Document 7204570

Download Report

Transcript Document 7204570

• 1. Anesthetic
Complications
• 2. Operative
Complications
• 3. post - Operative
Complications
อาการที่เกิดขึ้นเป็ นผลจากการใช้ยาชาในขนาดสู ง
แทงเข็มฉี ดยาเข้าเส้นเลือดโดยบังเอิญ
ใช้ยาชาในปริ มาณที่มากเกินไป หรื อใช้ยาชาที่มีความเข้มข้นสู งมาก
ฉี ดยาชาเข้าไปในบริ เวณที่เลือดมาเลี้ยงมาก และเร็ วเกินไป
Inhibitory impulse จะถูกกดก่อน ทาให้
facilitory เด่น เมื่อความเข้มข้นของยาชาในกระแสโลหิ ตเพิ่ม
มากขึ้น จะกด facilitory ทาให้เกิด generalized
CNS depression
ผิวหนังซี ด
ชีพจรเต้นเร็ วและคลายาก
ใจสั่น
หายใจลาบาก
Aspirate ยา ก่อนฉี ดทุกครั้งเพื่อป้องกันการฉี ดเข้าเส้นเลือด
ฉี ดยาชาช้าๆ
ใช้ยาชาที่มี vasoconstrictor ผสมอยูด่ ว้ ย
Skin rash
Urticaria
angioedema
Smooth muscle spasm
of GI
Cardiovascular
collapse
Skin rash
Smooth muscle spasm of Genitourinary
tract
Smooth muscle spasm of respiratory tract
รี บให้ epinephrine
ให้ oxygen ตามด้วย
Corticosteroid IM or IV
Antihistamine
เกิด vasodilatation เลือดไปคัง่ อยู่
ตาม phriphery
ความดันโลหิ ตลดลง เลือดไปเลี้ยงสมองไม่
พอ
หมดแรง หน้าซีด เหงื่อออก มือเท้าเย็น ชีพจรอ่อน
การหายใจช้าลง ความดันโลหิ ตลดต่าลง
จัดผูป้ ่ วยนอน
ราบ ขายกสู ง
เล็กน้อย เพื่อ
เพิ่ม
venous
return
อาจให้ดม
แอมโมเนีย
แทงเข็มเข้ าไปในกล้ ามเนื ้อ
ยาชาที่แช่ alcohol
ยาชาที่ไม่เป็ น isotonic
เกิดจากแทงเข็มถูกเส้นเลือด ทาให้
เลือดซึมกระจายเข้าเนื้อเยือ่ เห็น
เป็ นสี แดงช้ า
อาจเกิดขณะทา
posterior
superior
alveolar
nerve
block
ให้ใช้ผา้ ก๊อซกด เข้า
ไปด้านในและขึ้นบน
กดไว้สกั 5นาที
อาการอ้าปากไม่ข้ ึน เนื่องจากการหดเกร็ ง ของ masticatory
muscle ทาให้อา้ ปากได้นอ้ ยลง
พบได้หลังจากฉี ดยาชาเพื่อทา
แทงเข็มฉี ดยาเข้าไปในกล้ามเนื้อ
เกิดการติดเชื้อ
Hemorrhage
ใช้น้ าอุ่นประคบบ่อยๆ อมน้ าเกลือร้อนบ่อยๆ
หากมีการติดเชื้อให้ antibiotic
อาจพบได้ขณะทา inferior
alveolar nerve block
ดันเข็มชนกระดูก หรื อใต้เยือ่ หุม้ กระดูก
ใช้เข้มขนาดเล็กเกินไป หรื อใช้เข็มทื่อ
แทงเข็มถูกเส้นประสาท
เกิดการระคายเคืองเส้นประสาท จากการแช่
alcohol
การใช้ยาชาพ่น ทา หรื อฉี ด อาจทาให้เกิดเหงือกหรื อเนื้อเยื้อที่สัมผัส
กับยาชาเกิดการเปลี่ยนแปลง เป็ น 2 แบบ คือ
epithelial desquamation
Sterile abscess
การรักษา รักษาตามอาการ เช่น ถ้าปวดให้ยาแก้ปวดหรื ออาจทา
Ointment พวก steroid เพื่อลดการระคายเคือง
เป็ นการ paralyse ของ muscle of facial
expression
สาเหตุ แทงเข็มลึกมากเกินไปทาให้ปลายเข็มอยูใ่ กล้
กับ deep part ของ parotid gland
ซึ่ งส่ วนนี้มี facial nerve ฝังอยู่
ไม่ตอ้ งรักษา อาการต่างๆ
จะหายไปเองเมื่อหมด
ฤทธิ์ ยาชา
ภายใน 2-3 ชัว่ โมง
การมองเห็นภาพซ้อน อาจเกิดจากการทา posterior
superior alveolar nerve block หรื อ
Maxillary nerve block
ทาให้เกิดการ paralysis ของ extrinsic ocular muscle
ทาให้เกิด diplopia
เกิดการมองเห็นภาพซ้อน แต่จะหายไปเองได้
ภายใน 3 ชัว่ โมง
รากหัก หรื อตัวฟันแตก มักเกิดกับฟันที่ถอนยากๆ
ต้องใช้เครื่ องมือที่เหมาะสมแคะออกมา
ฟันข้างเคียงโยก เกิดจากการใช้คีมถอนฟันหรื อ
elevator ผิดวิธี
เกิดกับฟันที่ถอนยาก หรื อรากกาง
หากกระดูกที่แตกมีขนาดใหญ่และยังติดกับเยือ่ หุ ม้ กระดูกให้จดั
กระดูกให้เข้าที่ เย็บเหงือกที่ปากเบ้าฟัน เพื่อช่วยยึดกระดูกที่แตก
มักเกิดกับ
upper third molar
ที่มี ankylosis
Replace tuberosity ที่หกั เข้าที่เดิม หากมีขนาดใหญ่มาก
ให้ splint ด้วย sutures สัก 3-4 อาทิตย์
แล้วจึงวางแผนผ่าหลังจากกระดูกติดดีแล้ว
ฟันคุดทีฝ่ ังลึกอยู่ใน edentulous
atropic mandible
Osteolytic pathology
Brittle bone
จัดส่ วนขากรรไกรที่หกั ให้เข้าที่และทา intermaxillary
fixation ไว้ 3-4 อาทิตย์
เกิดขณะถอนฟัน จากการที่ออกแรงถอนฟันล่าง
มากเกินไป โดย support mandible ไม่เพียงพอ
ดันให้กลับเข้าที่เดิม โดยใช้นิ้วหัวแม่มือทั้ง 2 ข้าง กดบริ เวณฟัน
molar ทั้ง 2ด้าน นิ้วที่เหลือจับขอบล่างของ mandible ไว้
ออกแรงกดลงตรงนิ้วหัวแม่มือ ขณะเดียวกันกระดกนิ้วที่จบั ตรงขอบ
mandible ขึ้น พร้อมกับดัน mandible ไปข้างหลัง หัว
Condyle จะกลับเข้า glenoid fossa ได้
มีได้หลายสาเหตุดงั นี้
รากฟันอยูใ่ กล้เส้นประสาท อาจไปกด inferior alveolar nerve
ขณะงัดฟันออกมา
รากหักและถูกดันเข้าไปใน inferior alveolar canal ขณะแคะ
Nerve injury มักจะหายได้เอง โดยอาการชา
จะดีข้ ึนเรื่ อยๆ
รากฟัน premolar หรื อ molar หัก และ
ถูกดันเข้าไปใน max. sinus
Floor ของ max. sinus แตก หลุดติดกับ
รากฟันออกมาขณะถอน
ถ้ารู ทะลุเล็กมาก ไม่ตอ้ งทาอะไร แนะนาคนไข้ไม่ให้สั่งน้ ามูก 7-10 วัน
หากรู ทะลุมีขนาดใหญ่ ให้ทา flap ปิ ดเบ้าฟันให้สนิท
เครื่ องมือหักคา เครื่ องมือที่ปลายเล็กๆ เช่น explorer ที่ใช้แคะราก
หรื อ root tip pick
หากเห็นส่ วนที่หกั คาชัดเจนให้เอาออกทันที หากอยูล่ ึกในเนื้อเยือ่
ให้ x-ray หาตาแหน่งเครื่ องมือที่หกั แล้วเอาออก
หากออกจากเส้นเลือดเส้นใหญ่ให้ใช้ hemostat จับเส้นเลือดที่
ขาดไว้ แล้วผูกด้วยไหม หรื อจี้ดว้ ยไฟฟ้า
หากออกจาก granulation tissue ต้อง curette เอา
granulation tissue ออกให้หมด
หากออกจาก inferior alveolar vessel ให้ใช้
gel foam อุดเข้าไปในเบ้าฟันให้ลึกที่สุด และกัดก๊อซให้
แน่น
เกิดจากลมถูกดันเข้าไปใน tissue เนื้อเยือ่ บริ เวณนั้นจะ
บวมขึ้นมาทันที หากคลาดูจะพบ crepitus
ไม่ตอ้ งรักษาเพราะลมที่ถูก
ดันเข้าไปนี้ จะถูก
absorb หายไปเอง
ภายใน 5-7 วัน
เนื้อเยื่อหรื อเหงือกฉีกขาด เกิดจากการใช้ เทคนิคไม่
ถูกต้ อง เช่ นออกแรงดึงรั้งเนื้อเยื่อมากเกินไป หรื อ
เครื่ องมือพลาด
เกิดขณะถอนฟันหรื อแคะรากฟันที่หกั lingual plate แตกทาให้ฟัน
หลุดเข้า space ดังกล่าว
พยายามใช้นิ้วดันรากที่หกั ให้ข้ ึนมาในเบ้าฟัน ถ้าไม่
ได้ผลให้ผา่ เอาออกโดยเปิ ด flap ตามคอฟันทาง
ด้านลิ้น
หากกลืนฟันลงท้องก็ไม่มีปัญหาอะไร ฟันจะถูกขับถ่าย
ออกมาในอุจจาระ แต่ควรถ่าย x-ray เพิ่มเติม
แบ่งได้เป็ น
Upper airway
Lower airway
การที่เลือดยังไม่หยุดหลังจากทาผ่าตัดไปแล้ว 24-48 ชัว่ โมง มักมีสาเหตุมา
จากหยุดเลือดขณะเสร็ จสิ้ นการผ่าตัดไม่ดี หรื อมีการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
ก่อนอื่นให้ฉีดยาชาก่อน เอาก้อน
เลือดในปากออกให้หมด ใช้ไฟ
ส่ องเข้าไปที่เบ้าฟันให้ชดั เจน ใช้
high power
suction ด้วย
เกิด trauma มากขณะถอนฟันหรื อผ่าฟัน
มีเศษกระดูกตกค้างอยูใ่ นเบ้าฟัน
Infection
Overheat จากการกรอกระดูก
รักษาตามสาเหตุ เช่น curette เอากระดูกที่ตกค้างออก ใช้
Bone file แต่งกระดูกที่แหลมให้เรี ยบ
หรื อใช้น้ าอุ่นประคบในกรณี ที่เกิดจาก trauma
การบวมเป็ นปฏิกิริยาตอบสนองของเนื้อเยือ่
ต่อภยันตรายที่เกิดขึ้น
หากมาจาก trauma ใช้น้ าอุ่นประคบหรื ออมน้ าเกลืออุ่นบ่อยๆ
หากมาจาก infection รักษาโดย antibiotics ถ้ามีหนอง
ก็ระบายหนองด้วย
สาเหตุจาก
Trauma ต่อ
masticatory
muscle
เกิด hematoma
ใน
masticatory
space
มีการติดเชื้อใน
masticatory
space
สาเหตุ
หยุดเลือดขณะเสร็ จสิ้ นการผ่าตัดไม่เดียงพอ ร่ วมกับการเย็บแผลผ่าตัดแน่น
เกินไป
เนื้อเยือ่ ได้รับ trauma มาก
เกิดจากการซึ มกระจายของ
เลือด
ไปตามชั้นของเนื้อเยือ่
เห็นเป็ นสี คล้ าๆ
คนแก่มีโอกาสเกิดได้ง่าย
เกิด trauma มากขณะผ่าฟันหรื อผ่าตัด
ผูป้ ่ วยมีความต้านทานต่อการติดเชื้อน้อย เช่น เบาหวาน
Poor oral hygiene
มีอาการของการ
อักเสบเฉพาะที่คือ
ปวด บวม แดง ร้ อน
เป็ น complication ที่มกั เกิดหลังถอนฟัน
มักพบว่าเกิดกับฟั นล่างมากกว่าฟั นบน
Trauma ต่อกระดูกเบ้าฟั น ฟันที่ถอนยาก เกิด trauma มาก จะเกิด
ได้ง่าย
Infection ฟันที่ถอนอาจมีการติดเชื้ออยูก่ ่อนแล้ว
Poor blood supply