ระบบสากลการจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมีและการติดฉลาก และ ประเด็นความเห็นจากเวทีสาธารณะ ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

Download Report

Transcript ระบบสากลการจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมีและการติดฉลาก และ ประเด็นความเห็นจากเวทีสาธารณะ ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ระบบสากลการจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมีและการติดฉลาก
(Globally Harmonized System of Classification and Labelling
of Chemicals หรือ GHS)
และ
ประเด็นความเห็นจากเวทีสาธารณะ
วิเคราะห์ความเคลื่อนไหวในการเสริมสร้างสวัสดิภาพด้านสารเคมี
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั
แผนปฏิบตั ิ การ 21 – ปี พ.ศ. 2535
Chapter 19 - 6 Programme Areas
A การขยายผลและเร่งรัดการประเมินความเสี่ยงของสารเคมีในระดับนานาชาติ
B การปรับการจาแนกชนิดและฉลากของสารเคมีให้เป็ นระบบและมาตรฐานเดียว
C การแลกเปลี่ยนข้อมูลสารเคมีและความเสี่ยงอันตรายจากสารเคมี
D การจัดทาแผนงาน/โครงการเพื่อลดความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี
E การเสริมสร้างความเข้มแข้งแก่ขีดความสามารถและศักยภาพของประเทศ
ในการบริหารจัดการสารเคมี
F การป้ องกันการขนย้ายผลิตภัณฑ์อนั ตรายระหว่างประเทศอย่างผิดกฎหมาย
แผนปฏิบตั ิ การ 21 – ปี พ.ศ. 2535
Programme Area B
 พัฒนาระบบการจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมีและการติดฉลากใหม่ภายในปี
พ.ศ. 2543
 คานึ งถึงระบบที่ใช้อยู่เดิมและต้องไม่กีดกันทางการค้า
 ให้องค์การระหว่างประเทศร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคจัดตัง้ กลุ่ม
ประสานการพัฒนาระบบใหม่
 โครงการต่าง ๆ ภายใต้ UN จะต้องร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ จัด
หลักสูตรอบรมเพื่อให้สามารถนาระบบใหม่มาใช้ได้
แผนปฏิบตั ิ การโจฮันเนสเบอร์ก – ปี พ.ศ. 2545
 กระตุ้นให้ทุกประเทศปฏิบตั ิ ตามระบบการจัดกลุ่มและการติด
ฉลากใหม่โดยเร็วที่สดุ
 ภายในปี พ.ศ. 2551 ระบบใหม่จะต้องนามาปฏิบตั ิ กนั
ทุกประเทศ
การพัฒนา GHS - ด้านวิชาการ
IOMC
CG/HCCS
อันตรายด้านกายภาพ
UNSCETDG
อันตรายด้านสุขภาพ
และสิ่งแวดล้อม
OECD
ฉลากและ MSDS
ILO
การพัฒนา GHS - ด้านปฏิบตั ิ
UNECOSOC
UNCETDG/GHS
GHS-Subcommittee
TDG-Subcommittee
 ประชุม 5 ครัง้ (พ.ศ. 2544-2546)
 รับรอง GHS ในสมัยการประชุมครัง้ ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2545
 Purple Book
Content
Part 1 Introduction
Part 2 Physical Hazards
Part 3 Health and
Environmental
Hazards
Annexes
http://www.unece.org/
trans/danger/danger.htm
จุดมุ่งหมายของ GHS
 ยกระดับการปกป้ องอันตรายต่อคนและสิ่งแวดล้อม
 เป็ นแนวทางให้กบั ประเทศที่ยงั ไม่มีระบบการจัดกลุ่มสารเคมี
และการติดฉลาก
 ลดความซา้ ซ้อนของการทดสอบและการประเมินสารเคมี
 เอื้ออานวยการค้าระหว่างประเทศและสารเคมีที่ประเมินและ
จาแนกที่เป็ นมาตรฐานระหว่างประเทศอยู่ก่อนแล้ว
หลักการของ GHS
 ระดับการปกป้ องสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจะต้องไม่ลดลงจากระบบเดิม
 การจัดกลุ่มอันตรายของผลิตภัณฑ์เคมีจะพิจารณาสมบัติเฉพาะตัวเท่านัน้
(ผลิตภัณฑ์รวมถึงสารประกอบ สารผสม สารละลาย และอัลลอยด์)
 การจัดกลุ่มอันตรายและการสื่อข้อมูลอันตรายต้องมีพืน้ ฐานและเชื่อมโยงกัน
 คานึ งถึงการจัดกลุ่มและการสื่อข้อมูลอันตรายที่มีอยู่เดิม
 ระบบเดิมจะต้องเปลี่ยนแปลงและดาเนินการให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
 เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อข้อมูลอันตรายจะต้องเกิดความเข้าใจได้ง่าย
 การจัดกลุ่มอันตรายในระบบใหม่ต้องยอมรับข้อมูลที่เชื่อถือได้ที่มีอยู่เดิม
 พร้อมกับการปกป้ องสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมจะต้องคานึ งถึง
การปกป้ องความลับทางธุรกิจด้วย
 หลักเกณฑ์
ขอบเขตของ GHS
 จัดกลุ่มอันตรายของผลิตภัณฑ์เคมี คือ อันตรายด้าน
กายภาพ และอันตรายด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
 กาหนดการติดฉลากและเอกสารข้อมูลความปลอดภัยให้
สอดคล้องกับอันตราย
 ผลิตภัณฑ์เคมี รวมถึง สาร สารประกอบ สารผสม สารละลาย
อัลลอยด์
 กลุ่มผูใ้ ช้เป้ าหมาย : ผูท้ างานขนส่ง ผูท้ างานในกระบวนการ
ผลิตและจัดเก็บ ผูบ้ ริโภค และผูป้ ฏิบตั ิ การฉุกเฉิน
 เฉพาะการบริโภคโดยตรงของผลิตภัณฑ์ต่อไปนี้ สารปรุงแต่ง
อาหาร สารป้ องกันกาจัดศัตรูพืช ยา และเครื่องสาอาง ไม่ต้อง
ติดฉลาก GHS
การใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย - หลักการของ GSH
Source: UNITAR, Developing and Implementing a National Chemical Hazard Communication
and GHS Action Plan, Guidance Document
GHS - การจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมี
อันตรายด้านกายภาพ
อันตรายด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
Explosives
Acute toxicity
Flammable gases
Skin corrosion/irritation
Flammable aerosols
Serious eye damage/eye irritation
Oxidizing gases
Respiration or skin sensitizer
Gases under pressure
Germ cell mutagenicity
Flammable liquid
Carcinogenicity
Flammable solids
Reproductive toxicity
Self-reactive substances
Specific target organ systemic toxicity
Pyrophoric liquids
-Single exposure
Pyrophoric solids
-Repeated exposure
Self-heating substances
Substances, which on contact with
water, emit flammable gases
Oxidizing liquids
Oxidizing solids
Organic peroxides
Corrosive to metals
Hazardous to the aquatic environment
-Acute
-Chronic
GHS -
การติดฉลาก
 Symbol & Pictogram
 Signal Word: Danger, Warning
 Hazard Statement
extremely flammable, flammable
very toxic, toxic, harmful
 Precaution Statement
 Product Identifier
 Supplier
ตัวอย่างการติดฉลากตามหลักเกณฑ์ของ GHS
Source : UNITED NATIONS, Globally Harmonized System of Classification and Labelling of
การเตรียมความพร้อมในการดาเนินงาน GHS
 นิวซีแลนด์ รับ GHS และนาไปปรับใน Hazardous Substance and
new Organism Act
 บราซิล จัดประชุมเมื่อ พ.ศ. 2545 และเริ่มใช้ GHS ในการจาแนกและจัด
กลุ่มสารเคมีเมื่อ พ.ศ. 2546
 อเมริกา จัดประชุมเมื่อ พ.ศ. 2545 และกาลังพัฒนาคู่มือการใช้
 แคนาดา เปรียบเทียบระบบเดิมกับ GHS
 จีนและอาฟริกาใต้ หารือการใช้ GHS ในอนาคต
 ญี่ปนร่
ุ่ วมกับ ICCA จัดการประชุมให้อาเซียน
การเตรียมความพร้อมการดาเนินงาน GHS
 APEC
-
Chemical Dialogue Steering Group
รับรองการดาเนินงาน GHS
และมีเป้ าหมายการใช้งานภายในปี พ.ศ. 2549
- การดาเนินงาน GHS ควรเป็ นนโยบายระดับบนลงล่าง
- จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิ การให้กบั ประเทศกาลังพัฒนาในเดือนกันยายนนี้
ที่ไต้หวัน และจะจัดที่ประเทศมาเลเซียต่อไป
 IFCS
-
IFCS Priorities for Action beyond 2000
- workshop GHS ในการประชุม IFCS Forum IV
 UNITAR
- นาเสนอ Global GHS Partnership ในการประชุมคณะกรรมาธิการ
ว่าด้วยการพัฒนาที่ยงยื
ั ่ น สมัยที่ 11 เมื่อพฤษภาคม 2546
- ประชุม WSSD Global Partnership for Capacity Building to
implement the GHS เมื่อกรกฏาคม 2546
สถานการณ์ประเทศไทย
 การให้ข้อมูลสารเคมีและอันตรายกับกลุ่มเป้ าหมายต่าง ๆ กาหนดไว้
ในกฏหมายหลายฉบับ เช่น
 พรบ. วัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2535
 พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535
 พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
 พรบ. ยา พ.ศ. 2510
 พรบ. อาหาร พ.ศ. 2522
 พรบ. เครื่องสาอาง พ.ศ. 2535
สถานการณ์ประเทศไทย
 ข้อกาหนดการติดฉลากสารเคมีและอันตรายมีรายละเอียดแตกต่างกัน
ตัวอย่าง
 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการขนส่งวัตถุอนั ตราย (กาหนดระบบ
UNRTDG)
 ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยในการทางานกับสารเคมี
อันตราย (ไม่อ้างอิงระบบ)
 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 24 (พ.ศ.2530) เรื่อง หน้ าที่ของผู้รบั
ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (กาหนดระบบ EU และ UNRTDG)
 ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องฉลากและระดับความเป็ นพิษวัตถุ
อันตรายที่กรมวิชาการเกษตรรับผิดชอบ พ.ศ. 2538 (กาหนดระบบ WHO
และ UNRTDG)
 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องฉลากและระดับความเป็ นพิษของวัตถุ
อันตรายที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีอานาจหน้ าที่รบั ผิดชอบ
พ.ศ. 2538 (กาหนดระบบ WHO และ UNRTDG)
อุปสรรคและข้อจากัด
ผลดี/ผลเสีย
ภาครัฐ
- ลดจำนวนกำรเกิดและควำมรุนแรงจำกอุบตั ภิ ยั สำรเคมี
- ลดต้นทุนค่ำใช้จำ่ ยในกำรรักษำ
- มีขอ้ มูลให้เจ้ำหน้ำทีป่ ฏิบตั กิ ำรฉุกเฉินได้ทรำบในกำร
ปฏิบตั ฉิ ุกเฉิน
- ได้ภำพลักษณ์ทด่ี ใี นประชำคมโลก
- ยังไม่มคี วำมชำนำญในหลักเกณฑ์กำรจำแนกอันตรำย
ด้ำนสุขภำพและสิง่ แวดล้อม
- ข้อมูลทีใ่ ช้ประเมินอันตรำยของส่วนผสมอำจจะหำได้ยำก
และควำมสำมำรถในกำรทดสอบมีจำกัด
- กำลังบุคลำกรทีเ่ ชีย่ วชำญด้ำนสำรเคมียงั มีค่อนข้ำงจำกัด
- เจ้ำหน้ำทีภ่ ำครัฐยังไม่รแู้ ละเข้ำใจ GHS
ภาคธุรกิจ
- เพิม่ ควำมสะดวกกำรค้ำสำรเคมีระหว่ำงประเทศ
- วำงแผนกำรจัดเก็บสำรเคมี กำรจัดให้มอี ุปกรณ์ป้องกัน
อันตรำยส่วนบุคคล และฉุกเฉินทีด่ ขี น้ึ
- ลูกจ้ำงได้รบั ทรำบข้อมูลสำรเคมีอย่ำงถูกต้อง
- มีตน้ ทุนสูงขึน้
- ถึงแม้ GHS จะช่วยลดควำมจำเป็ นซ้ำซ้อนในกำร
ทดสอบและประเมินก็ตำม แต่ยงั มีสำรผสมผลิตขึน้ ใน
ประเทศทีจ่ ำเป็ นต้องทดสอบ
- ควำมสำมำรถในกำรจัดทำเอกสำร ข้อมูลควำมปลอดภัย
ยังมีจำกัด โดยเฉพำะ SME
สาธารณชน
- มีขอ้ มูลให้ผบู้ ริโภคใช้สำรเคมีอย่ำงถูกต้อง
- มีทำงเลือกในกำรใช้ผลิตภัณฑ์ทอ่ี นั ตรำยน้อยกว่ำ
- กำรสร้ำงควำมตระหนักรับรูใ้ นกลุม่ เป้ ำหมำยต่ำง ๆ
ประเด็นความเห็นจากเวทีสาธารณะ
 สนับสนุนแนวคิดของการนา GHS มาใช้ในประเทศไทย
 ผลดี
- ลดความซับซ้อนและลดค่าใช้จ่ายในระยะยาวให้กบั ภาคธุรกิจ และ
โดยเฉพาะ SME
- ลดการสูญเสีย ลดความเสียหาย และลดอุบตั ิ ภยั จากสารเคมี
- เป็ นโอกาสของการจัดการความปลอดภัยสารเคมีของประเทศ เพราะ
GHS เป็ นพืน
้ ฐานของการให้ความรู้ต่อสาธารณชน
 อุปสรรค
- ความล่าช้าในการปรับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
- การ identify หน่ วยงานเจ้าภาพและการประสานหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง
- โครงสร้างพืน้ ฐานของการดาเนินงานเกี่ยวกับอันตรายด้านสุขภาพและ
สิ่งแวดล้อมมีจากัด
ประเด็นความเห็นจากเวทีสาธารณะ
 การเตรียมความพร้อมของไทย
 สร้างความรู้ความเข้าใจกลุ่มเป้ าหมายต่างๆ ในเรื่องระบบ GHS
- จัดทาคาแปลเอกสาร GHS เผยแพร่สาธารณชน
- มีกระบวนการและสร้างสื่อความรู้เรื่องสัญลักษณ์และข้อความที่ สื่อใน
ระบบ GHS ในกลุ่มเป้ าหมายต่าง ๆ
 จัดส่งเจ้าหน้ าที่อาวุโสเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบตั ิ การของ APEC ที่
สามารถกลับมาวางแผนศึกษาgap analysis และจัดทาaction plan
 เสนอกรมโรงงานอุตสาหกรรมเป็ นหน่ วยงานเจ้าภาพที่ประสาน
การเตรียมความพร้อมการดาเนินงาน GHS
ประเด็นที่อาจนาเสนอในเวที IFCS เพื่อสร้างความร่วมมือ

Programme Area B - GHS

- Proposal ความช่วยเหลือทางวิชาการจาก UNITAR ซึ่งไทยจะต้อง
เตรียมการประเมินสถานการณ์ ว่าจะต้องทาอะไร และ identify เรื่องที่
ต้องการความช่วยเหลือ
Programme Area C – การแลกเปลี่ยนข้อมูลสารเคมีและความเสี่ยง
- Networking การแลกเปลี่ยนข้อมูลสารเคมีที่ยกเลิกการใช้ในบาง
อุตสาหกรรมในบางประเทศโดยเฉพาะประเทศที่พฒ
ั นาแล้ว เช่น ยกเลิก
สารตะกัวในอุ
่
ตสาหกรรมผลิตแก้ว
 Programme Area F – การขนย้ายผลิตภัณฑ์อน
ั ตรายระหว่างประเทศอย่างผิด
กฎหมาย
- ตัวอย่างการจัดทาพิกดั รหัสสถิติของสารเคมีในอนุสญ
ั ญา PICทาให้มี
ระบบรายงานการนาเข้าและสามารถตรวจจับและการขนส่งที่ละเมิดได้
ประเด็นที่อาจนาเสนอในเวที IFCS เพื่อสร้างความร่วมมือ
 การเคลื่อนย้ายกากของเสียอันตราย
- กลไกการควบคุมภายใต้อนุสญ
ั ญาบาเซลไม่เพียงพอในการปกป้ อง
ประเทศกาลังพัฒนามิให้เป็ นแหล่งรองรับกากของเสียอันตราย
- ความรับผิดชอบการขนส่งสารเคมีระหว่างประเทศในประเด็นความเสียหาย
และการจัดการบรรจุภณ
ั ฑ์ในลักษณะเดียวกับระเบียบ WEEE ของ
สหภาพยุโรป
 ระเบียบควบคุมเคมีภณ
ั ฑ์ของสหภาพยุโรป
- Property rights on test data could be acted as barrier to trade
- ความไม่สอดคล้องกับอนุสญ
ั ญา POPs