ระบบสากลการจ าแนกประเภท และการติดฉลากสารเคมี GHS Globally Harmonized System of

Download Report

Transcript ระบบสากลการจ าแนกประเภท และการติดฉลากสารเคมี GHS Globally Harmonized System of

ระบบสากลการจาแนกประเภท
และการติดฉลากสารเคมี
GHS
Globally Harmonized System of
Classification and Labelling of Chemicals
ั
การประชุมสมมนาระด
ับชาติ
เรือ
่ ง
ั
GHS การพ ัฒนาศกยภาพขอประเทศไทยในการจ
ัดการสารเคมีตามระบบสากล
โดย
นายพร้อมพร อิศรางกูร ณ อยุธยา
บริษ ัท อีแพ็ค จาก ัด
E-mail: [email protected]
ณ โรงแรมมิราเคิล เซอร์ เจมส ์ ลอดจ์ จ ังหว ัดสระบุร ี
ว ันอ ังคารที1
่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2549
การสารวจข้ อมูลพืน้ ฐานของภาคอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการจาแนกประเภทและ
การติดฉลากสารเคมีที่เป็ นระบบเดียวกันทัว่ โลก (Globally Harmonized System of
Classification and Labelling of Chemicals – GHS)
1. บทนา
GHS- เป็ นระบบการจาแนกและการจัดทาสลากสารเคมี ที่ผ่านการปรั บประสานกันทัว่ โลก
มาแล้ว โดยเป็ นระบบที่เกิดขึ้นตามข้อกาหนดของสหประชาชาติ ซึ่ งมีขอบข่ายของระบบ GHS
ที่ครอบคลุมสารเคมีอนั ตรายทุกชนิ ด สารละลายเจือจาง (Dilute Solutions) และสารผสม
(Mixture) ของสารเคมี แต่ไม่เกี่ยวข้องกับ เภสัชภัณฑ์ (ยารักษาโรค) สารเติมแต่งในอาหาร
(Food Additives) เครื่ องสาอาง และสารป้ องกันศัตรู พืชที่ตกค้างอยูใ่ นอาหาร (Pesticide residues
in food) ณ จุดทีม่ กี ารนาสิ่ งของดังกล่ าวเข้ าสู่ ร่างกายโดยตั้งใจ (at the point of intentional intake)
03/05/06
GHS for FDA
2
ต ัวอย่างจานวนห ัวข้อของ MSDS ในแต่ละประเทศ
03/05/06
GHS for FDA
3
ต ัวอย่างการจาแนกความเป็นอ ันตรายในแต่ละประเทศ
03/05/06
GHS for FDA
4
ั
ต ัวอย่างรูปสญล
ักษณ์ในแต่ละประเทศ
03/05/06
GHS for FDA
5
รูปสัญลักษณ์ ของ GHS (GHS pictogram)
!
03/05/06
GHS for FDA
6
Safe Use of
Chemicals
What is the
GHS?
Risk
Management
Systems
(risk communication,
exposure monitoring/control)
Hazard Communication
(GHS Labels and SDS)
03/05/06
GHS
Classification
GHS
for FDA
7
สาระสาคัญของระบบ GHS
สาร/สารผสม
การจาแนกความเป็ นอันตราย
ความเป็ นอันตรายทางกายภาพ
ความเป็ นอันตรายต่ อสุ ขภาพและสิ่งแวดล้อม
การสื่ อสารความเป็ นอันตรายไปยังกลุ่มเป้าหมาย
03/05/06
ฉลาก
GHS for FDA
เอกสารข้ อมูลความปลอดภัย
8
วิธีการสื่ อสารไปหากลุ่มเป้ าหมาย
การจัดทาเอกสารความเป็ นอันตรายของวัตถุอน
ั ตราย (SDS - Safety Data
Sheet) ตามการจาแนกความเป็ นอันตรายทัง้ ทางกายภาพและความเป็ นอันตรายต่อ
สุขภาพและสงิ่ แวดล ้อม รวมทัง้ หมด 16 หัวข ้อ
การจัดทาฉลาก (Labels) ของวัตถุอน
ั ตราย โดยจะต ้องประกอบไปด ้วยข ้อความ
อย่างน ้อยดังต่อไปนี้
ื่ ผลิตภัณฑ์ (Product identifier)
o ชอ
ื่ สารเคมี (Chemical Identify)
o ชอ
ื่ ผู ้ผลิต (Supplier Identification)
o ชอ
o ภาพจาลองแสดงถึงอันตราย (Symbols or Hazard pictograms)
ั ญาณ (Signal words)
o คาสญ
o ข ้อความแสดงความเป็ นอันตราย (Hazard Statement)
o ข ้อสนเทศทีเ่ ป็ นข ้อควรระวัง (Precautionary Information)
o ข ้อสนเทศทีเ่ ป็ นสว่ นเสริมเพิม
่ เติม (Supplemental information)
03/05/06
GHS for FDA
9
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
•
•
ประเทศไทยมีการนาเข ้าสารเคมีมาจากประเทศต่างๆมากกว่า 20 ประเทศ โดยเฉลีย
่ ปี
้ จการอุตสาหกรรม
ละประมาณ 8.1 ล ้านตัน ในชว่ งปี 2537 – 2541 โดยมีการนาเข ้ามาใชในกิ
ั สว่ นโดยเฉลีย
การเกษตรและการอุปโภคบริโภค คิดเป็ นสด
่ ร ้อยละ 60.4, 38.6, และ 1.0
้ ตสาหกรรมและการเกษตร
ตามลาดับ ใน พ.ศ. 2541 มีปริมาณการนาเข ้าสารเคมีเพือ
่ ใชในอุ
4.6 และ 2.9 ล ้านตัน ในขณะทีม
่ ก
ี ารนาเข ้าเพือ
่ การอุปโภคและบริโภคเพียง 0.068 ล ้านตัน
ตารางที่ 1 ปริมาณการนาเข ้าเคมีวัตถุ ปี 2537-2541
ปี พ.ศ.
2537
2538
2539
2540
2541
ปริมาณนาเข้า
(ล้านต ัน)
8.01
8.29
8.72
7.95*
7.57
* ปี พ.ศ.2540 เป็ นช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ
ทีม่ า : การสาธารณสุ ขไทย พ.ศ.2540-2541 กระทรวงสาธารณสุ ข
03/05/06
GHS for FDA
10
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
ตารางที่ 2 ปริมาณการนาเข ้าเคมีวัตถุด ้านต่างๆ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2537 – 2541
ปริมาณนาเข้ า(ล้ านตัน)
อุตสาหกรรม
การเกษตร
อุปโภคบริโภค
2537
4.87
3.05
0.09
2538
5.02
3.19
0.08
2539
5.16
3.48
0.08
2540
4.82
3.03
0.10
2541
4.60
3.19
0.07
พ.ศ.
ทีม
่ า : การสาธารณสุขไทย พ.ศ.2540-2541 กระทรวงสาธารณสุข
03/05/06
GHS for FDA
11
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
ตารางที่ 3 ปริมาณการนาเข ้าเคมีวัตถุเพือ
่ การอุตสาหกรรม ปี 2541 รวม 4.6 ล ้านตัน
เคมีว ัตถุเพือ
่ การอุตสาหกรรม
ปริมาณนาเข้า(ต ัน)
เคมีภัณฑ์อน
ิ ทรีย ์
2,275,283
แผ่นฟิ ลม
์ ฟอยล์ และแถบพลาสติก
51,666
เคมีภัณฑ์อน
ื่ ๆ
744,539
สงิ่ ปรุงแต่งกันเครือ
่ งยนต์น็อค
33,058
เคมีภัณฑ์อนินทรีย ์
836,389
วัตถุแต่งส ี
68,971
เม็ดพลาสติก
572,175
ี าและวานิช
สท
21,051
ทีม
่ า : การสาธารณสุขไทย พ.ศ.2540-2541 กระทรวงสาธารณสุข
03/05/06
GHS for FDA
12
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
ตารางที่ 4 สถิตป
ิ ริมาณและมูลค่าการนาเข้าเคมีภ ัณฑ์อ ันตราย (มกราคม – ธ ันวาคม พ.ศ.2545 - 2546)
เฉพาะทีม
่ ห
ี น่วย kg (กิโลกร ัม)
รายการ
พ.ศ. 2545
ปริมาณ
(ตัน)
เฉพาะทีม
่ ี
หน่วย KGM
(กิโลกรัม)
•
56,229,501.3
0
มูลค่า
(ล ้านบาท)
569,036.05
พ.ศ. 2546
ปริมาณ
(ตัน)
60,395,565.2
0
มูลค่า
(ล ้านบาท)
652,980.06
ทีม
่ า: http://www.chemtrack.org/Stat-Import.asp
03/05/06
GHS for FDA
13
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
•
ี วบคุม
ตารางที่ 5 สรุปจานวนรายการ ปริมาณและมูลค่าการนาเข ้าเคมีภัณฑ์อน
ั ตรายตามบัญชค
พิกด
ั ตอนที่ 25 – 30 จาแนกตามกฎหมายควบคุม
พระราชบ ัญญ ัติทค
ี่ วบคุม
พ.ศ. 2545
ปริมาณ
นาเข้า
(ต ัน)
พ.ศ. 2546
มูลค่า
(ล้านบาท)
ปริมาณ
นาเข้า
(ต ัน)
พ.ศ. 2547
มูลค่า
(ล้านบาท)
ปริมาณ
นาเข้า
(ต ัน)
มูลค่า
(ล้านบาท)
2,002,530.90
54,179.36
2,033,654.10
47,773.77
9,973,407.10
106,921.22
พ.ร.บ.ควบคุมยุทธภัณฑ์
20,884.20
891.30
15,800.40
457.51
14,876.20
574.09
พ.ร.บ.วัตถุอน
ั ตรายและ
พ.ร.บ.ควบคุมยุทธภัณฑ์
3,042.30
493.46
1,204.30
134.16
1,416.50
232.74
2,020,372.80
54,577.20
2,048,247.30
48,097.12
9,986,866.70
107,262.57
พ.ร.บ.วัตถุอน
ั ตราย
รวม **
•
•
•
* ควบคุมตาม พ.ร.บ. วัตถุอน
ั ตราย และ / หรือ พ.ร.บ. ควบคุมยุทธภัณฑ์
** รายการทีไ่ ม่ซา้ กัน
ทีม
่ า: http://www.chemtrack.org/Stat-Import.asp
03/05/06
GHS for FDA
14
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
• 2.1 การควบคุมการดาเนินการเกีย่ วกับสารเคมีหรื อวัตถุอน
ั ตราย
ในเบื้องต้นจะต้องทราบก่อนว่าสิ นค้านั้นนามาใช้ในกิจการประเภทใด
เช่นนามาใช้ประโยชน์ในงานเกษตรกรรม เช่นเป็ นปุ๋ ย ยาฆ่าแมลงก็อาจ
เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ดูแลด้านนี้อยูน่ นั่ คือ กรมวิชาการเกษตรและกรม
ประมง หรื อเป็ นสิ นค้าที่นามาใช้ในบ้านเรื อน เช่นเป็ นสิ นค้า อุปโภคบริ โภค ยา
รักษาโรค ก็อาจเกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ดูแลด้านนี้อยู่ คือสานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ถ้าเป็ นสิ นค้า ที่นามา ใช้เป็ น วัตถุดิบ หรื อ
ส่ วนผสมในกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม ก็จะเกี่ยวข้องกับกระทรวง
อุตสาหกรรม หน่วยงานที่ดูแล ก็คือสานักควบคุมวัตถุอนั ตราย สานัก
เทคโนโลยีความปลอดภัย นอกจากนี้ยงั มีหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องอีก เช่น
กรมการอุตสาหกรรมทหาร กระทรวงกลาโหม กระทรวงแรงงาน
03/05/06
GHS for FDA
15
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
การตรวจสอบในเบื้องต้ น
ิ ค ้าทีจ
ิ ค ้าอันตรายหรือวัตถุ
• หากไม่ทราบว่าสน
่ ะนาเข ้ามาจะเป็ นสน
อันตรายหรือไม่ ให ้ปฏิบต
ั ด
ิ งั นี้
ิ ค ้าดังกล่าวให ้สอบถามทางผู ้ผลิตเสย
ี ก่อน โดยขอ
• ก่อนจะนาเข ้าสน
ิ ค ้าเชน
่ เอกสารข ้อมูลด ้านความปลอดภัยหรือ
รายละเอียดของตัวสน
MSDS.(Material Safety Data Sheet) นามาตรวจสอบก่อนกับ
พระราชบัญญัตวิ ต
ั ถุอน
ั ตราย พ.ศ. 2535 หรือตรวจสอบจากเว็บไซต์
ื ขอ
• หากตรวจสอบแล ้วยังไม่แน่ใจว่าจะเข ้าข่ายหรือไม่ ให ้ทาหนังสอ
หารือเกีย
่ วกับวัตถุอน
ั ตรายไปยังหน่วยงานทีอ
่ าจเกีย
่ วข ้อง ตามตาราง
ที่ 2
ื ขอหารือฯให ้สาเนาเอกสารประกอบการพิจารณาจานวน
• การทาหนังสอ
2 ชุด
( เอกสารแสดงสว่ นผสมครบ 100 % และเอกสารคูม
่ อ
ื ความ
ปลอดภัย หรือ Material Safety Data Sheet)
ิ ค ้าดังกล่าว เกีย
• เมือ
่ ทราบแล ้วว่าสน
่ วข ้องกับหน่วยงานใดแล ้วให ้
ดาเนินการสอบถามถึงวิธก
ี าร ขัน
้ ตอน การดาเนินการต่างๆจาก
พนักงานเจ ้าหน ้าทีใ่ นหน่วยงานนัน
้ ๆต่อไป
03/05/06
GHS for FDA
16
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
้
2.1 เกณฑ์ทภ
ี่ าคธุรกิจอุตสาหกรรมใชในการจ
าแนกสารเคมีและวัตถุอน
ั ตรายในปั จจุบน
ั (ต่อ)
พ.ร.บ.ว ัตถุอ ันตราย พ.ศ.2535 แบ่งวัตถุอน
ั ตรายออกตามความจาเป็ นแก่
การควบคุมได ้ 4 ชนิด (มาตรา 18 วรรคแรก) คือ
ว ัตถุอ ันตรายชนิดที่ 1 ได ้แก่วัตถุอน
ั ตรายทีก
่ ารผลิต การนาเข ้า การ
สง่ ออก หรือการมีไว ้ในครอบครองต ้องปฏิบต
ั ต
ิ ามหลักเกณฑ์และวิธก
ี ารที่
กาหนด
ว ัตถุอ ันตรายชนิดที่ 2 ได ้แก่วัตถุอน
ั ตรายทีก
่ ารผลิต การนาเข ้า การ
สง่ ออก หรือการมีไว ้ในครอบครองต ้องแจ ้งให ้พนักงานเจ ้าหน ้าทีท
่ ราบก่อน
และปฏิบต
ั ต
ิ ามหลักเกณฑ์และวิธก
ี ารทีก
่ าหนดด ้วย
ว ัตถุอ ันตรายชนิดที่ 3 ได ้แก่วัตถุอน
ั ตรายทีก
่ ารผลิต การนาเข ้า การ
สง่ ออก หรือการมีไว ้ในครอบครองต ้อได ้รับใบอนุญาต
ว ัตถุอ ันตรายชนิดที่ 4 ได ้แก่วัตถุอน
ั ตรายทีห
่ ้ามมิให ้มีการผลิต การ
นาเข ้า การสง่ ออก หรือการมีไว ้ในครอบครอง
การทีก
่ ฎหมายไทยแบ่งว ัตถุอ ันตรายออกเป็น 4 ชนิดด ังกล่าวเป็นการ
แบ่งตามความจาเป็นในการควบคุมเพียงเพือ
่ จุดประสงค์ทางด้านการ
บริหารเท่านน
ั้
03/05/06
GHS for FDA
17
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
้
2.1 เกณฑ์ทภ
ี่ าคธุรกิจอุตสาหกรรมใชในการจ
าแนกสารเคมีและวัตถุอน
ั ตรายในปั จจุบน
ั
(ต่อ)
- กฎระเบียบของไทยเกีย
่ วกับการจัดทาฉลาก
พ.ร.บ.ว ัตถุอ ันตราย พ.ศ.2535
- ตามมาตรา 4 ของ พ.ร.บ.วัตถุอน
ั ตราย พ.ศ.2535 “ฉลาก” หมายถึง
รูป รอยประดิษฐ์หรือข ้อความใดๆซงึ่ แสดงไว ้ทีว่ ัตถุอน
ั ตราย หรือภาชนะบรรจุ
หรือหีบห่อบรรจุ หรือสอดแทรกหรือรวมไว ้กับวัตถุอน
ั ตราย หรือภาชนะบรรจุ
หรือหีบห่อบรรจุ และหมายความรวมถึงเอกสาร หรือคูม
่ อ
ื ประกอบการใชวั้ ตถุ
อันตรายด ้วย
- ในมาตรา 20(1) ให ้รัฐมนตรีผู ้รับผิดชอบโดยความเห็นของ
คณะกรรมการวัตถุอน
ั ตรายมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเษกษา กาหนด....
ฉลาก...หรือการอืน
่ ใดเกีย
่ วกับวัตถุอน
ั ตราย เพือ
่ ควบคุมป้ องกัน บรรเทา หรือ
ั ว์ พืช ทรัพย์ หรือสงิ่ แวดล ้อม โดย
ระงับอันตรายทีจ
่ ะเกิดแก่บค
ุ คล สต
ั ญาและข ้อผูกพันระหว่างประเทศประกอบด ้วย
คานึงถึงสนธิสญ
- ในการนี้ ตามความในมาตรา 20(2) รัฐมนตรีมอ
ี านาจ (ประกาศในราช
ี่ วชาญหรือบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบสาหรับ
กิจจานุเบกษา) กาหนดให ้มีผู ้เชย
การดาเนินการอย่างหนึง่ อย่างใดตาม (1) ในเรือ
่ งฉลากนี้ เมือ
่ ได ้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาแล ้ว ผู ้ผลิต ผู ้นาเข ้า ผู ้สง่ ออก หรือผู ้มีไว ้ในครอบครอง
วัตถุอน
ั ตรายชนิดที1
่ – 3 ต ้องปฏิบต
ั ต
ิ าม
03/05/06
GHS for FDA
18
แผนภูมทิ ี่ 1 พระราชบัญญัติ ประกาศเกี่ยวกับวัตถุอนั ตราย และหน่วยงานควบคุม
พระราชบัญญัติ /
ประกาศคณะ
ปฏิวตั ิ
ประกาศ
หน่วยงานควบคุม
03/05/06
พระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย
(พ.ศ. 2535)
พระราชบัญญัติควบคุมยุทธภัณฑ์
(พ.ศ. 2530)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ องบัญชีรายชื่อวัตถุอนั ตราย
ฉบับแรก (พ.ศ.2538) 1
ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2543)2
ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2543)2
ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2544)3
(4ฉบับ)
ประกาศกระทรวง
(พ.ศ.2541) กาหนดชนิ ด
ยุทธภัณฑ์ที่ตอ้ งขออนุญาต
ตาม พ.ร.บ.ควบคุม
ยุทธภัณฑ์ พ.ศ.2530
(1 ฉบับ)4
มีหน่วยงานควบคุม 4 หน่วยงาน คือ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมวิชาการ
เกษตร กรมประมง และสานักงานคณะ
กรรมการอาหาร และยา
2 มีกรมโยธาธิ การ กระทรวงมหาดไทย
เป็ นหน่วยงานที่รักษากฎหมายเพิ่มขึ้น *
3 มีสานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ
เป็ นหน่วยงานควบคุม **
1
4
ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 103
(พ.ศ. 2515)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
(พ.ศ.2520) เรื่ องความปลอดภัย
ในการทางานเกี่ยวกับภาวะ
แวดล้อม (สารเคมี)
(1 ฉบับ)5
กรมการอุตสาหกรรมทหาร
* ตั้งแต่ตุลาคม 2545 กรมโยธาธิการ เปลี่ยนเป็ น กรมธุรกิจพลังงาน สังกัดกระทรวงพลังงาน
* * ตั้งแต่ตุลาคม 2545 สานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ เปลี่ยนเป็ น สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ สังกัด
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
GHS for FDA
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
(พ.ศ.2534) เรื่ องความปลอดภัย
ในการทางานเกี่ยวกับภาวะ
แวดล้อม (สารเคมี)
(1 ฉบับ)5
กรมสวัสดิการและคุม้ ครอง
แรงงงาน
5
19
การเปรียบเทียบหัวข้ อระหว่ าง (M)SDS ตาม พ.ร.บ.วัตถุอนั ตราย และตามระบบ GHS
(M)SDS ตาม พ.ร.บ.วัตถุอนั ตราย
SDS ตามระบบ GHS
1.ข้ อมูลทัว่ ไป
1.ชื่ อสารเคมีและชื่ อสารของผู้ผลิต
2.ส่ วนผสม
2.ข้ อมูลเกีย่ วกับอันตราย
3.คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
3.ส่ วนประกอบ/ข้ อมูลของส่ วนผสม
4.ข้ อมูลเกีย่ วกับวัตถุอนั ตราย
4.การปฐมพยาบาล
5.การปฐมพยาบาล
5.มาตรการในการดับเพลิง
6.การปฏิบตั ิเมื่อเกิดไฟไหม้
6.มาตรการจัดการเมื่อเกิดการหกรดหรื อรั่วไหล
7.การปฏิบตั ิเมื่อเกิดการรั่วไหล
7.การใช้ และการเก็บรักษา
8.การใช้ และการจัดเก็บ
8.การควบคุมการสั มผัส/การป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล
9.ค่ ามาตรฐานความปลอดภัย/
9.คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
03/05/06
การควบคุ
ม/การป้องกันส่ วนบุคคล
GHS for FDA
20
การเปรียบเทียบหัวข้ อระหว่ าง (M)SDS ตาม พ.ร.บ.วัตถุอนั ตราย และตามระบบ GHS
(M)SDS ตาม พ.ร.บ.วัตถุอนั ตราย
SDS ตามระบบ GHS
10.ความคงตัวและการเกิดปฏิกริ ิยา
10.ความคงตัวและการเกิดปฏิกริ ิยา
11.ข้ อมูลด้ านพิษวิทยา
11.ข้ อสนเทศด้ านพิษวิทยา
12.ข้ อมูลผลกระทบต่ อระบบนิเวศน์
12.ข้ อสนเทศด้ านนิเวศวิทยา
13.การกาจัด/ทาลาย
13.ข้ อพิจารณาในการกาจัดหรื อทาลาย
14.ข้ อมูลสาหรับการขนส่ ง
14.ข้ อสนเทศเกีย่ วกับการขนส่ ง
15.สั ญลักษณ์ หรื อฉลาก
15.ข้ อสนเทศด้ านกฎระเบียบ
16.ข้ อมูลอื่นๆ
16.ข้ อสนเทศอื่นๆ
จากการเปรียบเทียบข้ างต้ น สามารถสรุปได้ ดงั นี้
(1) หัวข้ อของข้ อมูลทีต่ ้ องระบุไว้ ในเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยตาม พ.ร.บ.วัตถุอนั ตรายและตามระบบ GHS
มีความเหมือนกันถึง 15 หัวข้ อ (จากทั้งหมด 16 หัวข้ อ)
(2) หัวข้ อทีแ่ ตกต่ างกันมี 1 หัวข้ อ คือหัวข้ อที่ 15 ซึ่งตาม พ.ร.บ.วัตถุอนั ตราย ระบุเป็ นสั ญลักษณ์ หรื อฉลาก แต่
ตามระบบ GHS จะเป็ นข้ อสนเทศด้ านกฎระเบียบ (และตามมาตรฐาน ISO ซึ่งไทยใช้ เป็ นเอกสารอ้ างอิง ก็
เป็ นข้ อสนเทศด้ านกฎระเบียบ)
(3) ในบรรดาหัวข้ อทีเ่ หมือนกัน 15 หัวข้ อ มีหัวข้ อทีจ่ ัดอยู่ในลาดับตรงกัน 7 หัวข้ อ (เส้ นแสดงลูกศรตรงกัน) ที่
เหลืออีก 8 หัวข้ อ มีการจัดลาดับทีส่ ลับกัน (reversed)
03/05/06
GHS for FDA
21
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
้
2.1 เกณฑ์ทภ
ี่ าคธุรกิจอุตสาหกรรมใชในการจ
าแนกสารเคมีและวัตถุอน
ั ตรายใน
ปั จจุบน
ั (ต่อ)
• ในปั จจุบน
ั ผู ้ประกอบการในประเทศไทยไม่ได ้มีการจัดทาเอกสารข ้อมูลความ
ปลอดภัย(MSDS)เอง แต่ปฏิบต
ั ต
ิ ามรายละเอียดโดยย่อดังนี้
– ในกรณีทม
ี่ บ
ี ริษัทแม่อยูท
่ ต
ี่ า่ งประเทศและผลิตสารเคมีชนิดเดียวกันก็ใช ้ MSDS
นัน
้ แปลเป็ นภาษาไทยแล ้วยืน
่ ให ้กับทางราชการ
– ในกรณีทน
ี่ าเข ้าก็ทาเหมือนกัน คือขอเอกสาร MSDS จากผู ้ขายแล ้วแปลเป็ นภา
ไทยสง่ ให ้กับทางราชการ
– ในกรณีทผ
ี่ ลิตแล ้วขายในประเทศก็จะมีเอกสาร MSDS บ ้างแต่ไม่ครบทุกหัวข ้อ
แต่ข ้อมูลทางกายภาพค่อนข ้างจะสมบูรณ์เพราะลูกค ้าต ้องการ
– ในกรณีทส
ี่ ง่ ออกไปต่างประเทศก็มก
ี ารจัดทาเอกสาร MSDS บ ้างโดยคัดลอก
ข ้อมูลมาบางสว่ นจากเอกสารต่างประเทศ หรือมีข ้อมูลพืน
้ ฐานจากบริษัทแม่ แต่
ข ้อมูลทางกายภาพค่อนข ้างจะสมบูรณ์เพราะลูกค ้าต ้องการ
• ในเรือ
่ งของฉลากจะค่อนข ้างหลากหลายไม่มรี ป
ู แบบทีแ
่ น่นอนยกเว ้น
ั ตาม FAO และ
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและยาฆ่าแมลงทีก
่ ฎหมายเด่นชด
WHO
03/05/06
GHS for FDA
22
ตัวอย่ างฉลากที่มีในประเทศไทย
03/05/06
GHS for FDA
23
ตัวอย่ างฉลากที่มีในประเทศไทย
03/05/06
GHS for FDA
24
ตัวอย่ างฉลากที่มีในประเทศไทย
03/05/06
GHS for FDA
25
Laundry Powder Detergent Label (Example: ‘Attack’)
< Side1 >
< Side2 >
Usage
instructions
< Label based upon
Household Goods Quality
Labeling Law >
Product name・
Ingredients・Liquid・
Use・
Net weight・Suggested
usage quantity・
Usage warnings
Emergency measures
label in case of accident
03/05/06
GHS for FDA
26
Chlorine Bleach Label
Household Goods Quality Labeling Law
Industry Voluntary Standard
Pictograph warnings
Special warning label
Warning label to
avoid danger
Emergency measures
label in case of accident
Intended use as bleach or
detergent 『Product name /
Kitchen bleach』
Special
warning label
03/05/06
Appeal point
GHS for
FDA bleach alkaline ingredient label
Chlorine
→1% or more:『Sodium hydroxide(Alkaline) 』
27
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
้
2.1 เกณฑ์ทภ
ี่ าคธุรกิจอุตสาหกรรมใชในการจ
าแนกสารเคมี
และวัตถุอน
ั ตรายในปั จจุบน
ั (ต่อ)
ปั จจุบน
ั ได ้มีหลายองค์กรทีไ่ ด ้ให ้ความสนใจในการให ้
ความรู ้แก่ผู ้ประกอบการในการจัดทาเอกสารข ้อมูลความ
ปลอดภัยและฉลากทีถ
่ ก
ู ต ้อง โดยมีการจัดการฝึ กอบรมอย่าง
ต่อเนือ
่ ง โดยได ้รับการสนั บสนุนจากภาครัฐทุกภาคสว่ น
่
อาทิเชน
– คณะกรรมการบริหาร Responsible Care ดูแลด ้วยความ
รับผิดชอบแห่งประเทศไทย
– กลุม
่ อุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
– สมาคมอารักขาพืชไทย เป็ นต ้น
03/05/06
GHS for FDA
28
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
ื่ สารความเป็ นอันตรายทีใ่ ชในประเทศกั
้
2.2 ความแตกต่างของระบบการสอ
บระบบ GHS
จากการเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายไทยและระบบ GHS ในสว่ นทีเ่ กีย
่ วข ้อง
กับการจาแนกตามทีก
่ ล่าวข ้างต ้น สามารถวิเคราะห์ได ้ ดังนี้
กฎหมายไทยจาแนกความเป็ นอันตรายไว ้อย่างกว ้างๆ โดยรวมทัง้ อันตรายทาง
กายภาพและอันตรายต่อสุขภาพและสงิ่ แวดล ้อมไว ้ด ้วยกัน ในขณะทีภ
่ ายใต ้ระบบ
GHS มีการจาแนกทัง้ สองสว่ นไว ้แยกจากกัน สว่ นหนึง่ เป็ นอันตรายต่อสุขภาพและ
้
สงิ่ แวดล ้อมเปรียบเทียบได ้กับการมีอฐิ บล็อคไว ้เลือกใชหลายบล็
อค ซงึ่ มีข ้อแนะนา
้
ให ้ใช ้ Building Block Approach ในการนาระบบ GHS ไปใช ้ คือเลือกใชตามความ
้ ง้ หมด
จาเป็ นและเหมาะสม ไม่จาเป็ นต ้องนา Full Range มาใชทั
่ ลูกจ ้าง คนงาน
เนือ
่ งด ้วยกลุม
่ เป้ าหมายประกอบด ้วยหลายสว่ นอาทิเชน
ตลอดจนผู ้เกีย
่ วข ้องในการขนสง่ ผู ้บริโภค และผู ้มีหน ้าทีป
่ ฏิบต
ั ก
ิ ารตอบโต ้เหตุ
ฉุกเฉินจากสารเคมี (emergency responders) นอกจากนัน
้ เพือ
่ ให ้ ผู ้ให ้บริการแก่
้
่ แพทย์
กลุม
่ เป้ าหมายเหล่านีย
้ ังสามารถนาข ้อสนเทศไปใชประโยชน์
ได ้อีกด ้วย เชน
พยาบาล วิศวกร ด ้านความปลอดภัย และเจ ้าหน ้าทีอ
่ าชวี ะอนามัย เป็ นต ้น
03/05/06
GHS for FDA
29
การเปรียบเทียบความเป็ นอันตรายตาม พ.ร.บ. วัตถุอนั ตราย กับระบบ GHS
พ.ร.บ. วัตถุอนั ตราย
(1) วัตถุระเบิดได้
(2) วัตถุไวไฟ
การจาแนกตามระบบ GHS
วัตถุระเบิด
สารไวไฟ ทั้งทีเ่ ป็ นก๊ าซ ละอองลอย
ของเหลว และของแข็ง
สารออกซิไดซ์ ท้งั ทีเ่ ป็ นก๊ าซ
ของเหลว และของแข็ง
สารเปอร์ ออกไซด์ อนิ ทรีย์
สารทีม่ พี ษิ เฉียบพลัน
สารทีเ่ ป็ นอันตรายต่ อสุ ขภาพทั้งหมด
(ไม่ ได้ กาหนด)
สารทีก่ ่ อให้ เกิดการกลายพันธ์
(3) วัตถุออกซิไดซ์ และ
วัตถุเปอร์ ออกไซด์
(4) วัตถุมพี ษิ
(5) วัตถุทที่ าให้ เกิดโรค
(6) วัตถุกมั มันตรังสี
(7) วัตถุทกี่ ่ อให้ เกิดการเปลีย่ นแปลง
ทางพันธุกรรม
03/05/06
GHS for FDA
30
การเปรียบเทียบความเป็ นอันตรายตาม พ.ร.บ. วัตถุอนั ตราย กับระบบ GHS
พ.ร.บ. วัตถุอนั ตราย
(8) วัตถุกดั กร่ อน
(9) วัตถุทกี่ ่ อให้ เกิดการระคายเคือง
(10) วัตถุอย่ างอื่น ไม่ ว่าจะเป็ นเคมีภัณฑ์
หรื อสิ่ งอื่นใดที่อาจทาให้ เกิด
อันตรายแก่ บุคคล สั ตว์ พืช
ทรัพย์ หรื อสิ่ งแวดล้ อม
03/05/06
การจาแนกตามระบบ GHS
สารกัดกร่ อนโลหะ
กัดกร่ อนผิวหนัง
สารทีท่ าให้ นัยน์ ตาเสี ยหายอย่ างรุนแรง
สารระคายเคืองผิวหนัง
สารระคายเคืองตา
สารทีเ่ ป็ นอันตรายต่ อสุ ขภาพและ
สิ่ งแวดล้ อมทั้งหมด 10 ประเภท
ก๊ าซภายใต้ ความดัน
สารทีท่ าปฏิกริ ิยาได้ ด้วยตัวเอง
สารไพโรโฟริค ทั้งทีเ่ ป็ นของเหลวและของแข็ง
สารทีเ่ กิดความร้ อนได้ เอง
สารซึ่งสั มผัสกับนา้ แล้ วให้ ก๊าซไวไฟ
GHS for FDA
31
การเปรียบเทียบหัวข้ อ (headings)
ของเอกสารข้ อมูลความปลอดภัยตามระบบ ISO และตามระบบ GHS
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
GHS – SDS FORMAT
ISO – MSDS FORMAT
Product and company identification
Composition/information on ingredients
Hazards identification
First – aid measures
Fire – fighting measures
Accidental release measures
Handling and storage
Exposure controls /personal protection
Physical and chemical properties
Stability and reactivity
Toxicological information
Ecological information
Disposal considerations
Transport information
Regulatory information
Other information
03/05/06
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
GHS for FDA
Product and company information
Hazards identification
Composition/information on ingredients
First aid measures
Fire – fighting measures
Accidental release measures
Handling and storage
Exposure controls / personal protection
Physical and chemical properties
Stability and reactivity
Toxicological information
Ecological information
Disposal considerations
Transport information
Regulatory information
Other information
32
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
ื่ สารความเป็ นอันตรายทีใ่ ชในประเทศกั
้
2.2 ความแตกต่างของระบบการสอ
บระบบ GHS
ฉลากตามระบบ GHS ต ้องมีสาระสาคัญ 2 สว่ นคือ สว่ นแรกมีการกาหนดไว ้เป็ น
มาตรฐานแล ้ว ได ้แก่
 ภาพจาลองแสดงถึงอันตราย (ภาพพิกโตแกรมรวมทัง้ รูปลักษณ์)
ั ญาณ และ
 คาสญ
 ข ้อความแสดงอันตราย
สว่ นเรือ
่ งทีส
่ องเป็ นเรือ
่ งทีไ่ ม่สามารถกาหนดมาตรฐานได ้หรือเป็ นเรือ
่ งทีย
่ ังไม่มก
ี าร
ปรับประสานเข ้าหากัน ได ้แก่ข ้อสนเทศในเรือ
่ งต่อไปนี้ คือ
ื่ ผลิตภัณฑ์
 ชอ
ื่ สารเคมี
 ชอ
ื่ ผู ้ผลิต
 ชอ
 ข ้อสนเทศทีเ่ ป็ นข ้อควรระวัง และ
 ข ้อสนเทศทีเ่ ป็ นสว่ นเพิม
่ เติม
03/05/06
GHS for FDA
33
้
2. การสารวจวิเคราะห์สถานการณ์ในการนา GHS ไปใชในภาคอุ
ตสาหกรรม
ื่ สารความเป็ นอันตรายทีใ่ ชในประเทศกั
้
2.2 ความแตกต่างของระบบการสอ
บระบบ GHS
ระบบ GHS ไม่ได ้กาหนดรูปแบบ (Format / Layout) ทีต
่ ายตัว
ในการจัดวางสาระสาคัญต่างๆลงบนฉลาก เพียงแต่กาหนดแนวทางไว ้
กว ้างๆ ว่าสาระสาคัญทีเ่ ป็ นมาตรฐาน 3 ประการควรอยูด
่ ้วยกันบนฉลาก
สว่ นจะวางไว ้อย่างไร รวมทัง้ ข ้อสนเทศอืน
่ ทีเ่ หลือนอกนัน
้ ให ้อยูใ่ น
ดุลพินจ
ิ ของผู ้ผลิต/ผู ้จัดจาหน่ายทีจ
่ ะจัดวางตามทีเ่ ห็นเหมาะสม
03/05/06
GHS for FDA
34
ต ัวอย่างฉลากตามระบบ GHS
โอ้ โหเด็ด
!
ชื่ อผลิตภัณฑ์ :
ชื่ อสารเคมี : 2,4-ดี ไอโซบิวทิล เอสเทอร์
(2,4-D isobutyl ester)
อันตราย
เป็ นอันตรายได้ หากสู ดดมเข้ าไป
ข้ อควรระวัง:
- ให้ สวมหน้ ากากและถุงมือขณะฉีดพ่น
- ห้ ามเก็บไว้ใกล้มือเด็ก
- หากสัมผัสตาให้ รีบล้างด้ วยนา้ สะอาด
และรีบไปพบแพทย์
03/05/06
ชื่ อผู้ผลิต :
บริษทั XXXX จากัด
66 ถนนเทพารักษ์
อ. บางพลี จ. สมุทรปราการ
โทร
xxxxxxxx
โทรสาร xxxxxxxx
ข้ อสนเทศส่ วนเสริมเพิม่ เติม :
ทะเบียนวัตถุอนั ตรายเลขที่ 2432/2548
GHS for FDA
35
ึ ษาสถานการณ์และแนวทางในการร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคอุตสาหกรรมเพือ
3. การศก
่
่ งว่าง ( Situation and Gap Analysis)
วิเคราะห์สถานการณ์และชอ
3.1 ข้อมูลทว่ ั ไปเกีย
่ วก ับโรงงานทีเ่ กีย
่ วข้องก ับสารเคมี
จากข ้อมูลปี พ.ศ. 2547 ของสานักเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ื่ สาร กรมโรงงานอุตสาหกรรมพบว่าสถิตส
สอ
ิ ะสมจานวนโรงงานทีไ่ ด ้รับ
อนุญาตให ้ประกอบกิจการตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535
จาแนกตามหมวดอุตสาหกรรมสาคัญ รายจาพวกที่ 3 มีทส
ี่ าคัญ
ิ้ 120,145 โรงงาน)
ดังต่อไปนี้ (จากจานวนโรงงานทัง้ สน
หมวดอุตสาหกรรมเคมีภณ
ั ฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี มีจานวน 1,905 โรงงาน
หมวดอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากปิ โตรเลียม มีจานวน 334 โรงงาน
หมวดการพิมพ์ มีจานวน 713 โรงงาน
หมวดผลิตภัณฑ์พลาสติก มีจานวน 3,684 โรงงาน
หมวดสงิ่ ทอ มีจานวน 2,346 โรงงาน
หมวดกระดาษและผลิตภัณฑ์จากกระดาษ มีจานวน 691 โรงงาน
หมวดยางและผลิตภัณฑ์จากยาง มีจานวน 1,449 โรงงาน เป็ นต ้น
03/05/06
GHS for FDA
36
ึ ษาสถานการณ์และแนวทางในการร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคอุตสาหกรรมเพือ
3. การศก
่
่ งว่าง ( Situation and Gap Analysis)
วิเคราะห์สถานการณ์และชอ
และในระหว่างปี พ.ศ. 2545 -2546 กรมโรงงานอุตสาหกรรมได ้ทาการสารวจ
้
โรงงานทีม
่ ก
ี ารใชสารเคมี
ครอบคลุมโรงงาน 29 ประเภท รวมแล ้วมีโรงงานทีต
่ ้องสารวจ
ิ้ 9,552 โรงงานแต่สามารถดาเนินการสารวจได ้ร ้อยละ 77 คือ 7,348 โรงงาน
ทัง้ สน
้
ข ้อมูลทีไ่ ด ้คือ ชนิดและปริมาณสารเคมีทใี่ ชและสารเคมี
ทเี่ ก็บในโรงงาน จากนัน
้ นา
ข ้อมูลสารเคมีทไี่ ด ้มาทาให ้อยูใ่ นรูปแบบทีจ
่ ะนาไปสงั เคราะห์ตอ
่ ได ้โดยการหารหัส
อ ้างอิง หรือ CAS NUMBER ให ้กับสารเคมีเท่าทีจ
่ ะสามารถทาได ้ ดังนัน
้ สารเคมี
ทัง้ หมดทีไ่ ด ้จึงแบ่งได ้เป็ น 2 กลุม
่ คือ มี CAS NUMBER และ ไม่ม ี CAS NUMBER
จากนัน
้ นาข ้อมูลเฉพาะสว่ นทีม
่ ี CAS NUMBER มาจาแนกตามลักษณะอันตรายที่
กาหนดโดยองค์การสหประชาชาติ (UN Class) และนาเสนอปริมาณของสารเคมีใน UN
Class ต่าง ๆ เป็ นรายจังหวัดและอาเภอ ซงึ่ ในทีน
่ จ
ี้ ะแสดงเฉพาะกรุงเทพมหานคร
จังหวัดระยอง จังหวัดสมุทรปราการ และ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีตวั เลขที่
แสดงดังต่อไปนี้
กรุงเทพมหานครมีปริมาณการใช ้ 7,971 ล ้านตัน มีปริมาณการเก็บ 1,332 ล ้านตัน
จังหวัดระยองมีปริมาณการใช ้ 73,479 ล ้านตัน มีปริมาณการเก็บ 5,044 ล ้านตัน
จังหวัดสมุทรปราการมีปริมาณการใช ้ 29,166 ล ้านตัน มีปริมาณการเก็บ242 ล ้านตัน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีปริมาณการใช ้ 4,044 ล ้านตัน มีปริมาณการเก็บ 221 ล ้านตัน
03/05/06
GHS for FDA
37
ึ ษาสถานการณ์และแนวทางในการร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคอุตสาหกรรมเพือ
3. การศก
่
่ งว่าง ( Situation and Gap Analysis)
วิเคราะห์สถานการณ์และชอ
3.2 การจาแนกชนิดของสารเคมีและสว่ นผสมของสารเคมี
้ ตสาหกรรมได ้ใชข้ ้อมูลจากหลายแหล่งอาทิเชน
่
•สารเคมีทใี่ ชในอุ
ึ ษาจากผู ้ผลิตหรือผู ้ขายในต่างประเทศ โดยเฉพาะสารผสม
- ข ้อมูลการศก
้
- ข ้อมูลทางวิชาการทีใ่ ชในการขึ
น
้ ทะเบียนวัตถุอน
ั ตรายตามแบบฟอร์ม วอ./
อก. 3
- ข ้อมูลจากการแหล่งข ้อมูลจากเวบไซด์ทางวิชาการต่างๆ
้
- ข ้อมูลทางวิชาการทีใ่ ชในการน
าเข ้าวัตถุอน
ั ตรายตามแบบฟอร์ม วอ./อก. 6
3.3 การจ ัดทาเอกสารข้อมูลความปลอดภ ัยของสารเคมีและฉลาก
้
- ได ้ใชเอกสารข
้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี (MSDS) จากผู ้ผลิตหรือผู ้ขาย
้
ในต่างประเทศ ซงึ่ ใชมาตรฐาน
ISO 11014-1 (1994): Safety data sheet
for chemical products – Part 1: Content and order of sections ซงึ่
กาหนดขึน
้ โดยคณะกรรมการรวิชาการ ISO/TC 47 Chemistry หรือ กฎระเบียบ
ของสหภาพยุโรปเลขที่ 67/548/EEC (2001/58/EC)
้
- ได ้ใชฉลากตามกฎหมายในประเทศ
ซงึ่ ก็ยังไม่สอดคล ้องกับระบบ GHS
03/05/06
GHS for FDA
38
ึ ษาสถานการณ์และแนวทางในการร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคอุตสาหกรรม
3. การศก
่ งว่าง ( Situation and Gap Analysis)
เพือ
่ วิเคราะห์สถานการณ์และชอ
3.4 การพ ัฒนาความรูแ
้ ละการฝึ กอบรม
3.4.1 การฝึ กอบรมภายใน
ในสว่ นของภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุม
่ อุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่ง
ั มนาและฝึ กอบรมอย่างต่อเนือ
ประเทศไทยได ้มีการจัดสม
่ ง ได ้มีการนาเอา
หลักการของ Responsible Care ดูแลด ้วยความรับผิดชอบ มาประยุกต์ใช ้
ภายใต ้การกากับดูแลของ คณะกรรมการบริหาร Responsible Care ดูแลด ้วย
ความรับผิดชอบ แห่งประเทศไทย ซงึ่ ได ้มีการจัดทาคูม
่ อ
ื การดาเนินการ 6
หัวข ้อ กล่าวคือ
1. การสร ้างความตระหนักต่อชุมชนและการตอบโต ้ภาวะฉุกเฉิน
(Community Awareness and Emergency Response (CAER) Code)
2. กระบวนการทีป
่ ลอดภัย (Process Safety Code)
3. สุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน (Employee Health and Safety Code)
4. มาตรการในการจัดจาหน่าย (Distribution code)
5. การป้ องกันการเกิดมลพิษ (Pollution Prevention Code)
6. มาตรการในการดูแลผลิตภัณฑ์ (Product Stewardship Code)
03/05/06
GHS for FDA
39
ึ ษาสถานการณ์และแนวทางในการร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคอุตสาหกรรมเพือ
3. การศก
่
่ งว่าง ( Situation and Gap Analysis)
วิเคราะห์สถานการณ์และชอ
3.4.2 การร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคเอกชน
ได ้ทาการจัดอบรมให ้ความรู ้แก่ผู ้ประกอบการมาอย่างต่อเนื่อง
ภายใต ้ความร่วมมือระหว่างกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยสานักควบคุม
วัตถุอน
ั ตราย สานักเทคโนโลยีความปลอดภัย กลุม
่ อุตสาหกรรมเคมี
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย METI, JETRO และ AOTS ตัง้ แต่ปี
ั มนาและฝึ กอบรมขัน
พ.ศ. 2545 เป็ นต ้นมา ปั จจุบน
ั มีผู ้ผ่านการสม
้ ต ้น
ประมาณ 500 คน
มีผู ้ทีผ
่ า่ นการฝึ กอบรมขัน
้ กลางและขัน
้ สูงจานวน
40 คน ผลจากการฝึ กอบรมอย่างต่อเนือ
่ งในครัง้ นีไ
้ ด ้มีบค
ุ ลากรทีม
่ ค
ี วาม
เข ้าใจและสามารถจัดทาเอกสารข ้อมูลความปลอดภัยและฉลากตาม
ั ประสพการณ์และความ
ระบบ GHS ในระดับหนึง่ แต่ก็คงต ้องอาศย
ั ชว่ งหนึง่ จึงจะสามารถเพิม
ชานาญอีกสก
่ บุคลากรดังกล่าวได ้มากขึน
้
ปั จจุบน
ั ได ้มีการจัดทาหลักสูตรฝึ กอบรมขัน
้ ต ้นเสร็จเรียบร ้อยแล ้วและซงึ่
ี่ วชาญชาวญีป
หลักสูตรดังกล่าวได ้ผ่านการเห็นชอบจากผู ้เชย
่ นของ
ุ่
METI/JETRO/AOTS เมือ
่ เดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2548 ทีผ
่ า่ นมา
03/05/06
GHS for FDA
40
ึ ษาสถานการณ์และแนวทางในการร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคอุตสาหกรรมเพือ
3. การศก
่
่ งว่าง ( Situation and Gap Analysis)
วิเคราะห์สถานการณ์และชอ
3.4.3 การพ ัฒนาการเรียนรู ้
เพือ
่ ในขณะเดียวกันกลุม
่ อุตสาหกรรมเคมี โดยคณะกรรมการบริหาร Responsible Care
ดูแลด ้วยความรับผิดชอบ แห่งประเทศไทย ก็ได ้ทาการสนับสนุนให ้เกิดกิจกรรมอย่าง
ิ ในการทาความเข ้าใจภายในองค์กรเกีย
ต่อเนือ
่ งของสมาชก
่ วกับการนาเอาระบบ GHS
้ จการของสมาชก
ิ อย่างเป็ นรูปธรรม โดยเฉพาะในปลายปี พ.ศ. 2548 กลุม
มาใชในกิ
่
อุตสาหกรรมเคมีได ้แสดงเจตจานงในการทีเ่ ข ้าร่วมปฏิญญาทีว่ า่ ด ้วยการดูแลสารเคมี
ด ้วยความรับผิดชอบของภาคอุตสาหกรรม (Global Charter) ทีเ่ น ้นไปในการยก
มาตรฐานการดูแลผลิตภัณฑ์ (Product Stewardship) ทัง้ วงจรชวี ต
ิ ของผลิตภัณฑ์และ
ตามกิจกรรมทีเ่ กีย
่ วข ้อง
ั
3.4.4 ศกยภาพในการปฏิ
บ ัติตามระบบ GHS
ในสว่ นของการนาเข ้าสารเคมีจากต่างประเทศหรือบริษัททีม
่ บ
ี ริษัทแม่ตงั ้ อยูท
่ ี่
ต่างประเทศจะพบว่าปั ญหาในการจัดเตรียมเอกสารไม่วา่ จะเป็ นเอกสารข ้อมูลความ
ปลอดภัยของสารเคมี (MSDS) หรือว่าฉลาก ค่อนข ้างทีจ
่ ะน ้อยเพราะข ้อมูลทางวิชาการ
สามารถหาได ้โดยง่าย ปั ญหาทีจ
่ ะพบมากก็คอ
ื ผู ้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม
(SMEs) ในกรณีทผ
ี่ ลิตสารผสมขึน
้ มาโดยกระบวนการของตัวเอง หรือคิดค ้นผลิตภัณฑ์
ใหม่ด ้วยตัวเองก็จะต ้องจัดทาเอกสารทัง้ หมดด ้วยตนเอง ซงึ่ ต ้องมีบค
ุ ลากรทีม
่ ี
ความสามารถสูง
03/05/06
GHS for FDA
41
ึ ษาสถานการณ์และแนวทางในการร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคอุตสาหกรรมเพือ
3. การศก
่
่ งว่าง ( Situation and Gap Analysis)
วิเคราะห์สถานการณ์และชอ
ั
่ ยให้สมฤทธิ
3.5 ปัจจ ัยทีจ
่ ะชว
ผ
์ ล
- การมีสว่ นร่วมของเอกชนในการให ้ความเห็นประเด็นต่างๆ
้ างเป็ นขัน
- การบังคับใชอย่
้ ตอน โดยเริม
่ จากสารเดีย
่ วก่อนให ้เต็มรูปแบบ
แล ้วจึงตามด ้วยสารผสม
- การฝึ กอบรมผู ้จัดทาเอกสารข ้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี (SDS)
และฉลาก (Labelling) อย่างต่อเนือ
่ ง โดยเฉพาะผู ้ประกอบการขนาด
กลางและขนาดย่อม
- การสนับสนุนให ้เกิดการชว่ ยเหลืออย่างเป็ นรูปธรรม โดยเฉพาะ
ผู ้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม
้ างเป็ นรูปธรรม
- การสนับสนุนให ้เกิดการบังคับใชอย่
ั พันธ์ให ้แพร่หลาย
- การประชาสม
03/05/06
GHS for FDA
42
ึ ษาสถานการณ์และแนวทางในการร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคอุตสาหกรรมเพือ
3. การศก
่
่ งว่าง ( Situation and Gap Analysis)
วิเคราะห์สถานการณ์และชอ
้ ของภาคอุตสาหกรรม
3.6 ต้นทุนทีเ่ พิม
่ ขึน
3.6.1 ฉลาก (Labelling)
ต ้นทุนของการจัดทาฉลากจะอยูท
่ ป
ี่ ระมาณร ้อยละ 0.5 ถึง 3.0 ขึน
้ อยูก
่ บ
ั
ขนาดของบรรจุภณ
ั ฑ์ ผลิตภัณฑ์ทใี่ สใ่ นบรรจุภณ
ั ฑ์หลากหลายขนาด
่ ส ี และ สารละลายต่างๆ แต่วธิ ก
ย่อมมีต ้นทุนทีส
่ งู ขึน
้ เชน
ี ารทาฉลากจะมี
ื่ มโยงกับระบบคลังสน
ิ ค ้า (On line) และ
ทัง้ ระบบพิมพ์แบบอัตโนมัตเิ ชอ
หรือ การสงั่ ทาล่วงหน ้าประมาณ 6 เดือน
3.6.2 เอกสารข้อมูลความปลอดภ ัยของสารเคมี (SDS)
ิ ค ้าทีน
- ในกรณีทม
ี่ เี ป็ นสารเดีย
่ วถ ้าเป็ นสน
่ าเข ้ามาหรือมีบริษัทแม่อยูท
่ ี่
ต่างประเทศก็สามารถใชข้ ้อมูลดังกล่าวได ้เพียงแต่ต ้นทุนในการแปลเป็ น
ภาษาไทยเท่านัน
้
03/05/06
GHS for FDA
43
ึ ษาสถานการณ์และแนวทางในการร่วมมือระหว่างภาคร ัฐและภาคอุตสาหกรรมเพือ
3. การศก
่
่ งว่าง ( Situation and Gap Analysis)
วิเคราะห์สถานการณ์และชอ
้ ของภาคอุตสาหกรรม
3.6 ต้นทุนทีเ่ พิม
่ ขึน
3.6.2 เอกสารข้อมูลความปลอดภ ัยของสารเคมี (SDS) (ต่อ)
- ในกรณีทเี่ ป็ นสารผสมทีผ
่ ลิตในประเทศไทย ซงึ่ จะต ้องทาการทดสอบทางกายภาพ
จากห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารทีท
่ าการทดสอบตามมาตรฐาน OECD test guideline ซงึ่ มีคา่ การ
ทดสอบประมาณ 30,000 – 35,000 บาท ซงึ่ ห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารดังกล่าวมีทงั ้ ภาครัฐและ
่ ห ้องปฏิบต
ภาคเอกชน เชน
ั ก
ิ ารกรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็ นต ้น
- การทดสอบทางพิษวิทยานอกจากจะต ้องทาการทดสอบตามมาตรฐาน OECD test
guideline แล ้วจะต ้องได ้มาตรฐาน GLP ซงึ่ จะต ้องค่าใชจ่้ ายในการตัง้ ห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารที่
ั การสง่
สูงมากแล ้ว ค่าใชจ่้ ายในการทดสอบค่อนข ้างสูงและในปั จจุบน
ั ยังคงต ้องอาศย
ตัวอย่างไปทดสอบจากต่างประเทศอยู่ สว่ นการทดสอบทางพิษวิทยาพบว่ามีคา่ ใชจ่้ าย
่
ค่อนข ้างทีจ
่ ะสูงมาก อาทิเชน
ั ว์น้ า เชน
่ ปลา มีคา่ ทดสอบสูงถึง 300,000 บาท
- การทดสอบ Acute Toxicity กับสต
- การทดสอบทาง Chronic Toxicity มีคา่ ทดสอบมากกว่า 3,000,000 บาท และใช ้
เวลานานมากกว่า 2 ปี
- การทดสอบความเป็ นสารก่อเกิดมะเร็ง มีคา่ ทดสอบมากกว่า 20,000,000 บาท
03/05/06
GHS for FDA
44
4. บทสรุปวิเคราะห์สถานการณ์
4.1 กฎระเบียบทีต
่ อ
้ งแก้ไข
1.ในเรือ
่ งการจาแนกความเป็ นอันตรายของสารเคมีเพือ
่ ให ้เป็ นไปตาม
ระบบ GHS ทัง้ ความเป็ นอันตรายทางกายภาพและอันตรายต่อสุขภาพ
และสงิ่ แวดล ้อม ไม่จาเป็ นต ้องแก ้ไขปรับปรุง พ.ร.บ.วัตถุอน
ั ตราย
ั อานาจตามความในมาตรา 20(1) แห่ง
พ.ศ.2535 แต่จาเป็ นต ้องอาศย
พ.ร.บ.วัตถุอน
ั ตราย พ.ศ.2535 ในการออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
้
กาหนดให ้ระบบ GHS มาใชในการจ
าแนกสารเคมีและการจัดทาฉลาก
สารเคมีในประเทศไทย
03/05/06
GHS for FDA
45
4. บทสรุปวิเคราะห์สถานการณ์
4.1 กฎระเบียบทีต
่ อ
้ งแก้ไข
2. ในการออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เพือ
่ แก ้ไขปรับปรุง
กฎระเบียบของไทยทีย
่ ังขัดหรือแย ้งกับการจัดทาฉลากตามระบบ GHS
กล่าวคือ
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 24 (พ.ศ.2530) ออกตามความใน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ.2512 เรือ
่ ง หน ้าทีข
่ องผู ้รับใบอนุญาตประกอบ
้ ้อยู่ ทีข
กิจการโรงงาน ฉบับลงวันที่ 1 มิถน
ุ ายน 2530 ซงึ่ ยังคงใชได
่ ด
ั หรือแย ้ง
ั ลักษณ์และเครือ
กับระบบ GHS ก็คอ
ื สญ
่ งหมายสาหรับฉลากทีต
่ ้องปิ ดหรือ
พิมพ์ไว ้บนภาชนะบรรจุเคมีภัณฑ์ ในรายการที่ 5 แนบท ้ายประกาศฯไม่เป็ นไป
ตามระบบ GHS
3. แก ้ไขประกาศกระทรวงมหาดไทย ออกตามความในข ้อ 2(7) แห่ง
ประกาศของคณะปฏิวัตฉ
ิ บับที่ 103 เรือ
่ ง ความปลอดภัยในการทางานเกีย
่ วกับ
้ ้อยูต
สารเคมีอน
ั ตราย ฉบับลงวันที่ 22 สงิ หาคม 2534 ซงึ่ ยังคงใชได
่ าม พ.ร.บ.
คุ ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ทีข
่ ด
ั หรือแย ้งกับระบบ GHS ก็คอ
ื ฉลากตามข ้อ 4
ของประกาศฯ ไม่เป็ นไปตามระบบ GHS
03/05/06
GHS for FDA
46
4. บทสรุปวิเคราะห์สถานการณ์
4.2 การฝึ กอบรมกลุม
่ เป้าหมาย (target audiences)
ซงึ่ แบ่งตามขัน
้ ตอนในวงจรชวี ต
ิ ของผลิตภัณฑ์และตามสาขาทีเ่ กีย
่ วข ้องได ้ ดังนี้
(1) กลุม
่ ผู ้ผลิต ผู ้นาเข ้า ผู ้สง่ ออกและผู ้ครอบครองสารเคมี ซงึ่ อาจแบ่งย่อย
้ อตามหน่วยงานทีม
ไปได ้อีกตามจุดประสงค์ในการใชหรื
่ อ
ี านาจหน ้าทีใ่ นการกากับดูแล
้
ั ว์ สารเคมีทใี่ ชในทาง
้
คือ สารเคมีทใี่ ชในทางการเกษตร
การประมง และการปศุสต
้
สาธารณสุข และสารเคมีทใี่ ชในทางอุ
ตสาหกรรม
้
้
(2) กลุม
่ ผู ้ใชสารเคมี
ซงึ่ อาจแบ่งย่อยเป็ นกลุม
่ ผู ้ใชสารเคมี
ในภาคเกษตร
้
ั รูพช
ี ) กลุม
้
(รวมทัง้ กลุม
่ ผู ้ใชสารป้
องกันกาจัดศต
ื โดยอาชพ
่ ผู ้ใชสารเคมี
ในบ ้านเรือนหรือ
ิ ค ้าบริโภค และกลุม
้
กลุม
่ ผู ้ใชส้ น
่ ผู ้ใชสารเคมี
ในภาคอุตสาหกรรม อันได ้แก่โรงงาน
้
อุตสาหกรรมทีใ่ ชสารเคมี
เป็ นวัตถุดบ
ิ ในการผลิต
03/05/06
GHS for FDA
47
4. บทสรุปวิเคราะห์สถานการณ์
4.2 การฝึ กอบรมกลุม
่ เป้าหมาย (target audiences) (ต่อ)
ซงึ่ แบ่งตามขัน
้ ตอนในวงจรชวี ต
ิ ของผลิตภัณฑ์และตามสาขาทีเ่ กีย
่ วข ้องได ้ ดังนี้
(3) กลุม
่ ลูกจ ้างคนงานในโรงงานทีท
่ างานเกีย
่ วข ้องกับสารเคมีอน
ั ตรายหรือที่
มีสารเคมีอน
ั ตรายเข ้ามาเกีย
่ วข ้องในสถานทีท
่ างานของคนงาน (workplace)
(4) กลุม
่ ผู ้เกีย
่ วข ้องกับการขนสง่ สารเคมีอน
ั ตรายภายในประเทศ
(5) กลุม
่ ผู ้ทีม
่ ห
ี น ้าทีป
่ ฏิบต
ั ก
ิ ารตอบโต ้เหตุฉุกเฉินจากสารเคมี (emergency
responders)
(6) กลุม
่ บุคคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาล (แพทย์ พยาบาล) ผู ้ทีจ
่ ะให ้
การปฐมพยาบาล และการบาบัดรักษาผู ้ประสบอุบต
ั เิ หตุทไี่ ด ้รับอันตรายจากสารเคมี
ึ ษาทีม
ึ ษาในสาขาวิชาเคมีหรือใน
(7) กลุม
่ สถาบันการศก
่ ก
ี ารจัดการศก
สาขาวิชาทีเ่ กีย
่ วข ้องกับเคมี
03/05/06
GHS for FDA
48
What is risk-based labeling option?
From R.Sedlak, SDA
Liquid detergent product containing > 0.1% ethanol & 10% surfactants洗浄剤
Hazard-based system
Based on hazard
and likelihood of injury
Danger
• May damage fertility or the
unborn child
• Cause eye irritation
03/05/06
Warning
Cause eye irritation
GHS for FDA
49 JSDA
2005.8.31
Endpoints
Acute
Endpoints
Decision process
Hazard
Classification
Labeling
Yes
No
No
Hazard
Not on
label
No
Chronic
Endpoints
Hazard
Classification
Yes
03/05/06risk-based labelingGHS
for FDA
with
option
Hazard
placed
Yes on label
Likelihood
that injury would occur
during normal use,
misuse, or accident
50
From R.Sedlak, SDA
JSDA
2005.8.31