่มแรก
 Drag เมาส์กบ
 กดปุ่ ม Ctrl ค้างไว้
ั กลุ่มเซลล์กลุ่มที่สองหรื อกลุ่มอื่นที่
 Drag เมาส์ กบ
ต้องการ สังเกตจะเกิดแถบสี เป็ นกลุ่มๆ ให้เห็น ดังรู ป
48
49
การเลือกเซลล์ กลุ่มเซลล์ ใน Work Sheet ทีต่ ้ องการ
2.
การเลือกทั้งแถว (Row)ติดกัน/แถวไม่ติดกัน
2.1 ถ้า Row ติดกัน
 Click ที่ชื่อ row แรกที่เลือกอาจเป็ น 1/2/3/...
 Drag ถึง row สุ ดท้าย
หรื อ กด Shift + Click row สุ ดท้าย
2.2 ถ้า Row ไม่ติดกัน
 กด Ctrl + Click row
50
การเลือกเซลล์ กลุ่มเซลล์ ใน Work Sheet ทีต่ ้ องการ
3.
การเลือกทั้งคอลัมน์ (Column)ติดกัน/ คอลัมน์ไม่ติดกัน
3.1 ถ้า Column ติดกัน
 Click ที่ชื่อ Column แรกที่เลือกอาจเป็ น A/B/C/…
 Drag ถึง Column สุ ดท้าย
หรื อ กด Shift + Click Column สุ ดท้าย
3.2 ถ้า Column ไม่ติดกัน
 กด Ctrl + Click Column
51
การเลือกเซลล์ กลุ่มเซลล์ ใน Work Sheet ทีต่ ้ องการ
4.
การเลือกข้อมูลทั้ง Work Sheet
 คลิกที่เซลล์มุมบนด้านซ้ายของจุดตัดกันของหัวแถวและหัวคอลัมน์ หรื อ
กดปุ่ ม Ctrl+A
คลิกที่ตรงนี้
52
การเพิม่ /ลดความกว้ าง และสู งของcolumnและrow



การเพิม่ /ลดความกว้ าง column / หลาย column
การเพิม่ /ลดความสู ง row / หลาย row
การปรับความกว้ าง / ความสู งทั้ง Work Sheet
53
การเพิม่ /ลดความกว้ าง และสู งของcolumnและrow

การเพิม่ /ลดความกว้ าง column / หลาย column
 เลือก column ติดกัน / กลุ่มห่ างกันก็ได้
(ถ้าจัด column เดียวไม่ตอ้ งเลือก column ก็ได้)
 ทาที่ชื่อ column ; เลื่อน mouse ไปที่รอยต่อ column จน mouse
pointer เปลี่ยนเป็ นหัว 2 ทาง แล้ว click drag ปรับความกว้าง ทุก
column ที่เลือก จะเลื่อนตาม
54
การเพิม่ /ลดความกว้ าง และสู งของcolumnและrow

การเพิม่ /ลดความสู ง row / หลาย row
 เลือก row ติดกัน / กลุ่มห่ างกันก็ได้
(ถ้าจัด row เดียวไม่ตอ้ งเลือก row ก็ได้)
 ทาที่ชื่อ row ; เลื่อน mouse ไปที่รอยต่อ row จน mouse pointer
เปลี่ยนเป็ นหัว 2 ทาง แล้ว click drag ปรับความกว้าง ทุก row ที่เลือก
จะเลื่อนตาม
55
การเพิม่ /ลดความกว้ าง และสู งของcolumnและrow

การปรับความกว้ าง / ความสู งทั้ง Work Sheet
 เลือกหมดทั้ง Worksheet
 เลื่อนปรับความกว้างของ column
และ ความสูงของ row ตามที่ กล่าวแล้ว
56
การแทรก/ ลบ row และ column

เลือก row หรือกลุ่มของ row ติดหรือไม่ ติดกันก็ได้



คลิกขวาเลือก Insert เพือ่ แทรก
คลิกขวาเลือก Delete เพือ่ ลบ
เลือก column หรือกลุ่มของ column ติดหรือไม่ ติดกันก็ได้


คลิกขวาเลือก Insert เพือ่ แทรก
คลิกขวาเลือก Delete เพือ่ ลบ
57
จบการใช้ โปรแกรม Microsoft Excel
ส่ วนที่ 1
58