ความรู้ พนื้ ฐานในการผลิตสื่ อ และการใช้ สื่อการเรียนการสอน หอมไกล นาจาปา ครู สRMU าขางานคอมพิวเตอร์ ความรู้พนื้ ฐานการผลิตสื่ อ การวิเคราะห์ เป็ นการวิเคราะห์สภาพปั ญหา และความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย เพื่อให้ผสู ้ ร้างสามารถออกแบบสื่ อได้สอดคล้องเหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมาย.

Download Report

Transcript ความรู้ พนื้ ฐานในการผลิตสื่ อ และการใช้ สื่อการเรียนการสอน หอมไกล นาจาปา ครู สRMU าขางานคอมพิวเตอร์ ความรู้พนื้ ฐานการผลิตสื่ อ การวิเคราะห์ เป็ นการวิเคราะห์สภาพปั ญหา และความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย เพื่อให้ผสู ้ ร้างสามารถออกแบบสื่ อได้สอดคล้องเหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมาย.

ความรู้ พนื้ ฐานในการผลิตสื่ อ
และการใช้ สื่อการเรียนการสอน
หอมไกล นาจาปา ครู สRMU
าขางานคอมพิวเตอร์
1
ความรู้พนื้ ฐานการผลิตสื่ อ
การวิเคราะห์ เป็ นการวิเคราะห์สภาพปั ญหา และความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย
เพื่อให้ผสู ้ ร้างสามารถออกแบบสื่ อได้สอดคล้องเหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมาย โดย
คานึงถึงลักษณะทัว่ ไป และลักษณะเฉพาะของกลุ่มเป้ าหมายลักษณะทัว่ ไป ได้แก่
อายุ ระดับความรู ้ สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของกลุ่มเป้ าหมาย ถึงแม้วา่
ลักษณะทัว่ ไปของกลุ่มเป้ าหมายจะไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาก็ตาม แต่เป็ นสิ่ งที่ช่วยให้
ตัดสิ นระดับของเนื้อหา และเลือกตัวอย่างของเนื้อหาให้เหมาะสมกับกลุม่ เป้ าหมาย
สาหรับลักษณะเฉพาะซึ่ งได้แก่ ทักษะที่มีมาก่อน ทักษะการเรี ยน ทักษะในการ
เรี ยน และทัศนคติของกลุ่มเป้ าหมาย จะมีผลโดยตรงต่อเนื้อหา และวิธีการนาเสนอ
เนื้อหา
2
การออกแบบ องค์ ประกอบทีส่ าคัญในการเรียนการสอน คือสิ่ งที่นาไปประกอบการ
เรียนการสอน ดังนั้นลักษณะการออกแบบทีด่ ี คือ
 1. ควรเป็ นการออกแบบที่เหมาะสมกับความมุ่งหมายของการนาไปใช้
 2. ควรเป็ นการออกแบบที่มีลกั ษณะง่ายต่อการทาความเข้าใจ การนาไปใช้งาน
และกระบวนการผลิต
 3. ควรมีสัดส่ วนที่ดีและเหมาะสมตามสภาพการใช้งานของสื่ อ
 4. ควรมีความกลมกลืนของส่ วนประกอบ ตลอดจนสอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมของการใช้และการผลิตสื่ อชนิ ดนั้น
การสร้ าง
การประเมินผล
3
การผลิตสื่ อการเรียนรู้ข้นั พืน้ ฐาน
วัสดุ 3 มิติ บางครั้งเรียกกันว่ าวัสดุมที รง หมายถึงวัสดุทมี่ ลี กั ษณะเป็ นสามมิติ คือ
มีความกว้ าง ความยาว ความหนา หรือความลึก สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น
 ของจริ ง (Real Things) ของจริ งอาจแบ่งได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ ของจริ งแท้
(Unmodified real) และของจริ งแปรสภาพ (Modified real)
Unmodified real
4
Modified real
 ของตัวอย่าง (Specimens) หมายถึง ของจริ งที่ถกู เปลี่ยนสภาพไปจากลักษณะ
เดิมของมัน เป็ นการนาของจริ งมาทาให้อยูใ่ น สภาพ ที่เหมาะกับการใช้ในการ
เรี ยนการสอน อาจจะตัดหรื อเลือกส่ วนสาคัญมาบางส่ วน เช่น ตัวอย่างผ้า
สัตว์สต๊าฟ สัตว์ดอง หรื อบางส่ วนของพืช ผักผลไม้ เป็ นต้น
5
 แต่การพิจารณาว่าสิ่ งใดเป็ นของจริ งหรื อของตัวอย่าง บางครั้งชี้เฉพาะได้
ยาก เพราะของบางชนิ ดอาจจะเป็ นได้ท้ งั ของจริ ง และของตัวอย่าง ซึ่ ง
ขึ้นอยูก่ บั จุดมุ่งหมายในการนาไปใช้ แต่อย่างไรก็ตามให้ยดึ หลักกว้าง ๆ
ว่า ถ้าของจริ งที่ นามาใช้น้ นั ยังมีสภาพสมบูรณ์ ตามลักษณะที่แท้จริ งของ
มัน จัดว่าเป็ นของจริ ง แต่ถา้ ของจริ งนั้นมีการเปลี่ยนสภาพจัดว่า เป็ น ของ
ตัวอย่าง
6
 หุ่นจาลอง (Models) หมายถึง วัสดุสามมิติที่สร้างขึ้นเพื่อเลียนแบบของ
จริ ง เนื่องจากข้อจากัดบางประการที่ไม่สามารถจะใช้ของจริ ง ประกอบการ
เรี ยนการสอนได้ เช่น การอธิ บายลักษณะและตาแหน่ง ของอวัยวะภาพใน
ร่ างกายของคนหรื อสัตว์ ดังนั้นของ จาลองจึงมีคุณค่าต่อการเรี ยนใกล้เคียงกับ
ของจริ ง
7
 ประเภทของหุ่นจาลอง
อาจแบ่งได้หลายประเภทตามลักษณะ และความมุ่งหมายของหุ่นจาลองนั้น ๆ แต่
อย่างไรก็ตามการแบ่งประเภทของ หุ่นจาลอง อาจแบ่งแยกประเภทกันไม่ชดั เจน เพราะแต่
ละประเภทก็มีความเกี่ยวข้องกัน หรื อมีลกั ษณะบางอย่างเหมือนกัน โดยทัว่ ไปแบ่ง
ประเภทดังนี้
 หุ่นรู ปทรงภายนอก (Solid Model)
 หุ่นเท่าของจริ ง (Exact Model)
 หุ่นจาลองแบบขยายหรื อแบบย่อ (Enlarge, Reduce Model)
 หุ่นจาลองแบบผ่าซี ก (Cut Away Models)
 หุ่นจาลองแบบเคลื่อนไหวทางานได้ (Working Models)
 หุ่นจาลองเลียนของจริ ง (mockup Models)
 หุ่นจาลองแบบแยกส่ วน (Build up Models)
8
 สื่ อสิ่ งพิมพ์ เป็ นการสาเนาหรือจาลองต้ นฉบับลงบนวัตถุทมี่ พี นื้ ผิวเรียบหรือค่ อยข้ างขรุ ขระ
เพียงเล็กน้ อย อาจจะแบนรายหรือโค้ งนูน ให้ มคี ุณภาพใกล้ เคียงกับต้ นฉบับมากทีส่ ุ ดโดย
คานึงถึงปริมาณในการผลิตจานวนมาก สิ่ งทีน่ ามาสาเนาอาจเป็ นตัวหนังสื อ รู ปภาพ สั ญลักษณ์
ต่ าง ๆ วัตถุทนี่ ามารองรับอาจเป็ นวัตถุผวิ เรียบ เช่ นกระดาษแผ่ นไม้ กระดานหรืออาจมีประเภท
ผิวโค้ ง นูนหรือขรุ ขระก็ได้ ลักษณะทีพ่ อจะสรุปได้ ว่าเป็ นลักษณะของการพิมพ์ คือ
1. ต้ องเป็ นการจาลองหรือสาเนาจากต้ นฉบับลงบนวัตถุ
2. ต้ องมีการทาจานวนมาก
3. ชิ้นงานทีไ่ ด้ จะต้ องมีคุณภาพเหมือนต้ นฉบับหรือใกล้ เคียงกับต้ นฉบับมากทีส่ ุ ด
4. ต้ องใช้ เครื่องมือหรือกลไกต่ าง ๆ ช่ วย ไม่ ใช่ เป็ นผลงานจากการทาด้ วยมือเปล่ าโดยไม่
มีอุปกรณ์ ใดว่ าถือว่ า เป็ นการวาดหรือ เขียนตามปกติ
9
 ชนิดของสื่ อสิ่ งพิมพ์
• 1. หนังสื อเรี ยน แบบเรี ยน ตารา เอกสารการสอนเป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่แสดงเนื้อหา
วิชาการในศาสตร์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อสื่ อให้ผอู้ ่าน เข้าใจความหมาย ด้วยความรู้ที่เป็ น
จริ ง จึงเป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่เน้นความรู้อย่างถูกต้อง
10
• 2. หนังสื อพิมพ ์์เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยนาเสนอเรื่ องราว ข่าวสารภาพและ
ความคิดเห็น ในลักษณะของแผ่นพิมพ์ แผ่นใหญ่ ที่ใช้วธิ ีการพับรวมกัน ซึ่งสื่ อสิ่ งพิมพ์
ชนิดนี้ ได้พิมพ์ออกเผยแพร่ ท้งั ลักษณะ หนังสื อพิมพ์รายวัน, รายสัปดาห์ และรายเดือน
11
• 3. วารสาร นิตยสารเป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยนาเสนอสาระ ข่าว ความบันเทิง ที่มี
รู ปแบบการนาเสนอ ที่โดดเด่น สะดุดตา และสร้างความสนใจให้กบั ผูอ้ ่าน ทั้งนี้การ
ผลิตนั้น มีการ กาหนดระยะเวลาการออกเผยแพร่ ที่แน่นอน ทั้งลักษณะวารสาร,
นิตยสารรายปักษ์ (15 วัน) และ รายเดือน
12
• 4. แผ่นปลิวโฆษณา
- โบร์ชวั ร์ (Brochure) เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่มีลกั ษณะเป็ นสมุดเล่มเล็ก ๆ เย็บติดกันเป็ นเล่ม
จานวน 8 หน้าเป็ น อย่างน้อย มีปกหน้าและปกหลัง ซึ่งในการแสดงเนื้อหาจะเกี่ยวกับ
โฆษณาสิ นค้า
- ใบปลิว (Leaflet, Handbill) เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ใบเดียว ที่เน้นการประกาศหรื อโฆษณา มัก
มีขนาด A4 เพื่อง่ายในการแจกจ่าย ลักษณะการแสดงเนื้อหาเป็ นข้อความที่ผอู ้ ่าน อ่าน
แล้วเข้าใจง่าย
- แผ่นพับ (Folder) เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่ผลิตโดยเน้นการนาเสนอเนื้อหา ซึ่ งเนื้อหาที่
นาเสนอนั้นเป็ นเนื้อหา ที่สรุ ปใจความสาคัญ ลักษณะมีการพับเป็ นรู ปเล่มต่าง ๆ
- ใบปิ ด (Poster) เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์โฆษณา โดยใช้ปิดตามสถานที่ต่าง ๆ มีขนาดใหญ่เป็ น
พิเศษ ซึ่งเน้นการนาเสนออย่างโดดเด่น ดึงดูดความสนใจ
13
• 5. หนังสื อการ์ตูน คือ ศิลปะที่แสดงออกทางภาพหลายๆ แบบ ซึ่งมีความหมาย
แตกต่างกันจากผูห้ นึ่งไปอีกผูห้ นึ่งในยุคอดีต การ์ตูนหมายถึงภาพร่ างหรื อภาพวาดที่ใช้
การเรี ยนการศึกษาแทนการใช้ภาพจริ ง ในปัจจุบนั การ์ตูนมักจะหมายถึงแอนิ เมชัน ซึ่ง
เป็ นเทคนิคในการสร้างการ์ตูนในยุคปัจจุบนั ที่มีการฉายทางโทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์
ในความหมายอื่น การ์ตูนใช้แทนรายการสาหรับเด็กที่มีการใช้สตั ว์หรื อสิ่ งมีชีวติ อย่าง
อื่นเคลื่อนไหวในลักษณะเหมือนมนุษย์การ์ตูนปัจจุบนั จะพบได้จากหนังสื อ,
หนังสื อพิมพ์ (ซึ่งมักเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับข่าว การเมือง บันเทิง) , โปสเตอร์, ภาพยนตร์
เป็ นต้น
14
• 6. หนังสื อนวนิยาย เรื่ องยาวแบบร้อยแก้ว ที่แต่งขึ้นจากชีวติ จริ ง นิทานพื้นบ้าน
พื้นเมือง จินตนาการ หรื อ ประสบการณ์ เป็ นต้น
15
วัสดุกราฟิ ก
วัสดุกราฟิ กประกอบด้ วย 2 คา คือ วัสดุ+กราฟิ ก
วัสดุ หมายถึง สิ่ งของทีม่ อี ายุการใช้ งานระยะสั้ น
กราฟิ ก หมายถึง การแสดงด้ วยลายเส้ น
วัสดุกราฟิ ก หมายถึง วัสดุลายเส้ นประกอบด้ วย ภาพลายเส้ น ตัวอักษร
การ์ ตูน และสั ญลักษณ์ เพือ่ เสนอเรื่องราวความรู้ หรือเนือ้ หาสาระให้รับรู้ และเข้ าใจ
ได้ ง่ายรวดเร็ว
16
ประเภทของวัสดุกราฟิ ก วัสดุกราฟิ กมีหลายประเภทซึ่งสามารถจาแนกออกได้ ตาม
แนวคิดของ วิททิช และชู ลเลอร์ ซึ่งได้ แบ่ งวัสดุกราฟิ กไว้ เป็ น 8 ประเภทดังนี้
 แผนภูมิ (Chart)
 แผนภาพ (Diagrams)
 แผนสถิติ (Graphs)
 ภาพโฆษณา (Posters)
 การ์ตูน (Cartoons)
 แผนที่และลูกโลก (Maps and Globe)
 สัญลักษณ์ (Symbol)
 รู ปภาพ (Photographic)
17
แผนภูมิ (Chart) แผนภูมเิ ป็ นทัศนวัสดุทแี่ สดงความสั มพันธ์ ของเรื่องราวต่ าง
ๆ โดยอาศัยเส้ น ของตัวอักษร และภาพลายเส้ น หรือภาพโครงร่ าง เพือ่ ให้ ง่ายต่ อ
ความเข้ าใจในเรื่องราว
แผนภูมแิ บ่ งออกเป็ น 9 ชนิด แต่ ละชนิดมีรูปแบบ และโครงสร้ างทีแ่ ตกต่ างกัน มี
ประโยชน์ ต่อการใช้ สอยแตกต่ างกันได้ แก่
 แผนภูมิตาราง (Tabular Charts) ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลา กับ
เหตุการณ์ เช่น ตารางเรี ยน ตารางเวลารถไฟเข้าออก เป็ นต้น
18
 แผนภูมแิ บบอธิบายภาพ(Illustrative Charts)
ใช้แสดงส่ วนต่างๆ ของภาพหรื อบอกรายละเอียดของภาพ เช่น อวัยวะต่างๆ
ของคน ส่ วนต่างๆ ของดอกไม้ เป็ นต้น
19
 แผนภูมแิ บบต้ นไม้ (Tree Charts)
ลักษณะของแผนภูมิแบบนี้ จะเหมือนกับการแตกแขนงของกิ่งก้านของต้นไม้
โดยยึดหลักการแตกของกิ่งก้านเป็ นหลัก หรื อแนวเส้นของแผนภูมิ โดยจะ
แสดงให้เห็นว่า สิ่ งหนึ่งสามารถจาแนกออกเป็ นส่ วนย่อยได้อีกหลายส่ วน
เปรี ยบเสมือนต้นไม้ที่แตกกิ่งออกไป เช่น การคมนาคมมี 3 ทางคือทางบก ทาง
น้ า ทางอากาศเป็ นต้น
20
 แผนภูมแิ บบสายธารา( Stream Charts)
ลักษณะของแผนภูมิแบบนี้ จะเปรี ยบเหมือนกับการรวมตัวของลาธารน้ า
กลายเป็ นลาคลอง และแม่น้ าที่กว้างใหญ่ข้ ึน โดยจะแสดงให้เห็นว่าสิ่ งหนึ่ งเกิด
จากหลายสิ่ งรวมกัน ซึ่ งจะตรงกันข้ามกับแผนภูมิแบบต้นไม้ เช่น ขนมปังเกิด
จาก แป้ ง ยีสต์ น้ าตาล เป็ นต้น
21
 แผนภูมแิ บบเปรียบเทียบ( Comparison Charts)
เป็ นแผนภูมิที่ใช้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างสิ่ งของสองสิ่ งทางด้าน
รู ปร่ าง ลักษณะ ขนาด แนวความคิด ของสิ่ งต่างๆ เช่น การเปรี ยบเทียบการแต่ง
กายในสมัยต่างๆ เพศหญิงกับเพศชายเป็ นต้น
22
 แผนภูมแิ บบองค์ การ( Organization Charts)
เป็ นแผนภูมิที่ใช้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ของสายงานในหน่วยงานหรื อ
องค์การ นิยมใช้เส้นโยงความสัมพันธ์ ของหน่วยงานย่อย ที่เกี่ยวข้องกัน
โดยตรงและใช้เส้นประ หรื อเส้นจุดไข่ปลา แสดง ความสัมพันธ์ของ
หน่วยงานย่อยที่ เกี่ยวข้องกันโดยอ้อม เช่น แผนภูมิแสดงสายงานการบริ หาร
โรงเรี ยน เป็ นต้น
23
 แผนภูมแิ บบต่ อเนื่อง( Flow Charts)
ใช้แสดงเรื่ องราว กิจกรรม การทางานเป็ นขั้นตอนตามลาดับต่อเนื่อง ตลอดจน
การแสดง วงจรชีวติ ที่เป็ นลาดับต่อเนื่อง เช่น วงจรชีวติ ของผีเสื้ อ
24
 แผนภูมแิ บบวิวฒ
ั นาการ( Developmental Charts)
สดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งต่างๆ ต่อเนื่องกันเป็ นลาดับ แต่ไม่
ย้อนกลับมาที่จุดเริ่ มต้นอีก
25
 แผนภูมขิ ยายส่ วน ( Enlarging Charts)
เป็ นแผนภูมิที่มุ่งแสดงให้เห็นลายละเอียดของส่ วนเล็กๆ ขยายให้ใหญ่ข้ ึนเน้น
ส่ วนที่ตอ้ งการ ให้เห็นชัดเจนขึ้น โดยขยายเฉพาะบางส่ วน เท่านั้น
26
แผนภาพ (Diagram) เป็ นทัศนวัสดุทใี่ ช้ ถ่ายทอดความรู้ ความเข้ าใจ ความคิดเห็น
หรือเรื่องราว ต่ างๆ โดยแสดงความสั มพันธ์ ของโครงสร้ าง หรือการทางานที่
ซับซ้ อนให้ เข้ าใจง่ ายขึน้ โดยอาศัยภาพลายเส้ น ตัวอักษร สั ญลักษณ์ เพือ่ แสดง
ลักษณะเฉพาะ หรือโครงสร้ างที่สาคัญเท่ านั้น แผนภาพแบ่ งออกเป็ น 4 ชนิด คือ
 1. แผนภาพลายเส้ น เป็ น แผนภาพที่ใช้ลายเส้น รู ปทรง และข้อความประกอบ
กัน เหมาะสาหรับแสดงโครงสร้างทั้งภายในและภายนอกพร้อมกับมีเส้นโยง
แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันทั้งลักษณะและตาแหน่ง และความสัมพันธ์
ของภาพที่แสดง
27
 2.แผ่นภาพแบบบล็อก เป็ นแผนภาพที่ใช้รูปทรงง่ายๆ แสดงให้เห็นถึง
องค์ประกอบอย่างหยาบๆ แสดงความสัมพันธ์ของระบบการทางานที่
เกี่ยวเนื่องกัน โดยไม่เน้นรายละเอียดของการทางาน
28
 3.แผนภาพแบบรู ปภาพ เป็ นแผนภาพ ที่ใช้ลายเส้นเขียน เป็ นภาพง่ายๆ แทน
สิ่ งหนึ่งสิ่ งใด เพียงต้องการให้ดูเหมือนหรื อใกล้เคียงเท่านั้น ผูด้ ูจะเกิด ความ
เข้าใจ ได้เองแผนภาพแบบนี้ จึงเหมาะ แก่การแสดง หลักการทางาน ถ้าภาพ ที่
วาดเหมือนจริ งมากจะกลายเป็ น แผนภูมิอธิบายภาพ
29
 4. แผนภาพแบบผสม เป็ นแผนภาพ ที่ใช้เทคนิค การเขียนลายเส้น บนรู ปภาพ
เพื่อเน้น ให้เห็นความสาคัญ เฉพาะ บางส่ วน โดยเป็ นการรวม
ทั้งรู ปภาพ และลายเส้น เข้าด้วยกัน
30
แผนสถิติ เป็ นทัศนวัสดุ ทีจ่ ัดทาขึน้ เพือ่ แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณของ
ข้ อมูล ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป โดยเป็ นการแสดง แบบสรุ ป หรือรวบรวมข้ อมูล
เพือ่ ให้ ผ้ ดู ูเข้ าใจได้ ง่าย ในเวลาอันรวดเร็ว สามารถแบ่ งออกได้ ตามลักษณะของการ
นาเสนอเป็ น 6 ชนิดคือ
 แผนสถิติแบบพื้นที่ (Area Graph)
 แผนสถิติแบบแท่ง(Bar Graph)
 แผนสถิติแบบรู ปภาพ (Pictorial Graph)
 แผนสถิติแบบวงกลม (Circle Or Pie Graph)
 แผนสถิติแบบเส้น(Line Graph)
 แผนสถิติแบบกาหนดจุด(Scatter Plot)
31
 แผนที่ เป็ นทัศนวัสดุทแี่ สดงทิศทาง อาณาเขต ลักษณะภูมปิ ระเทศ และสิ่ งต่ างๆ
บนพืน้ โลก โดยใช้ เส้ น สี สั ญลักษณ์ และการกาหนดมาตราส่ วนเพือ่ ย่นระยะทาง
และลดขนาดของพืน้ ทีใ่ ห้ สามารถสื่ อความหมายได้ ในทีจ่ ากัด สามารถรับรู้ และ
เข้ าใจได้ ง่ายในเวลารวดเร็ว
32
ลูกโลก เป็ นวัสดุสามมิตปิ ระเภทหุ่นจาลองแบบย่ อส่ วน โดยย่ อส่ วนหรือลดขนาด
ของโลก อาศัยมาตราส่ วนกาหนดขนาด และระยะทางที่ใกล้เคียงข้ อเท็จจริงมาก
ทีส่ ุ ด
33
สั ญลักษณ์ (Symbol) คือการสื่ อความหมายทีใ่ ห้ มนุษย์ ในสั งคมเข้ าใจร่ วมกัน ใน
แนวทางเดียวกัน โดยการออกแบบ เป็ นรู ปลักษณ์ ต่าง ๆ ในลักษณะ ภาพลายเส้ น
การเขียนสั ญลักษณ์ อาจใช้ วธิ ีลอกแบบ เลียนแบบจากธรรมชาติ จินตนาการ จาก
แนวความคิด แล้ วแต่ งเสริมเติมต่ อ ให้ ดูน่าสนใจ มากยิง่ ขึน้ ก็ได้ ดังเช่ น การ
ออกแบบเทพเจ้ า มีประกายรัศมีเลียนแบบ แสงจากดวงอาทิตย์ หรือการออกแบบ
เป็ น กากบาทสี แดง แสดงว่ าเป็ นการห้ ามไม่ ให้ กระทา เป็ นต้ น
34
ภาพโฆษณา เป็ นทัศนวัสดุทใี่ ช้ แสดงความคิดหรือข้ อเท็จจริงด้ วยสัญลักษณ์
ภาพประกอบทีส่ ะดุดตา คาขวัญทีก่ นิ ใจ หรือคาอธิบายสั้ นๆ โดยการออกแบบที่
ดึงดูดความสนใจของผู้พบเห็นในระยะเวลาอันสั้ น สามารถเข้ าใจได้ ง่าย จดจาได้
อย่างรวดเร็ว โดยภาพโฆษณามีประโยชน์ ต่ อการเรียนการสอนดังนี้
 ใช้เป็ นการนาเข้าสู่ บทเรี ยนได้อย่างเป็ นอย่างดี จะช่วยเร้าความสนใจผูเ้ รี ยน
 ใช้เป็ นเครื่ องเตือนใจ กระตุน้ ระมัดระวัง ในการประพฤติปฏิบตั ิ
 ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีภายในห้องเรี ยน
 ใช้ประกาศข่าวสารต่าง ๆ
35
การ์ ตูน เป็ นภาพสั ญลักษณ์ ทใี่ ช้ แทนสิ่ งต่ างๆ เช่ น บุคคล สั ตว์ หรือสิ่ งของ เป็ นต้ น
เพือ่ ถ่ านทอดเรื่องราว ซึ่งเป็ นแนวความคิดหรือทัศนะของผู้เขียน เพือ่ จูงใน ให้
แนวความคิด สร้ างอารมณ์ ขัน หรือล้อเลียน
36
รู ปภาพ เป็ นงานกราฟิ กประเภทหนึ่ง ทีต่ ้ องอาศัยหลักการทางศิลปะ เช่ นเดียวกัน
ประกอบ กับเครื่องมือเพือ่ ใช้ ใน การถ่ ายภาพ คือ กล้องถ่ ายภาพนั่นเอง กล้อง
ถ่ ายภาพในปัจจุบันมีมากมาย หลายรู ปแบบ
37
สื่ อประเภทแผ่ นป้ ายเป็ นวัสดุต้งั แสดง (Display Materials) มีอยู่หลายประเภท
เช่ น กระดานชอล์ก ป้ ายผ้าสาลี กระเป๋ าผนัง แผ่นป้ ายไฟฟ้า แผ่นป้ ายแม่ เหล็ก ป้ าย
นิเทศ ภาพพลิก เป็ นต้ น
38