ผู้แต่ง - มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น

Download Report

Transcript ผู้แต่ง - มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น

การอ้ างอิง
และ
การเขียนเอกสารอ้ างอิง
สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์ อสี เทอร์ น
การอ้ างอิง
 บอกแหล่ งทีม่ าของข้ อมูลแก่ ผู้อ่านให้ สามารถไปสื บค้ นข้ อมูล่่ อไป
 แสดงหลักฐานให้ เห็นว่ าผู้วจิ ัยได้ ทาการศึกษาค้ นคว้ ามาเป็ นอย่ างดี
 ทาให้ ผู้วจิ ัยเป็ นทีย่ อมรับ และน่ าเชื่อถือ
 ให้ เกียร่ิแก่ เจ้ าของผลงานเดิม
 แสดงเจ่นาบริสุทธิ์ของผู้วจิ ัย
รู ปแบบการอ้างอิง
มหาวิทยาลัยฟาร์ อสี เทอร์ น เลือกใช้ การอ้ างอิงรู ปแบบ APA
(The American Psychological Association)
ซึ่งพัฒนาขึน้ โดยสมาคมจิ่วิทยาอเมริกนั
นิยมใช้ ในงานเขียนด้ านสั งคมศาส่ร์ และวิทยาศาส่ร์
การนาข้ อมูลจากแหล่ ง่่ าง ๆ มากล่ าวอ้ าง
(Quotation)
ทาได้ 2 ลักษณะ
 การนามากล่ าวอ้ าง (Quotation) โดยไม่ ปรับเปลีย่ นข้ อความ
 การนามากล่ าวอ้ าง (Quotation) โดยมีการปรับเปลีย่ นข้ อความ
การนาข้ อมูลจมากล่ าวอ้ าง
(Quotation)
โดยไม่ ปรับเปลีย่ นข้ อความ
 ความเรียง หรือ ร้ อยกรอง ความยาวไม่ เกิน 4 บรรทัดให้ พมิ พ์่่อเนื่องไป
กับข้ อความอืน่ ๆ โดยกากับด้ วยเครื่องหมายอัญประกาศ “.....”
่ัวอย่าง
พระราชวรมุนี (2542, 24) อธิบายถึงที่มาของวิกฤ่เศรษฐกิจของประเทศไทย
เป็ นความเปรียบเทียบดังนี้ “พระพุทธเจ้ า่รัสว่ า คนไม่ มปี ัญญาก็เหมือนคน่าบอด
เปรียบไปได้ แม้ นบนไฟที่ส่องทาง...สั งคมไทยปัจจุบันเปรียบเหมือนคน่าบอด
เพราะทาลายความมัง่ คั่งในทางเศรษฐกิจให้ ย่อยยับไปในพริบ่า…”
การนาข้ อมูลจมากล่ าวอ้ าง
(่่ อ)
(Quotation)
โดยไม่ ปรับเปลีย่ นข้ อความ
 ความเรียงทีม่ ีความยาวเกิน 4 บรรทัดให้ พมิ พ์แยกให้ เห็นเด่ นชั ด
โดยเว้ นบรรทัดจากข้ อความอืน่ 1 บรรทัด ทั้งด้ านบนและด้ านล่ าง
และเว้ นระยะจากขอบเข้ ามา 1 tab หรือ 1.27 ซม.
การนาข้ อมูลจมากล่ าวอ้ าง
(่่ อ)
(Quotation)
โดยไม่ ปรับเปลีย่ นข้ อความ
่ัวอย่าง
เนื้อความตอนหนึ่งจากบทความเฉลิมพระเกียรติเรื่ อง พระมหาชนก: พระราชนิพนธ์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชฯ ความงามแห่งวรรณกรรมสยาม
ความงามแห่งพระราชหฤทัยของจิรวัฒน์ พิระสันต์ และวนิดา บารุ งไทย (2542, 11)
ได้กล่าวถึงบทบาทของพระมหาชนกโดยเปรี ยบเทียบกับพระราชกรณี ยกิจและ
พระราชวิริยะแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ว่า
บทบาทพระราชวิริยะของพระมหาชนกได้สะท้อนให้เห็นประจักษ์ใน
พระราชปณิ ธาน และพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
ที่ทรงเฝ้ าทุ่มทอดพระองค์เข้าสู่มหายุทธการแห่งการพัฒนาเพื่อประโยชน์
สุขของปวงประชาราษฎรเป็ นเวลายาวนานในท่ามกลางกระแสแห่งอวิชชา
ซึ่งดูประหนึ่งจะถาโถมเข้ามามิรู้สิ้นสุด...
การนาข้ อมูลจมากล่ าวอ้ าง
(่่ อ)
(Quotation)
โดยไม่ ปรับเปลีย่ นข้ อความ
 ร้ อยกรองทีม่ ีความยาวเกิน 4 บรรทัด ให้ พมิ พ์แยกให้ เห็นเด่ นชั ด
โดยพิมพ์ไว้ กลางหน้ ากระดาษ เว้ นบรรทัดจากข้ อความอืน่ 1 บรรทัด
ทั้งด้ านบนและด้ านล่ าง และระบุแหล่ งทีม่ าไว้ มุมขวาด้ านลางของ
ข้ อความ
การนาข้ อมูลจมากล่ าวอ้ าง
(่่ อ)
(Quotation)
โดยไม่ ปรับเปลีย่ นข้ อความ
่ัวอย่าง
แก้ วรู้ ไหม่ัวแก้ วนีม้ คี ่ า
กว่ าจะเ่ิบใหญ่ มาถึงบัดนี้
พ่ อกับแม่ ถนอมเลีย้ งเพียงชีวี
หยาดเหงือ่ พลีเพือ่ แก้ วมณีมีปริญญา
อย่ าทอดกายให้ ใครเขาง่ ายง่ าย
พ่ อจะโศกแม่ จะอายขายหน้ า
่ัวแก้ วเองก็จะเศร้ าเฉาวิญญา
เป็ นแก้ วร้ าวไร้ ราคาค่ าของคน
(วนิดา บารุงไทย, 2540, 15)
การนาข้ อมูลจมากล่ าวอ้ าง
(Quotation)
โดยมีการปรับเปลีย่ น
ข้ อความ
 การปรับเปลีย่ นสานวน แ่่ คงเนือ้ หาเดิม การถอดความ แปลความ จับ
ใจความ สรุปความ
สามารถทาได้ โดยไม่ ่้องใส่ เครื่องหมายใด ๆ หรือ ขึน้ ยอหน้ าใหม่
เพราะเป็ นสานวนของผู้วจิ ัยเอง แ่่ ่้องอ้ างอิงทีม่ าของข้ อมูล
่ัวอย่าง
รายการแบบออนไลน์ คือ ระบบรายการทรัพยากรสารสนเทศแบบอั่โนมั่ิ
รายละเอียดของรายการทรัพยากรสารสนเทศนีจ้ ัดเก็บไว้ ในรู ปแบบที่เครื่องอ่ านได้ และ
เข้ าถึงได้ ด้วยระบบออนไลน์ ผ่านหน้ าจอคอมพิวเ่อร์ (Matthews, Lawrence and
Ferguson, 1983, 5)
ประเภทของการอ้ างอิง
แบ่ งเป็ น 2 ประเภท
1.
2.
การอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง หรือการอ้ างอิงระบบนาม-ปี (In-text
citation or in-text references)
**เป็ นการบอกแหล่ งทีม่ าข้ อมูลแทรกไว้ ในเนือ้ หา โดยจะให้ ข้อมูล
ชื่อผู้แ่่ ง ปี ทีพ่ มิ พ์ และเลขหน้ า ไว้ หน้ าหรือท้ ายข้ อความ
การอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม (References)
**รายการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่องทุกรายการจะปรากฎในการอ้ างอิงส่ วน
ท้ ายเล่ ม โดยจะให้ ข้อมูลของวัสดุสารสนเทศนั้นอย่ างละเอียด
วิธีการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
แบ่ งเป็ น 2 วิธี
 การอ้ างอิงแบบเน้ นเนือ้ หาสาระ
่ัวอย่าง
ที่มาของวิกฤ่เศรษฐกิจของประเทศไทยสามารถอธิบายเป็ นความ
เปรียบเทียบดังนี้ “พระพุทธเจ้ า่รัสว่ า คนไม่ มปี ัญญาก็เหมือนคน่าบอด
เปรียบไปได้ แม้ นบนไฟที่ส่องทาง...สั งคมไทยปัจจุบันเปรียบเหมือนคน่าบอด
เพราะทาลายความมัง่ คั่งในทางเศรษฐกิจให้ ย่อยยับไปในพริบ่า…” (พระราชวรมุนี,
2542, 24)
วิธีการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง (่่ อ)
 การอ้างอิงแบบเน้นผูแ้ ต่ง (ผูแ้ ต่งเป็ นคนไทย)
่ัวอย่าง
รื่นฤทัย สั จจพันธุ์ (2544, 34) กล่ าวว่ า “วรรณคดีเรื่องลิล่ิ พระลอว่ าเป็ นวรรณคดี
โบราณเรื่องหนึ่งของไทยที่ประทับใจผู้คนไม่ รู้ ลมื มาเป็ นเวลายาวนานนับศ่วรรษ”
นับเป็ นการรับรองคุณค่ าของวรรณกรรมเรื่องนีใ้ นฐานะบทประพันธ์ คลาสสิ กของไทย
วิธีการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง (่่ อ)
 การอ้างอิงแบบเน้นผูแ้ ต่ง (ผูแ้ ต่งเป็ นชาวต่างชาติ)
่ัวอย่าง
Beacon (1960, 82) จาแนกแหล่ งสารสนเทศทางวิทยาศาส่ร์ และเทคโนโลยี
เป็ น 4 ประเภท คือ บุคคล องค์ การ วรรณกรรม และบริการสารสนเทศ
Mastrianna and Hailstones (2000, 128) explained that “Product
differentiation means that the products have either real or imagined
characteristics that identify the products as differing from each other”
หลักเกณฑ์ การลงรายการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
 ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่
 ปี ทีพ่ มิ พ์ / ปี ทีผ่ ลิ่ / ปี ทีป่ รากฏข้ อมูล
 เลขหน้ า
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่
 ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นบุคคล
ผู้แ่่ งจานวน 2 คน
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นคนไทย ลงชื่อและนามสกุลผู้แ่่ งคนแรก ใช้ “และ” คัน่
่ามด้ วยชื่อและนามสกุลผู้แ่่ งคนทีส่ อง
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นชาว่่ างชา่ิลงนามสกุลของผู้แ่่ งคนแรก ใช้ “and” หรือ
“&” คัน่ ่ามด้ วยนามสกุลของผู้แ่่ งคนทีส่ อง
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ผู้แ่่ งจานวน 3 – 5 คน
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นคนไทย
อ้ างอิงครั้งที่ 1 ลงชื่อ และนามสกุลของผู้แ่่ งทุกคนโดยใช้ “,” คัน่ ชื่อ
ผู้แ่่ งคนที่ 1- 4 และใช้ คาว่ า “และ” คัน่ ชื่อคนสุ ดท้ าย เช่ น
(ประสานสุ ข ละม่ อม, นันทา วิทวุฒิศักดิ์, ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ , สุ นิ่ย์ เย็น
สบาย และศรชัย เอีย่ มละออ, 2548, 25-30)
อ้ างอิงครั้งที่ 2 ให้ ลงเฉพาะชื่อ และนามสกุลของผู้แ่่ งคนแรก แล้ ว
่ามด้ วยข้ อความ “และคนอืน่ ๆ” เช่ น
(ประสานสุ ข ละม่ อม และคนอืน่ ๆ, 2548, 78)
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ผู้แ่่ งจานวน 3 – 5 คน (่่ อ)
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นชาว่่ างชา่ิ
อ้ างอิงครั้งที่ 1 ลงเฉพาะนามสกุลของผู้แ่่ งทุกคนโดยใช้ “,” คัน่ ชื่อผู้
แ่่ งคนที่ 1 - 4 และใช้ คาว่ า “and” หรือ “&” คัน่ ชื่อคนสุ ดท้ าย เช่ น
(Cate, Harris, Boswell, James & Peter, 1991, 6)
อ้ างอิงครั้งที่ 2 ลงเฉพาะนามสกุลของผู้แ่่ งคนแรก แล้ ว่ามด้ วยคาว่ า
“et al.” เช่ น
(Cate, et al., 1991, 20)
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ผู้แ่่ งมากกว่ า 5 คน
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นคนไทยให้ ลงเฉพาะชื่อ และนามสกุลของผู้แ่่ งคนแรก
แล้ ว่ามด้ วยข้ อความ “และคนอืน่ ๆ ”
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นชาว่่ างชา่ิ ให้ ลงเฉพาะนามสกุลของผู้แ่่ งคนแรก แล้ ว
่าม ด้ วยคาว่ า “et al.”
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
การลงรายการชื่อผู้แ่่ ง
ทีเ่ ป็ นคนไทยให้ ลงชื่อและนามสกุล, ผู้แ่่ งชาว่่ างชา่ิลงเฉพาะ
นามสกุล
โดย่ัด
คานาหน้ านาม (นาย นาง นางสาว)
่าแหน่ งทางวิชาการ (ผศ., รศ., ศ.)
คุณวุฒิ (ดร.)
ยศ (พล.อ.)
อาชีพ (เช่ น นายแพทย์ )
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
่ัวอย่ าง
นางสาวดวงใจ กวียะ
Mr. Edward J. Gibbon
รศ. ดร. นวนิ่ย์ อินทรามะ
พลเอกชวลิ่ ยงใจยุทธ
นายแพทย์ เหวง โ่จิราการ ลง
ลง
ดวงใจ กวียะ
ลง
Gibbon
ลง
นวนิ่ย์ อินทรามะ
ลง
ชวลิ่ ยงใจยุทธ
เหวง โ่จิราการ
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ผู้แ่่ งทีม่ ีฐานันดรศักดิ์ (พระมหากษั่ริย์ พระราชินี พระบรมวงศานุ
วงศ์ ) ผู้แ่่ งมีบรรดาศักดิ์ (หลวง, พระยา, ม.ร.ว., คุณหญิง) ให้
ลงฐานันดรศักดิ์ หรือบรรดาศักดิ์่ามด้ วยชื่อ และนามสกุล โดยไม่ ่้อง
่ัดทิง้ หรือย้ ายที่
่ัวอย่ าง
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช
พระยาอนุมานราชธน
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ผู้แ่่ งทีม่ ีนามแฝง ให้ ลง่ามนามแฝงนั้น
เช่ น นายราคาญ
วัสดุสารสนเทศทีไ่ ม่ มีชื่อผู้แ่่ ง ให้ ลงชื่อบรรณาธิการ หรือผู้รวบรวมโดย
ไม่ ่้องระบุว่า (บก.) (ผู้รวบรวม) (Ed.) (Eds.) หรือ (Comp.) ่่ อท้ ายชื่อ
เช่ น เอือ้ มพร สกุลแก้ ว
ในกรณีไม่ ปรากฎทั้งชื่อผู้แ่่ งและผู้รวบรวม ให้ ลงชื่อเรื่องของวัสดุ
สารสนเทศนั้นเลย
เช่ น แผนการศึกษาแห่ งชา่ิ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540-2544
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
 ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นสถาบัน
หน่ วยงานราชการ สมาคม สโมสร หรือบริษัท ให้ ลงชื่อหน่ วยงาน
ใหญ่ ก่อนแล้ ว่ามด้ วยหน่ วยงานรอง เช่ น
กรมสรรพากร กองนโยบายและแผนงาน
มหาวิทยาลัยฟาร์ อสี เทอร์ น คณะบริหารธุรกิจ
ยกเว้ น หน่ วยงานเป็ นทีร่ ู้ จักสามารถลงชื่อหน่ วยงานนั้นได้ เลย เช่ น
หอสมุดแห่ งชา่ิ
ธนาคารแห่ งประเทศไทย
ชื่อผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ในกรณีทอี่ งค์ กร หรือหน่ วยงานมีชื่อย่ อ การอ้ างอิงครั้งแรกให้ ระบุ
ชื่อเ่็ม และระบุชื่อย่ อในวงเล็บเหลีย่ ม เพือ่ นาไปอ้ างอิงครั้ง่่ อไป เช่ น
อ้ างครั้งแรก
สานักงานส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม [สสว.]
อ้ างครั้ง่่ อไป
[สสว.]
ปี ที่พมิ พ์ /ปี ที่ผลิ่/ปี ที่ปรากฏข้ อมูล
 ลงปี ทีพ่ มิ พ์โดยไม่ ่้องระบุคาว่ า พ.ศ. หรือ ค.ศ.
(ทิศนา แขมมณี, 2553, 60)
 ถ้ าไม่ ปรากฎปี ทีพ่ มิ พ์
- ภาษาไทย ใช้ “ม.ป.ป.” หมายถึง
ไม่ ปรากฎปี ทีพ่ มิ พ์
(่ะวัน สาดแสง, ม.ป.ป., 12) อ้ างอิงแบบเน้ นเนือ้ หา
่ะวัน สาดแสง (ม.ป.ป., 12) อ้ างอิงแบบเน้ นผู้แ่่ ง
- ภาษาอังกฤษ ใช้ “n.d.”
หมายถึง
no date
(Mayer, n.d., 35)
เลขหน้ า
 ใส่ เลขหน้ าทีอ่ ้ างอิงโดยไม่ ่้องระบุคาว่ า “หน้ า” หรือ “P.”
่ัวอย่ าง
อ้ างอิงแบบเน้ นผู้แ่่ ง
ว. วชิรเมธี (2552, 64) .........ข้ อความ..........
จันทร์ ชุ่ มเมืองปัก (2546, 85 – 86) .........ข้ อความ..........
อ้ างอิงแบบเน้ นเนือ้ หา
.......ข้ อความ........(นิมิ่ เทียมทัน, 2549, 32)
หลักเกณฑ์ การลงรายการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม







ผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่
ปี ทีพ่ มิ พ์ /ปี ทีผ่ ลิ่/ปี ทีป่ รากฎข้ อมูล
ชื่อเรื่อง
ชื่อชุ ด (Series)
จานวนเล่ ม
ครั้งทีพ่ มิ พ์
ข้ อมูลเกีย่ วกับการพิมพ์
ผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่
 ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นบุคคล
ผู้แ่่ งจานวน 2 คน
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นคนไทย ลงชื่อ และนามสกุลของผู้แ่่ งทุกคนโดยใช้ คาว่ า
“และ” คัน่ ระหว่ างชื่อผู้แ่่ ง และนามสกุลของผู้แ่่ งคนที่ 1 และผู้แ่่ งคน
ที่ 2
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นชาว่่ างชา่ิ ลงนามสกุล และอักษรย่ อชื่อ่้ น และอักษร
ย่ อชื่อกลาง (ถ้ ามี) ของผู้แ่่ งทุกคน โดยใช้ คาว่ า “and” หรือ “&” คัน่
ระหว่ างผู้แ่่ งคนที่ 1 และคนที่ 2
ผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ผู้แ่่ งจานวน 3 - 7 คน
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นคนไทย ลงชื่อ และนามสกุลของผู้แ่่ งทุกคน โดยใช้ “,”
ระหว่ างผู้แ่่ งคนที่ 1- 6 ใช้ “และ” คัน่ ชื่อผู้แ่่ งคนสุ ดท้ าย
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นชาว่่ างชา่ิ ลงนามสกุล อักษรย่ อชื่อ่้ น และอักษรย่ อชื่อ
กลาง (ถ้ ามี) ของผู้แ่่ งทุกคนโดยใช้ “,” คัน่ ระหว่ างผู้แ่่ งคนที่ 1- 6 และ
ใช้ “and” หรือ “&” คัน่ ชื่อผู้แ่่ ง คนสุ ดท้ าย
ผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ผู้แ่่ งมากกว่ า 7 คน
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นคนไทย ลงชื่อ และนามสกุลของผู้แ่่ งเจ็ดคนแรก ่าม
ด้ วยเครื่องหมายจุดไข่ ปลาสามจุด (…) แล้ ว่ามด้ วยชื่อ และ
นามสกุลของผู้แ่่ งคนสุ ดท้ าย
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นชาว่่ างชา่ิ ให้ ลงนามสกุล อักษย่ อชื่อ่้ น และอักษรย่ อ
ชื่อกลาง (ถ้ ามี) ของผู้แ่่ งเจ็ดคนแรก่ามด้ วยเครื่องหมายจุดไข่ ปลา
สามจุด (…) แล้ ว่ามด้ วยนามสกุล อักษรย่ อชื่อ่้ น และอักษรย่ อ
ชื่อกลางของผู้แ่่ งคนสุ ดท้ าย
ผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
การลงรายการชื่อผู้แ่่ ง
ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นคนไทยให้ ลงชื่อและนามสกุล, ผู้แ่่ งชาว่่ างชา่ิลง
นามสกุล คัน่ ด้ วย “,” แล้ วลงอักษรย่ อ่้ น และอักษรย่ อชื่อกลาง
(ถ้ ามี)
โดย่ัด คานาหน้ านาม (นาย นาง นางสาว)
่าแหน่ งทางวิชาการ (ผศ., รศ., ศ.)
คุณวุฒิ (ดร.)
ยศ (พล.อ.)
อาชีพ (เช่ น นายแพทย์ )
ผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ผู้แ่่ งทีม่ ีฐานันดรศักดิ์ เช่ น พระมหากษั่ริย์ พระราชินี พระบรมวงศานุ
วงศ์ และผู้แ่่ งทีม่ บี รรดาศักดิ์ (เช่ น หลวง, พระยา) ให้ ลงชื่อ คัน่ ด้ วย “,”
เว้ น 1 เคาะ แล้ วจึงลงฐานันดรศักดิ์ หรือบรรดาศักดิ์
่ัวอย่ าง
ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
เสนีย์ ปราโมช, ม.ร.ว.
อนุมานราชธน, พระยา
ผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
ผู้แ่่ งทีม่ ีนามแฝง หากทราบนามจริงให้ วงเล็บนามจริงไว้ ถ้ าไม่ ทราบนาม
จริงให้ ระบุ คาว่ า “นามแฝง” ไว้ ในวงเล็บ่่ อท้ ายนามแฝงนั้น เช่ น
ทมยัน่ี (วิมล เจียมเจริญ)
นายราคาญ (นามแฝง)
 วัสดุสารสนเทศทีไ่ ม่ มีชื่อผู้แ่่ ง ให้ ลงชื่อบรรณาธิการ หรือผู้รวบรวม
่ามด้ วย (บก.) หรือ (ผู้รวบรวม) สาหรับภาษาไทย (Ed.) หรือ (Eds.)
หรือ (Comp.) สาหรับภาษาอังกฤษ เช่ น
Gootnick, David E. (Ed.)
ผู้แ่่ ง/ผู้ผลิ่ (่่ อ)
 ในกรณีทไี่ ม่ ปรากฎทั้งชื่อผู้แ่่ งและผู้รวบรวม ให้ ลงชื่อเรื่อง เช่ น
แผนการศึกษาแห่ งชา่ิ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540-2544
 ผู้แ่่ งทีเ่ ป็ นสถาบัน เช่ น หน่ วยงานราชการ สมาคม สโมสร หรือบริษัท
ให้ ลงชื่อหน่ วยงานใหญ่ แล้ ว่ามด้ วยหน่ วยงานรอง ยกเว้ นหน่ วยงานเป็ น
ทีร่ ู้ จักให้ ลงชื่อหน่ วยงานนั้นได้ เลย
กรมสรรพากร กองนโยบายและแผนงาน
ธนาคารแห่ งประเทศไทย
ปี ที่พมิ พ์ /ปี ที่ผลิ่/ปี ที่ปรากฎข้ อมูล
 ลงปี ทีพ่ มิ พ์โดยไม่ ่้องระบุคาว่ า พ.ศ. หรือ ค.ศ.
 ถ้ าไม่ ปรากฎปี ทีพ่ มิ พ์
- ภาษาไทย ใช้ “ม.ป.ป.”
- ภาษาอังกฤษ ใช้ “n.d.”
หมายถึง
หมายถึง
ไม่ ปรากฎปี ทีพ่ มิ พ์
no date
ชื่อเรื่อง
 ลงชื่อเรื่อง่ามทีป่ รากฎในหน้ าปกใน
 ชื่อเรื่องภาษาไทยทีม่ ีชื่อเรื่องภาษาอังกฤษกากับให้ ลงเฉพาะชื่อเรื่อง
ภาษาไทย
 ถ้ าเป็ นชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ให้ พมิ พ์ชื่อเรื่องด้ วย่ัวพิมพ์ใหญ่ เฉพาะ่ัว
อักษรแรกของชื่อเรื่องหลัก และชื่อเรื่องรอง
 พิมพ์ด้วย่ัวหนา
ชื่อชุ ด
 ชื่อชุดของวัสดุสารสนเทศ ถ้ามีขอ้ ความเด่นชัดและมีความสาคัญให้ใส่
ชื่อชุดหรื อ ลาดับที่ของวัสดุสารสนเทศต่อจากรายการชื่อเรื่ อง เช่น
ผลไม้ เมืองไทย. ชุดความรู ้ไทย ลาดับที่ 3015
การดูแลรักษาผู้ป่วยทีห่ มดหวัง. โครงการตารา-ศิริราช รายการที่ 34
จานวนเล่ ม
 กรณี วสั ดุสารสนเทศที่นามาอ้างอิงมีหลายเล่มจบ แล้วนามาอ้างอิงเพียง
เล่มเดียวให้ระบุหมายเลขเล่มอยูใ่ นเครื่ องหมายวงเล็บต่อท้ายชื่อวัสดุ
สารสนเทศ
ชุ ดส่ งเสริมการท่ องเทีย่ ว (เล่ม 2)
 ถ้านามาอ้างอิงตั้งแต่ 2 เล่มขึ้นไปให้ระบุจานวนเล่มทั้งหมดอยูใ่ น
เครื่ องหมายวงเล็บต่อท้ายชื่อเรื่ อง เช่น
ชุ ดส่ งเสริมการท่ องเทีย่ ว (10 เล่ม)
ครั้งที่พมิ พ์
 ลงรายการครั้งทีพ่ มิ พ์่้งั แ่่ การพิมพ์ครั้งที่ 2 เป็ น่้ นไป เช่ น
พิมพ์ครั้งที่ 2
2nd ed.
ข้ อมูลเกีย่ วกับการพิมพ์
ประกอบด้วย 2 ส่ วน
 สถานที่พิมพ์
 สานักพิมพ์
ข้ อมูลเกีย่ วกับการพิมพ์
 สถานทีพ่ มิ พ์
- ลงชื่อเมืองทีส่ านักพิมพ์หรือโรงพิมพ์่้งั อยู่ ถ้ าเมืองนั้นไม่ เป็ นทีร่ ู้ จัก
หรือชื่อซ้ากันให้ ระบุชื่อรัฐหรื่อชื่อประเทศกากับ
Princeton, NJ
Oxford, England
- ไม่ ปรากฎสถานที่พมิ พ์
ภาษาไทย
ใช้ “ม.ป.ท.” หมายถึง ไม่ ปรากฎสถานที่พมิ พ์
ภาษาอังกฤษ
ใช้ “n.p.” หมายถึง no place
ข้ อมูลเกีย่ วกับการพิมพ์(่่ อ)
 สานักพิมพ์
- ลง่ามทีป่ รากฏในหน้ าปกใน โดย่ัดคาว่ า สานักพิมพ์ , ห้ างหุ้นส่ วน,
บริษัท, Publishers, Press, Company, Inc., Ltd.
สาพิมพ์แพร่ พทิ ยา
ลงว่ า
แพร่ พทิ ยา
The H.W. Wilson Company ลงว่ า
H.W. Wilson
- ไม่ ปรากฏสานักพิมพ์ ลงชื่อโรงพิมพ์โดยไม่ ่้อง่ัดคาว่ า “โรงพิมพ์”
ออก
โรงพิมพ์คุรุสภา
ข้ อมูลเกีย่ วกับการพิมพ์(่่ อ)
- ไม่ ปรากฏทั้งสานักพิมพ์และโรงพิมพ์
ภาษาไทย
ใช้ “ม.ป.พ.” หมายถึง ไม่ ปรากฎสานักพิมพ์
ภาษาอังกฤษ ใช้ “n.p.”
หมายถึง no publisher
รู ปแบบการอ้างอิง







หนังสื อทีม่ ีชื่อผู้แ่่ ง
หนังสื อทีไ่ ม่ มีชื่อผู้แ่่ ง แ่่ มีชื่อบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม
หนังสื อทีไ่ ม่ มีท้งั ผู้แ่่ ง และบรรณาธิการ
หนังสื อทีม่ ีผู้แ่่ งเป็ นสถาบัน
การอ้ างอิงหนังสื อหลายเล่ มพร้ อมกัน
การอ้ างอิงเอกสารทุ่ยิ ภูมิ
หนังสื อแปล
รู ปแบบการอ้างอิง (่่ อ)







งานวิจัย
วิทยานิพนธ์
บทความวารสารวิชาการ
บทความจากหนังสื อพิมพ์
โส่ทัศนวัสดุ
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
สารสนเทศบนอินเทอร์ เน็่
หนังสื อที่มีชื่อผู้แ่่ ง
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อผูแ้ ต่ง,/ปี ทีพิมพ์,/เลขหน้าที่อา้ ง
ถึง)
(Cate, Harris, Boswell, James & Peter, 1991, 6)
(ประสานสุ ข ละม่ อม และคนอืน่ ๆ, 2548, 60)
(Bernstein et al., 1965, 3)
(ปัญญา โพธิฐิ่ิรั่น์ และกิ่่ิพงษ์ ศิริวานิชกุล, 2538, 48-51)
หนังสื อที่มีชื่อผู้แ่่ ง (่่ อ)
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์)./ชื่อหนังสื อ./ชื่อชุดหรื อลาดับที่ของเอกสาร./(จานวน
เล่มหรื อ
ครั้งที่พิมพ์)./สถานที่พิมพ์:/สานักพิมพ์.
ไพรัช ธัชยพงษ์. (2541). การพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานสารสนเทศแห่ งชา่ิเพือ่
การศึกษา. กรุ งเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
Cates, A. R., Harris, D. L., Boswell, W., James, W. L., Thomas, M.L., Fobes, S. L.
& Peters, A.V. (1991). Trance and clay therapy. Chicago: Chicago
University.
หนังสื อไม่ มีชื่อผู้แ่่ ง แ่่ มีชื่อบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อบรรณาธิการหรื อผูร้ วบรวม,/ปี ที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อา้ งถึง)
(สันติ อรุ ณวิจิตร, 2547, 15)
(Smith, 1983, 2)
หนังสื อไม่ มชี ื่อผู้แ่่ ง แ่่ มชี ื่อบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม(่่ อ)
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ชื่อบรรณาธิการ/(บก.)./(ปี ที่พิมพ์)./ชื่อหนังสื อ./ชื่อชุดหรื อลาดับที่ของเอกสาร.
(จานวนเล่มหรื อครั้งที่พิมพ์)./สถานที่พิมพ์:/สานักพิมพ์.
สุ ทธิวงศ์ พงษ์ไพบูลย์. (บก.). (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใ่้ .
สงขลา: สถาบันทักษิณคดีศึกษา.
Smith, A. D. (Ed.). (1986). Endourology principle and practice. New
York: Thieme.
หนังสื อที่ไม่ มีท้งั ผู้แ่่ ง และบรรณาธิการ
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อเรื่ อง,/ปี ที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อา้ งถึง)
(ประมวลรัษฎากร ฉบับสมบูรณ์, 2550, 10)
(Globalization, 2005, 44)
หนังสื อที่ไม่ มีท้งั ผู้แ่่ งและบรรณาธิการ (่่ อ)
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ชื่อหนังสื อ./ชื่อชุดหรื อลาดับที่ของเอกสาร./(ปี ที่พิมพ์)./(จานวนเล่มหรื อครั้งที่
พิมพ์)./สถานที่พิมพ์:/สานักพิมพ์.
ประมวลรัษฎากร ฉบับสมบูรณ์ 2550. (2550). กรุ งเทพฯ: ธรรมนิติการ
บัญชี และภาษีอากร.
Fedding the dragon: Agriculture-China and the GMS. (2009).
Chiang Mai: Chiang Mai University.
หนังสื อที่มีผู้แ่่ งเป็ นสถาบัน
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อสถาบัน,/ปี ทีพิมพ์,/เลขหน้าที่อา้ ง
ถึง)
(สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย [สกว.], 2540, 6)
(American Psychological Association [APA], 2001, 50)
(สกว., 2540, 10)
(APA, 2001, 60)
หนังสื อที่มีผู้แ่่ งเป็ นสถาบัน (่่ อ)
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ชื่อสถาบัน./(ปี ที่พิมพ์)./ชื่อหนังสื อ./ชื่อชุดหรื อลาดับที่ของเอกสาร./(จานวนเล่มหรื อ
ครั้งที่พิมพ์)./สถานที่พิมพ์:/สานักพิมพ์.
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . (2540). จุดจบรัฐชา่ิสู่ ชุมชน
ประชาธิปไ่ย. กรุ งเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั .
การอ้ างอิงหนังสื อหลายเล่ มพร้ อมกัน
 หนังสื อหลายเล่ มของผู้แ่่ งคนเดียวกัน แ่่ ปีพิมพ์่่างกัน
(นลินี บริรักษา, 2526, 2 ; 2528, 6 ; 2533, 44)
 หนังสื อหลายเล่ มของผู้แ่่ งหลายคน
(ลายอง บัวเพ็ชร, 2539, 35 ; สมพร วรเกษม, 2538, 85)
การอ้ างอิงเอกสารทุ่ยิ ภูมิ
ทาได้ 2 วิธี
 ถ้ าให้ ความสาคัญของเอกสารปฐมภูมิมากกว่ าให้ ขนึ้ ่้ นด้ วยชื่อผู้แ่่ งของ
เอกสารฉบับปฐมภูมิ และใช้ คาว่ า “อ้ างถึงใน” หรือ “กล่ าวถึงใน” (cited
in หรือ cited by) ่ามด้ วยผู้แ่่ งเอกสารทุ่ยิ ภูมิ
(Kotler, 2001, 106 อ้ างถึงใน เสรี วงศ์ มณฑา, 2549, 30)
(Willer, 1987, 35 cited in Kate, 1991, 20)
การอ้ างอิงเอกสารทุ่ยิ ภูมิ (่่ อ)
 ถ้ าให้ ความสาคัญหรือ่้ องการเน้ นเอกสารทุ่ยิ ภูมากกว่ าให้ ขนึ้ ่้ นด้ วย
เอกสารทุ่ยิ ภูมิ และใช้ คาว่ า “อ้ างจาก” หรือ “กล่ าวจาก” หรือ “citing”
สาหรับภาษาอังกฤษ
(วารุณี มีสวัสดิ์, 2529, 56 กล่ าวจาก รั่นา ศรีไพบูลย์ , 2525, 78)
(David, 1989, 28 citing Nancy, 1983, 235)
หนังสื อแปล
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อผูแ้ ปล,/ปี ทีพิมพ์,/เลขหน้าที่อา้ ง
ถึง)
(นพดล เวชสวัสดิ์, 2539, 48)
(Helberd, 1995, 90)
หนังสื อแปล (่่ อ)
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ชื่อผูแ้ ปล./(ผูแ้ ปล)./(ปี ที่พิมพ์)./ชื่อหนังสื อ./[ชื่อเรื่องเดิม-ถ้ ามี]./ชื่อชุดหรื อ
ลาดับที่ของเอกสาร./(จานวนเล่มหรื อครั้งที่พิมพ์)./สถานที่พิมพ์:/
สานักพิมพ์.
นภดล เวชสวัสดิ์. (ผูแ้ ปล). (2539). เส้ นทางสู่ อนาค่. [The road ahead].
กรุ งเทพฯ: อมริ นทร์พริ้ นติ้ง.
Helberd, L. A. (Tran.). (1995). Redeveloping mature resort for new
markets. New York: Harper.
งานวิจัย
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อผูว้ ิจยั ,/ปี ที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อา้ งถึง)
(บุญมา พงษ์ โหมด, ชุ ่นิ ันท์ บุญฉ่า, คนึงนิ่ย์ ชื่นค้ า และอมรา ปัญญา, 2542, 4)
(Mazzeo, Druesne & Raffeld, 1991, 35)
งานวิจัย (่่ อ)
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ชื่อผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./สถานที่พิมพ์:/สานักพิมพ์.
บุญมา พงษ์โหมด, ชุตินนั ท์ บุญฉ่ า, คนึงนิตย์ ชื่นค้า และอมรา ปัญญา. (2542).
งานวิจัยเรื่องการศึกษาสภาพแวดล้ อมวัดโสธรวรารามวรวิหาร.
ฉะเชิงเทรา: สถาบันราชภัฎราชนคริ นทร์ .
วิทยานิพนธ์
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อผูแ้ ต่ง,/ปี ที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อา้ งถึง)
(พรศรี สุ ขสวัสดิ์, 2533, 4)
(Suchitra Unhaleakhaka, 1978, 61)
วิทยานิพนธ์ (่่ อ)
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์)./ชื่อวิทยานิพนธ์ ./ระดับวิทยานิพนธ์ ชื่อสาขาวิชา คณะ
มหาวิทยาลัย.
พรศรี สุ ขสวัสดิ์. (2533). เหุ่ผลในการเลือกเรียนวิชาบรรณารักษศาส่ร์ ของ
นักศึกษาปริญญา่รีในมหาวิทยาลัยของรัฐและวิทยาลัยครู .
วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะ
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร.
บทความวารสารวิชาการ
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อผูแ้ ต่ง,/ปี ที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อา้ งถึง)
(สี ปาน ทรัพย์ ทอง, 2543, 20-22)
(Tenopir, 2002, 40)
บทความวารสารวิชาการ
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร./ปี ที่หรื อเล่มที่/(ฉบับที่),/
เลขหน้าเริ่ มต้น – หน้าสุ ดท้ายของบทความ.
สี ปาน ทรัพย์ทอง. (2543). บริ การนาส่ งเอกสาร. วารสารห้ องสมุด. 44 (3),
19-28.
Tenopir, C. (2002). Online databases. Library Journal. 127 (4), 38-42.
บทความจากหนังสื อพิมพ์
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์, วัน เดือน). /ชื่อบทความ./ชื่อหนังสื อพิมพ์ ,/เลขหน้า.
อธิชยั ต้นกันยา. (2549, 25 เมษายน). สารวจเส้นทางสี่ เหลี่ยมเศรษฐกิจหาลู่ทาง
การค้าท่องเที่ยว. ม่ิชน, 34.
โส่ทัศนวัสดุ
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อผูจ้ ดั ทา,/ปี ที่จดั ทา)
(สมควร ชื่นจิ่ร, 2540)
(Breyer & Stempleski, 1992)
โส่ทัศนวัสดุ (่่ อ)
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ชื่อผูจ้ ดั ทา./(หน้าที่ความรับผิดชอบ-ถ้ามี)./(ปี ที่เผยแพร่ )./ชื่อเรื่อง./[ประเภทหรื อ
ลักษณะของโสตทัศนวัสุด]./สถานที่ผลิต:/หน่วยงานที่ผลิต.
สมควร ชื่นจิตร. (ผูบ้ รรยาย). (2540). ภาษาอังกฤษสาหรับเลขานุการ. [เทป
บันทึกเสี ยง]. กรุ งเทพฯ: โพสท์บุค๊ ส์.
โส่ทัศนวัสดุ (่่ อ)
[สไลด์ ]
[เทปบันทึกเสี ยง]
[วีดโิ อซีดี]
[ซีดรี อม]
[รายการวิทยุ]
[Slides]
[Audiocassette]
[VCD]
[CD-Rom]
[Radio program]
[รายการโทรทัศน์ ]
[ภาพยน่ร์ ]
[แผนที่]
[แผนภูม]ิ
[แผนภาพ]
[Television program]
[Motion picture]
[Map]
[Chart]
[Diagram]
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
 หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)
ชื่อผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./[Electronic book]./สถานที่พิมพ์:/
สานักพิมพ์./Retrived/เดือน วัน,/ปี ที่คน้ ,/from/URL ของฐานข้อมูล.
Middleton, V.T. & Clarke, J. (2001). Marketing in travel and tourism.
[Electronic book]. Oxford, Boston: Elsevier. Retrieved
March 16, 2010, from http://www.netlibrary.com/Reader/.
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (่่ อ)
 บทความจากฐานข้อมูลออนไลน์ (มีรหัสอิเล็กทรอนิกส์)
ผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์, วัน เดือน)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร./(ปี ที่)ฉบับที่,
เลขหน้า./รหัสประจาเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (DOI).
Ebner, M. , Lienhardt, C., Rohs, M. & Meyer, I. (2010,
August).Microbogs in higher education: A chane to facilitate
informal and process-oriented learning ?. Computer &
Education. 55(1), 92-100. doi:10.1016/j.compedu.2009.12.006.
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (่่ อ)
 บทความจากฐานข้อมูลออนไลน์ (ไม่มีรหัสอิเล็กทรอนิกส์(DOI))
ผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์, วัน เดือน)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร./(ปี ที่)ฉบับที่,
เลขหน้า./Retrieved from/URLของฐานข้อมูล.
Cross, C. S. (2009, July). Access to information. Industrial Engineer.
41(7), 6. Retrieved from http://vnweb.hwwilsonweb.com/hww/
Advancedsearch/advanced_search.jhtml.
สารสนเทศบนอินเทอร์ เน็่
 บทความวารสาร/นิตยสารบนอินเทอร์เน็ต
ชื่อผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์,/วัน เดือน)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร./(ปี ที่)ฉบับที่,
เลขหน้า./สื บค้นเมื่อ/วันที่ เดือน ปี ที่คน้ ,/จาก/URL.
ธีรภัทร มนตรี ศาสตร์. (2545). Thumb Drive: มิติใหม่แห่งการเก็บข้อมูล.
ไมโครคอมพิวเ่อร์ . (204)2, 21. สื บค้นเมื่อ 21 สิ งหาคม 2545, จาก
http://www.micro.se-ed.com/content/mc204/default.asp.
สารสนเทศบนอินเทอร์ เน็่ (่่ อ)
 บทความจากหนังสื อพิมพ์บนอินเทอร์เน็ต
ผูแ้ ต่ง./(ปี ที่พิมพ์, วัน เดือน)./ชื่อบทความ./ชื่อหนังสื อพิมพ์ ,/เลขหน้า.
สื บค้นเมื่อ/วันที่ เดือน ปี ที่คน้ ,/จาก/URL.
อธิชยั ต้นกันยา. (2549, 25 เมษายน). ข้ามพรมแดนไทย-พม่า-จีนสารวจ
เส้นทาง สี่ เหลี่ยมเศรษฐกิจ หาลู่ทางการค้าท่องเที่ยว. ม่ิชน, 34.
สื บค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2549, จาก
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=20822&catid=5.
สารสนเทศบนอินเทอร์ เน็่ (่่ อ)
 ข้อมูลทัว่ ไปบนอินเทอร์เน็ต
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนเนือ้ เรื่อง
(ชื่อผูแ้ ต่ง,/ปี ที่พิมพ์,/ย่อหน้าที่อา้ งถึง)
(จอมจักร จันทรสกุล, 2546, ย่ อหน้ าที่ 2)
(Lesley University, 2005, para. 3)
สารสนเทศบนอินเทอร์ เน็่ (่่ อ)
 ข้อมูลทัว่ ไปบนอินเทอร์เน็ต (ต่อ)
รู ปแบบการอ้ างอิงในส่ วนท้ ายเล่ ม
ชื่อผูแ้ ต่งหรื อหน่วยงานที่จดั ทา./(ปี ที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./สื บค้นเมื่อ/วัน
เดือน ปี ที่สืบค้น,/จาก/URL.
จอมจักร จันทรสกุล. (2546). โรคสะเก็ดเงิน. สื บค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2547,
จาก http://www.thaihealth.net/h/article239.html.
สารสนเทศบนอินเทอร์ เน็่ (่่ อ)
 ข้อความประกาศ (Post) บนอินเทอร์เน็ต
ชื่อผูป้ ระกาศ,/(ปี ที่ประกาศ, วัน เดือน)./ชื่อหัวเรื่องที่ประกาศ./Message
posted to/URL.
สุ ทธิดา นันทเสน. (2553, 23 เมษายน). ก้ าวแรกของความเป็ นครู .
ข้อความประกาศบน http://gotoknow.org/blog/disney/353495.
หลักเกณฑ์ ทั่วไปในการพิมพ์เอกสารอ้ างอิง
 อยูท่ า้ ยเล่มต่อจากเนื้อเรื่ องและก่อนภาคผนวก
 พิมพ์ชิดขอบซ้าย ถ้าไม่จบในบรรทัดเดียว บรรทัดถัดมาเริ่ มที่ยอ่ หน้าโดย
เว้นระยะไป 1 Tab หรื อ1.27 ซม.
 วัสดุสารสนเทศที่มีชื่อผูแ้ ต่งซ้ ากัน ใช้ _______. สาหรับเล่มที่
2 เช่น
ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์. (2523). ปรัชญาเบือ้ ง่้ น. กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_______. (2524). หลักและวิธีการสอนระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย.
กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
หลักเกณฑ์ ทั่วไปในการพิมพ์เอกสารอ้ างอิง (่่ อ)
 เรียงลาดับอักษรชื่อผู้แ่่ ง่ามพจนานุกรม
- ถ้ าชื่อซ้า เรียง่ามปี ทีพ่ มิ พ์
- ถ้ าไม่ มีชื่อผู้แ่่ งให้ เรียงลาดับอักษรของชื่อเรื่อง
- เรียงวัสดุสารสนเทศภาษาไทยก่ อนภาษาอังกฤษ
- ถ้ าขึน้ ่้ นด้ วย Article ให้ เรียงลาดับด้ วยอักษรของคาถัดมา
หลักเกณฑ์ ทั่วไปในการพิมพ์เอกสารอ้ างอิง (่่ อ)
รายการวัสดุสารสนเทศทีม่ ีชื่อผู้แ่่ งคนแรกเหมือนกัน
- ผู้แ่่ งคนเดียวไว้ ก่อนงานทีม่ ผี ู้แ่่ งหลายคน
- ผู้แ่่ งคนแรกเหมือนกันให้ เรียงลาดับอักษรของผู้แ่่ งคน่่ อมา
- ผู้แ่่ งซ้ากันทั้งหมดให้ เรียง่ามลาดับปี พิมพ์ล่าสุ ดไปหาปี พิมพ์เก่ า
 พิมพ์เครื่องหมายให้ พมิ พ์่่อจากข้ อความโดยไม่ ่้องเว้ นระยะ
 หลังเครื่องหมายวรรค่อนให้ เว้ น 1 เคาะ
การเขียนเชิงอรรถขยายความ และเชิงอรรถโยง
 เชิงอรรถขยายความ
ใช้เพื่ออธิบายคาหรื อข้อความในเนื้อหา เพราะในบางครั้งการพิมพ์
ข้อความที่ตอ้ งการอธิบายเพิ่มเติมในส่ วนเนื้อหาอาจจะทาให้เกิดความ
สับสนและการลาดับเนื้อหาไม่ต่อเนื่อง
 เชิงอรรถโยง
เชิงอรรถโยงใช้เพื่อเชื่อมโยงให้ดูขอ้ ความที่มีความสัมพันธ์กนั ที่ปรากฎ
ในหน้าอื่น ๆ ของรายงานการวิจยั
ตัวอย่างเชิงอรรถขยายความ
เพลงเถา หมายถึงเพลงที่มีแบบแผนว่า ต้องขับร้องด้วยการเปลี่ยน
จังหวะให้ครบตั้งแต่อตั รา 3 ชั้นจนถึงชั้นเดียว*
_____________________________
* เพลงไทยมีอตั ราจังหวะ 3 แบบ คือ
ก. จังหวะช้า เรี ยกว่า เพลงอัตรา 3 ชั้น หรื อ เพลงสามชั้น
ข. จังหวะปานกลาง เรี ยกว่า เพลงอัตรา 2 ชั้น หรื อ เพลง 2 ชั้น
ค. จังหวะเร็ ว เรี ยกว่า เพลงอัตราชั้นเดียว หรื อ เพลงชั้นเดียว
่ัวอย่ างเชิงอรรถโยง
…นักเรี ยนไทยนิยมไปเรี ยนที่เมืองเดลีมากที่สุด คงเนื่องจากเป็ น
เมืองศูนย์กลางแห่งความเจริ ญ และอยูใ่ กล้เมืองหลวง รองลงมา ได้แก่
เมืองปูนา เมืองจันดิการ์และมัสซูรีวิชาที่นกั เรี ยนไทยนิยมศึกษาส่ วนใหญ่
เป็ นวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ รัฐศาสตร์ การบริ หาร ภาษาศาสตร์
ปรัชญา การศึกษา และมีส่วนน้อยที่ศึกษาวิชาแพทย์*
_____________________________
*ดูเพิ่มเติมภาคผนวก ก. หน้า 168
หลักเกณฑ์ การทาเชิงอรรถ






อยูส่ ่ วนท้ายของหน้า
ขีดเส้นคัน่ ส่ วนเนื้อหากับเชิงอรรถ ความยาวประมาณ 2 นิ้ว
เส้นคัน่ ห่างจากบรรทัดสุ ดท้ายของเนื้อหา 2 บรรทัด
ข้อความในเชิงอรรถให้เริ่ มที่ระยะย่อหน้า
ไม่เกิน 5 เชิงอรรถ / หน้า
*, **, ***, †, ††
แบบฝึ กหัดข้อ 1
หนังสื อ : ครบเครื่ องเรื่ องงานออฟฟิ ศด้วย 3 โปรแกรมดัง Top Microsoft
Office 2010
ผู้แ่่ ง : ผศ. ดร.นัตติมา กวนพา แพทย์หญิงคุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุ นนั ท์
จัดพิมพ์และจัดจาหน่ ายโดย บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จากัด เลขที่ 9 แขวง/เขตบาง
นา กรุ งเทพฯ
พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2553
นาข้อมูลในหน้า 56 – 57 มาอ้างอิง
เฉลยข้อ 1
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นผูแ้ ต่ง)
นัตติมา กวนพา และคุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุ นนั ท์ (2553, 56 – 57)
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นเนื้อหา)
(นัตติมา กวนพา และคุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุ นนั ท์, 2553, 56 – 57)
 อ้างอิงส่ วนท้ายเล่ม
นัตติมา กวนพา และพรทิพย์ โรจนสุ นนั ท์, คุณหญิง. (2553). ครบเครื่องเรื่อง
ออฟฟิ ศด้ วย 3 โปรแกรมดัง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุ งเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน่ .
แบบฝึ กหัดข้อ 2
หนังสื อ : ระบบปฎิบตั ิการ
ผู้แ่่ ง : พระยาประกิต ประกร, นางมานี มีชยั , อาจารย์รมณี ยา ใกล้รุ่ง, ดร.
ทิพย์วดี มีเงิน, ผศ.ดร.ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท์, นายวิทยา ปราณี , ผศ.วรรณ
วิภา ติตถะสิ ริ และมรว.รัศมี พรายงาม
จัดพิมพ์โดย : บริ ษทั โปรวิชนั่ จากัด 408/7 ถ.พหลโยธิน สามเสนใน
พญาไท กรุ งเทพฯ
พิมพ์ครั้งที่ 4 มกราคา 2548
นาข้อมูลหน้า 99 มาอ้างอิง
เฉลยข้อ 2
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นผูแ้ ต่ง)
พระยาประกิต ประกร และคนอื่น ๆ (2548, 99)
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นเนื้อหา)
(พระยาประกิต ประกร และคนอื่น ๆ, 2548, 99)
 อ้างอิงส่ วนท้ายเล่ม
ประกิต ประกร, พระยา, มานี มีชยั , รมณี ยา ใกล้รุ่ง, ทิพย์วดี มีเงิน, ณัฎฐพัน
เขจรนันท์, วิทยา ปราณี , วรรณวิภา ติตถะสิ ริ...รัศมี พรายงาม, มรว.
(2548). ระบบปฏิบ่ั ิการ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุ งเทพฯ: โปรวิชนั่ .
แบบฝึ กหัดข้อ 3
โครงงาน : ระบบพาณิ ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ ร้านผ้าซิ่นตีนจก
ผู้ทา : นายอาจหาญ วุฒิเน
วิทยาศาสตร์บณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
มีนาคม 2552
นาข้อมูลหน้า 48 มาอ้างอิง
เฉลยข้อ 3
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นผูแ้ ต่ง)
อาจหาญ วุฒิเน (2552, 48)
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นเนื้อหา)
(อาจหาญ วุฒิเน, 2552 , 48)
 อ้างอิงส่ วนท้ายเล่ม
อาจหาญ วุฒิเน. (2552). ระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ร้ านผ้ าซิ่น่ีนจก.
โครงงานวิทยาศาสตร์บณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
แบบฝึ กหัดข้อ 4
ชื่อหนังสื อ : Java Generics and Collections
ผูแ้ ต่ง : Maurice Naftalin & Philip J. Wadler Copyright 2007
Published by O’Reilly Media, Inc
Cambridge
นาข้อมูลหน้า 135 มาอ้างอิง
เฉลยข้อ 4
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นผูแ้ ต่ง)
Naftalin & Wadler (2007, 135)
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นเนื้อหา)
(Naftalin & Wadler, 2007, 135)
 อ้างอิงส่ วนท้ายเล่ม
Naftalin, M. & Wadler, P, J. (2007). Java generics and collections.
Cambridge: O’Reilly Media.
แบบฝึ กหัดข้อ 5
บทความบนหน้ าเว็บเพจเรื่อง : การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา
ผู้แ่่ ง: ผศ. มานิตย ประเสริ ฐ
วันที่เขียนข้อมูล 23 มิ.ย. 2552
วันที่สืบค้น 25 ก.พ. 2553
http://www.lannaworld.com/cgi/lannaboard/list_topic.php
นาย่อหน้าที่ 4 มาอ้างอิง
เฉลยข้อ 5
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นผูแ้ ต่ง)
มานิตย ประเสริ ฐ (2552, ย่อหน้าที่ 4)
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นเนื้อหา)
(มานิตย ประเสริ ฐ, 2552, ย่อหน้าที่ 4)
 อ้างอิงส่ วนท้ายเล่ม
มานิตย ประเสริ ฐ. (2552). การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา. สื บค้นเมื่อ 25
กุมภาพันธ์ 2553, จาก http://www.lannaworld.com/cgi/lannaboard/
list_topic.php.
แบบฝึ กหัดข้อ 6
วารสาร : ไมโครคอมพิวเตอร์
ปี ที่ 28 ฉบับที่ 298 ประจาเดือน
มิถุนายน 2553
ชื่อบทความ : Wireless LAN อดีต ปัจจุบนั และพัฒนาการในอนาคต
ผู้เขียน : ไพโรจน์ ไววานิชกิจ
บทความตั้งแต่ หน้า 55 – หน้า 63
นาข้อมูลหน้า 59 มาอ้างอิง
เฉลยข้อ 6
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นผูแ้ ต่ง)
ไพโรจน์ ไววานิชกิจ (2553, 59)
 อ้างอิงในเนื้อเรื่ อง (แบบเน้นเนื้อหา)
(ไพโรจน์ ไววานิชกิจ, 2553, 59)
 อ้างอิงส่ วนท้ายเล่ม
ไพโรจน์ ไววานิชกิจ. (2553). Wireless LAN อดีต ปัจจุบนั และพัฒนาการใน
อนาคต. ไมโครคอมพิวเ่อร์ . 28 (298), 55 – 63.
THE END