การจัดการเรียนรูเ้ พือ่ พัฒนาการคิด ๑. ความหมาย การคิดคือกระบวนการทางานของสมอง ๒. การจัดการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาการคิด คือการจัดการให้ ผู้เรียนได้ มกี าร พัฒนาทางสมอง ๓.

Download Report

Transcript การจัดการเรียนรูเ้ พือ่ พัฒนาการคิด ๑. ความหมาย การคิดคือกระบวนการทางานของสมอง ๒. การจัดการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาการคิด คือการจัดการให้ ผู้เรียนได้ มกี าร พัฒนาทางสมอง ๓.

การจัดการเรียนรูเ้ พือ่ พัฒนาการคิด
๑. ความหมาย การคิดคือกระบวนการทางานของสมอง
๒. การจัดการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาการคิด คือการจัดการให้ ผู้เรียนได้ มกี าร
พัฒนาทางสมอง
๓. ปัญหาอยู่ที่ ระบบ/ครู/การจัดการเรียนรู้
-ระบบ เดินตามหลังผู้ใหญ่ หมาไม่ กดั /อาบนา้ ร้ อนมาก่อน
ความเชื่อเรื่องทีพ่ สิ ู จน์ ไม่ ได้ เช่ น ผี เทวดา บาปบุญ นรก สวรรค์
ครู กบั การพัฒนาการคิดของเด็ก
-ครูเผด็จการ ครูกาหนด ครูไม่ เปิ ดใจกว้ าง ครูดูแคลนเด็ก
ถ้ าเด็กอยู่กบั ครูทมี่ ีใจกว้ าง รักเด็กจะช่ วยพัฒนาการคิดของเด็กได้ อย่ างดี
เพราะเด็กจะมีความรู้สึกต่ อไปนี้
๑.รู้สึกไว้ วางใจในตัวครู
๒.รู้สึกอบอุ่น ผ่ อนคลาย และสบายใจ
๓.รู้สึกเชื่อมั่นในตนเองมากขึน้
๔.รู้สึกมีความมั่นคงในการอยู่ในห้ องเรียน
๕.กล้าที่จะทาสิ่ งทีท่ ้ าทายความสามารถ ไม่ วติ กหวั่นกลัวต่ อความผิดพลาด
การจัดการเรียนรู้ ทไี่ ม่ เปิ ดโอกาสให้ เด็กถามค้ นหาความรู้ เอง
การจัดการเรี ยนรู ้ของครู ยงั ใช้วิธีบรรยายให้ความรู ้ไปเรื่ อยๆ ไม่มีสื่อกระตุน้ ให้คิด
ไม่สร้างสถานการณ์เกิดความคิดด้านต่าง ๆ
-ครู คือพระเอก /ผูก้ ากับ
-ครู คือผูร้ ้าย
*เด็กจะคิดวิเคราะห์ได้ดี เด็กต้องได้รับการพัฒนาจากสถานการณ์และคาถาม ที่
กระตุน้ ให้เด็กคิดมาอย่างต่อเนื่อง
แนวคิดที่ส่งเสริมการพัฒนาการคิด
*พระธรรมปิ ฎก(ป.อ. ปยุตโต) ท่านนาและแนะให้นาแนวทางพุทธไปใช้ในการ
จัดการเรี ยนรู ้ดงั นี้
-ความสุ ขของมนุษย์เกิดจากตั้งตนเองไว้ถกู ต้อง
-มนุษย์ตอ้ งคิดเป็ น พูดเป็ น และทาเป็ น
-การคิดเป็ นคือความสาเร็ จและความสุ ขของการมีชีวิต
-การคิดเป็ นพัฒนาได้ดว้ ยไตรสิ กขา(สัมมาทิฎฐิ)
-แก่นแท้ของการศึกษาคือการพัฒนาตนเองด้วยสัมมาทิฎฐิ
-สัมมาทิฎฐิทาให้เกิดการคิดดี พูดดีและทาดี สามารถแก้ปัญหาและดับทุกข์ได้
-ปั จจัยที่ทาให้เกิดสัมมาทิฎฐิได้ มี ๒ ประการ คือ
๑. ปัจจัยภายนอก(ปรโต โฆสะ)ได้แก่สิ่งแวดล้อม ครู พ่อแม่ เพื่อน สื่ อ
๒. ปัจจัยภายใน(โยนิโสมนสิ การ) คือการคิดเป็ น
-การศึกษาที่จดั มาทั้งอดีตและปั จจุบนั เป็ นประโยชน์ท้ งั นั้น ถือเป็ นปรโต โฆสะ
-มนุษย์จะพัฒนาตนเองโดยใช้โยนิโสมนสิ การอย่างเดียวไม่ได้ ต้องใช้ปรโต โฆสะด้วย
-โยนิโสมนสิ การ คือการคิดเป็ น เป็ นความสามารถด้านการคิดของบุคคลโดยคิดหาเหตุ
ปั จจัย สื บค้นต้นเหตุของเรื่ องตลอดทาง จนถึงผลสุ ดท้ายที่เกิด ไม่เอาอุปาทานของ
ตนเองเข้าไปตัดสิ น
-โยนิโสมนสิ การ เป็ นองค์ประกอบภายในมีความเกี่ยวข้องกับการฝึ กใช้ความคิด รู ้จกั
คิดอย่างถูกวิธี คิดอย่างมีระเบียบ คิดอย่างวิเคราะห์ คือขั้นตอนสาคัญของการสร้างปัญญา
-โยนิโสมนสิ การ ไม่ใช่ตวั ปั ญญา แต่เป็ นปั จจัยสร้างปั ญญา มีเป้ าหมายสู งสุ ดคือการ
ดับทุกข์ มีองค์ประกอบ ๔ ประการ คือ
๑.อุบายมนสิ การ คิดอย่างเข้าถึงความจริ ง
๒.ปถมนสิ การ คิดอย่างมีลาดับขั้นตอน
๓.การณมนสิ การ คิดอย่างมีเหตุผล
๔.อุปปาทกมนสิ การ คิดอย่างมีเป้ าหมาย
-สติเป็ นองค์ธรรมสาคัญในการดาเนิ นชีวติ โดยมีโยนิโสมนสิ การเป็ นตัวหล่อเลี้ยง
สติที่ยงั ไม่เกิดให้เกิด ที่เกิดแล้วให้พฒั นาอย่างต่อเนื่อง
วิธีคดิ ตามหลักโยนิโสมนสิ การ
วิธีคิดตามหลักโยนิโสมนสิ การมี ๑๐ วิธีคือ
๑. คิดแบบสาวเหตุปัจจัย
๒. คิดแบบแยกองค์ประกอบ
๓. คิด
แบบสามัญลักษณ์
๔. คิดแบบอริ ยสัจจ์
๕. คิดแบบอรรถ
ธรรมสัมพันธ์
๖. คิดแบบคุณโทษและทางออก
๗. คิดแบบรู้คุณแท้ คุณค่า
เทียม
๘. คิดแบบเร้าคุณธรรม
๙. คิดแบบอยูก่ บั ปั จจุบนั
๑๐. คิดแบบวิภชั วาท
การพัฒนาการคิดตามหลัก GPAS
การสอนเพื่อพัฒนาการคิดมี ๓ แนวทาง คือ ๑)การสอนเพื่อให้คิด(Teaching for Thinking)
๒) การสอนการคิด (Teaching of Thingking) ๓) การสอนเกี่ยวกับคิด(Teaching about
Thingking)
การจัดการเรียนรู้เพือ่ พัฒนาการคิด ตามกระบวนการ GPAS คืออะไร
GPAS เป็ นคาย่อของกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาการคิดกระบวนการหนึ่งที่
ประกอบด้วยโครงสร้าง 4 ประการ ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลและการเลือกข้อมูล
(Gathering) การจัดกระทาข้อมูล (Processing) การประยุกต์ใช้ความรู ้ (Applying)
และการกากับตนเอง การเรี ยนรู ้ได้เอง (Self-regulating)
1.1 การรวบรวมข้ อมูลและการเลือกข้ อมูล ประกอบด้วยการพัฒนาการคิดในประเด็นต่อไปนี้
1) การกาหนดประเด็นในการรวบรวมข้อมูล 2) การกาหนดเป้ าหมาย
3) การสังเกตด้วยประสาทสัมผัส
4) การรวบรวมข้อมูลจากการสังเกต
5) การเลือกข้อมูลมาใช้
6) การบันทึกข้อมูล
7) การดึงข้อมูลเดิมมาใช้และย่อความ
1.2 การจัดกระทาข้ อมูล ประกอบด้วยการพัฒนาการคิดในประเด็นต่อไปนี้
1) การจาแนก
2) การเปรี ยบเทียบ
3) การจัดกลุ่ม
4) การจัดลาดับ
5) การสรุ ปเชื่อมโยง
6) การไตร่ ตรองด้วยเหตุผล
7) การวิจารณ์
8) การตรวจสอบ
1.3 การประยุกต์ ใช้ ความรู้ ประกอบด้วยการพัฒนาการคิดในประเด็นต่อไปนี้
1) การประเมินทางเลือก
2) การเลือกทางเลือก
3) การใช้ความรู ้อย่างสร้างสรรค์
4) การขยายความรู ้ให้รู้จริ งมากขึ้น
5) การวิเคราะห์
6) การสังเคราะห์
7) การตัดสิ นใจ
8) การนาความรู้ไปปรับใช้
9) การแก้ปัญหา
10) การวิเคราะห์วิจารณ์
11) การคิดสร้างสรรค์
1.4 การกากับตนเอง การเรียนรู้ ได้ เอง ประกอบด้วยการพัฒนาการคิดในประเด็นต่อไปนี้
1) การตรวจสอบและการควบคุมการคิด
2) การสร้างค่านิยมการคิด
3) การสร้างนิสัยการคิด
ครู สอดแทรกการกากับตัวเอง การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองจะเข้าไปในขณะจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้
โครงสร้าง 1)-3) ตลอดเวลา เพื่อปลูกฝังคุณลักษณะรักการคิด
โครงสร้ าง GPAS มีความสั มพันธ์ กนั อย่ างไร
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ ปรับปรุ งโมเดลของ GPAS ครั้งล่ าสุ ดเป็ นดังนี้
เลือกข้ อมูล -G
จัดกระทาข้ อมูล -P
เรียนรู้ ด้วยตนเอง - S
แก้ปัญหา – A
นาความรู้ ไปปฏิบัติ – A
การปฏิบัติตามขั้นตอน GPAS ก็จะเป็ นการปลูกฝัง S โดยอัตโนมัติ เมือ่ ฝึ กบ่ อย ๆ ก็จะเกิด
ทักษะการคิดและมีนิสัยรักการคิดซึ่งนาไปสู่ การเรียนรู้ ด้วยตนเอง
จากโมเดลนีจ้ ะเห็นได้ ว่าขั้นตอนและจุดเน้ นของ GPAS คือการจัดกระบวนการเรียนรู้
เพือ่ ให้ ผ้ เู รียนเสาะหาความรู้ ด้วยตนเองและสร้ างความรู้ ได้ ด้วยตนเอง โดยมีข้ันตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 ครู กาหนดเป้ าหมายที่เป็ นงาน ชิ้นงานที่เกิดจากการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน แล้วออกแบบ
การจัดการเรี ยนรู ้เพื่อนาไปสู่ การบรรลุเป้ าหมายนั้น ๆ
ขั้นที่ 2 นักเรี ยนลงมือศึกษาความรู ้ เก็บรวบรวมข้อมูล เลือกข้อมูลสาคัญแล้วนามาจัดกระทา
เป็ นหมวดหมู่ จาแนก เพื่อให้ผลงาน ชิ้นงานตามที่ครู กาหนด
ขั้นที่ 3 นักเรี ยนเสนอแนวทางการนาความรู ้ไปปฏิบตั ิหรื อแก้ปัญหา บางกรณี อาจนาไป
ปฏิบตั ิจริ งหรื อแก้ปัญหาจริ ง
การพัฒนาการคิดด้วยคาถามชวนคิด
เด็กที่คิดดี คิดเก่ง ส่ วนใหญ่จะเป็ นเด็กที่ผา่ นการตอบคาถามที่ดี ชวนให้เขาคิดมา
ทั้งนั้น ดังนั้นครู ที่ตอ้ งการให้เด็กคิดดี คิดเก่ง จึงควรตั้งคาถามที่ชวนคิดในทางที่ดี
สร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดบรรยากาศดังกล่าว ครู จึงควรเข้าใจดังนี้
๑.การ
สร้างบรรยากาศให้อบอุ่น ผ่อนคลายขณะใช้คาถาม
๒.การเปิ ด
โอกาสให้เด็กตอบและแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ไม่ควรรุ กเร้าหรื อเร่ งรัดที่จะ
เอาคาตอบ ควรให้เวลาเด็กคิดก่อนตอบ และให้เด็กตอบด้วยความสมัครใจ เด็กไม่
รู ้สึกอึดอัดใจที่จะตอบ
๓.การลาดับคาถามเริ่ ม
จากง่ายไปหายาก เช่น ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร
๔.การหลีกเลี่ยงการแสดงอาการที่ทาให้เด็กอับอาย เสี ยหน้า เมื่อเด็กตอบ
ไม่ตรงที่ครู ตอ้ งการ ไม่ควรหัวเราะ ทักท้วงหรื อล้อเลียน เพราะจะทาให้เด็กไม่กล้า
ตอบในครั้งต่อ ๆ ไป
๕.เด็กเป็ นผูต้ ้ งั คาถาม ควรเปิ ดโอกาสให้เด็กถามบ้าง
๖.การประสานสายตาขณะสนทนาโต้ตอบกัน ถ้าครู ประสานสายตากับเด็ก
จะทาให้เด็กรัก ศรัทธาครู มากขึ้น
๗.วิธีตอบคาถามเด็กด้วยการโยนคาถาม เช่น ถ้าเด็กถามว่า ทาไมฝนจึงตก
ครู กถ็ ามกลับว่า “แล้วหนูละคิดว่าทาไมฝนจึงตก”
๘. การสร้างทางเลือก ไม่ควรใช้คาถามปลายปิ ดบ่อย ๆ
๙. การเสริ มแรงเมื่อเด็กตอบคาถาม เช่น เยีย่ มเลย เธอคิดได้อย่างไร
มาสร้างคาถามเพื่อพัฒนาการคิดกันเถอะ
คาถามที่ดีจะช่วยพัฒนาการคิดได้ดี
คาถามมี ๒ ระดับคือ คาถามระดับเริ่ มต้นและคาถามระดับสูง
๑. คาถามระดับเริ่ มต้นหรื อเริ่ มฝึ กให้คิด มี ๖ ชนิด
๑.๑ ถามให้สังเกต
๑.๒ ถามให้ทบทวนความจา
๑.๓ ถามให้บอกความหมาย
๑.๔ ถามให้ช้ ีบอก
๑.๕ ถามนา
๑.๖ ถามเร้าความสนใจ
๑.ถามให้สงั เกต
เป็ นคาถามที่ตอ้ งใช้ประสาทสัมผัส คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกายเพียงส่ วนหนึ่ง
หรื อหลายส่ วนประกอบการตอบคาถาม
สังเกตภาพแล้วตอบคาถาม
๑.ในภาพนี้มีอะไรบ้าง
๒.คนในภาพกาลังทาอะไร
ดูภาพแล้วตอบคาถาม
๑.สัตว์ในภาพนี้คืออะไร
๒.สัตว์ในภาพมีเสี ยงร้อง
อย่างไร
ลองทาดู ครู ทาได้
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการสังเกตคนละ ๒ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๒.ถามให้ทบทวนความจา
เป็ นคาถามที่ผตู ้ อบต้องอาศัยความรู ้ความจา และประสบการณ์ที่มีอยูม่ าตอบ
คาถาม
ดูภาพแล้วตอบคาถาม
๑.แตงโมมีเปลือกสี อะไร
๒.แตงโมมีเนื้อสี อะไร
๓.เมล็ดแตงโมมีสีอะไร
ตั้งคาถามเองนะ แล้วจะทาได้
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการทบทวนความจา
คนละ ๒ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๓.คาถามให้บอกความหมาย
เป็ นคาถามที่ผใู ้ หญ่ใช้เพื่อตรวจสอบความรู ้ ความเข้าใจในเรื่ องของคาศัพท์และ
ความหมายของคาศัพท์ก่อนที่จะพูดคุยกับเด็กและให้ความรู ้เรื่ องใหม่
คาถามต่อไปนี้ตอบอย่างไร
ดีเอ่ย?
๑. หมา ถ้าจะพูดให้สุภาพจะ
เรี ยกว่าอะไร
๒. หมามีรูปร่ าง ลักษณะอย่างไร
คาถามต่อไปนี้ตอบอย่างไรดีเอ่ย
๑.หนูรู้ไหมว่าชาวนาคือใคร
๒.
คนที่มีอาชีพปลูกข้าวเรี ยกว่าอะไร ๓.
ควายช่วยชาวนาทาอะไร
ฝึ กคิดฝึ กทา นาสู่ครู มืออาชีพ
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการบอกความหมาย
คนละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๔.คาถามชี้บอกหรื อบ่งชี้
เป็ นคาถามที่ผถู ้ ามกาหนดข้อมูลไว้หลายอย่าง แล้วให้ผตู ้ อบเลือกว่าสิ่ งใดเป็ น
คาตอบที่ตอ้ งการ ครู ตอ้ งแน่ใจว่าเด็กมีประสบการณ์ในข้อมูลนั้นมาก่อน อาจใช้
ภาพประกอบหรื อถามขึ้นมาลอย ๆ ก็ได้ เช่น
๑.สิ่ งใดที่เราใช้รับประทานได้
ใดที่เราใช้สวมใส่ ได้
๒.สิ่ งใดที่เราใช้นงั่ ได้
๓.สิ่ ง
ไม่ลอง ไม่รู้
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการบ่งชี้ คนละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๕.คาถามนา
ถามเพื่อเน้นย้าเรื่ องที่พดู ไปแล้วอีกครั้ง ถือเป็ นวิธีการบอกหรื อทบทวน
ข้อเท็จจริ งเพื่อเร้าความสนใจของผูต้ อบ คาตอบที่ได้มกั มีคาว่า “ใช่” “จริ ง” “ถูก”
“เคย” หรื อคาตอบปฏิเสธ เช่น “ไม่ใช่” “ไม่จริ ง” “ไม่ถูก” คาถามนี้ไม่เน้นการคิด
จึงควรหลีกเลี่ยงหรื อใช้ให้นอ้ ยที่สุด
๑.เด็กเคยเห็นเสื อหรื อไม่
๒.เสื อกินสัตว์เป็ นอาหารใช่ไหม
เสื อออกลูกเป็ นตัวใช่ไหม
๓.
ถ้าลองแล้วจะรู้ ครู ทาได้
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการถามนา คนละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๖.คาถามเร้าความสนใจ
ถามเพื่อใช้ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ให้ดาเนินไปด้วยความเรี ยบร้อย
๑.เด็ก ๆ พร้อมที่จะเดินทางหรื อยัง
๒.ใครอยากฟังนิทานบ้าง
๓.ใครอยากไปเที่ยวบ้าง
ฝึ กสมองลองทา นาสู่การคิด
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการเร้าความสนใจ
คนละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๒.คาถามระดับสูง
เป็ นคาถามที่มุ่งให้ผตู ้ อบใช้ความคิด พัฒนาความคิดได้ดี นาความรู ้และ
ประสบการณ์เดิมสรุ ปหาคาตอบ ส่ งเสริ มให้ผตู ้ อบมีความคิดสร้างสรรค์ มีความคิด
วิเคราะห์และเกิดทักษะในการคิดอย่างเป็ นระบบ เปิ ดโอกาสให้ผตู ้ อบได้แสดงความ
คิดเห็น ตลอดจนกระตุน้ ให้ได้ลองแก้ปัญหาด้วยตนเอง
คาถามระดับสูงแบ่งได้เป็ น ๗ ชนิดได้แก่
๑.ถามให้อธิบาย
๒.ถามให้เปรี ยบเทียบ ๓.ถามให้จาแนก
๔.ถามให้ยกตัวอย่าง ๕.ถามให้วิเคราะห์
๖.ถามให้สังเคราะห์
๗.ถามให้ประเมินค่า
๑.ถามให้อธิบาย
เป็ นคาถามที่ผตู ้ อบจะต้องนาความรู ้และประสบการณ์เดิมมาเป็ นพื้นฐาน
ในการหาคาตอบ
๑.บอกดูสิวา่ เราใช้รถเพื่ออะไรบ้าง ๒.
เรามีรถไว้ทาไม
๓.เราจะใช้
รถอย่างปลอดภัยได้อย่างไร ๔.ถ้าไม่มี
รถเราจะเป็ นอย่างไร
อยากให้คล่องต้องลองทา
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการอธิ บาย ขยายความ
๑ คาถาม ......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
คนละ
๒.ถามให้เปรี ยบเทียบ
เป็ นคาถามที่มุ่งให้เด็กใช้ความคิดเปรี ยบเทียบของสองสิ่ งว่ามีคุณสมบัติคล้าย
หรื อต่างกันอย่างไร คุณสมบัติที่นามาเปรี ยบเทียบ เช่น รู ปร่ าง ลักษณะ สี ขนาด
น้ าหนัก จานวน ความสูง ความยาว รสชาติ กลิ่น เป็ นต้น
๑.ช้างและเสื อมีลกั ษณะเหมือนกัน
อย่างไร
๒.ช้างและ
เสื อมีลกั ษณะต่างกันอย่างไร
ลองทา นาสู่ครู มืออาชีพ
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการเปรี ยบเทียบ
คนละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๓.ถามให้จาแนกประเภท
เป็ นคาถามที่ให้ผตู ้ อบแบ่งพวกสิ่ งของและเรี ยงลาดับสิ่ งของโดยใช้เกณฑ์ของ
ตนเองหรื อของผูอ้ ื่นในการตอบ(อาจใช้ภาพหรื อเขียนคาขึ้นมาเป็ นสื่ อก็ได้)
๑.เราจะแบ่งสัตว์ในภาพนี้ออกเป็ นพวก ๆ ได้อย่างไร
๒.ถ้าจะแบ่งสัตว์ในภาพนี้ออกตามจานวนขา จะแบ่งได้อย่างไร
ฝึ กทาซ้ า ๆ นาสู่การคิด
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการจาแนกประเภท
คนละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๔.คาถามให้ยกตัวอย่าง
เป็ นคาถามเพื่อให้เด็กบอกชื่อหรื อยกตัวอย่างสิ่ งของ การที่เด็กจะตอบ
คาถามให้ยกตัวอย่างให้ถูกต้องได้ ต่อเมื่อเด็กมีทกั ษะการสังเกตและมีความจาเรื่ อง
ต่าง ๆ เป็ นพื้นฐานดีอยูแ่ ล้ว
๑.ให้ยกตัวอย่างของใช้ที่ทาจากไม้ไผ่ ๒.ให้ยกตัวอย่างของใช้ที่ทาจากหิ น
พลาสติกใช้ทาอะไรได้บา้ ง
๓.
ลองทาดู ครู ทาได้
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการยกตัวอย่าง
คนละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๕.ถามให้วิเคราะห์
เป็ นคาถามที่เน้นให้เด็กคิดค้นหาความจริ งต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นมาเป็ นเรื่ องราว
หรื อเหตุการณ์ หรื อให้รู้จกั แยกแยะเรื่ องราวออกเป็ นส่ วนย่อยเพื่อหาสาเหตุของ
ปัญหา
๑.ทาไมชาวนาจึงทานา
๒.ทาไมเด็กคนนี้จึงดีใจ
ฝึ กกระทา นาสู่ประสบการณ์
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการวิเคราะห์
คน
ละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๖.คาถามให้สงั เคราะห์
มุ่งให้เด็กนาสิ่ งที่วิเคราะห์แล้วมาเป็ นข้อมูลเพื่อสรุ ปความสัมพันธ์ของสิ่ ง ต่าง ๆ
จัดเป็ นคาถามที่สร้างสรรค์ที่มุ่งให้เด็กคิดแปลกใหม่และแตกต่างจากสิ่ งเดิม เช่น
๑.นักเรี ยนลองเขียนตอนจบของนิทานเรื่ อง “ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่” ใหม่ซิจะะ ๒.
เรื่ องที่ครู เล่ามาทั้งหมดนี้ ควรตั้งชื่อว่าอย่างไร
๓.
สิ่ งสิ่ งที่อยูใ่ นมือครู นี่จะสามารถประดิษฐ์อะไรได้บา้ ง
๔.ถ้า
หนูอ่านหนังสื อไม่เข้าใจ หนูจะทาอย่างไร
๕.ถ้าหนู
อยากสอบได้คะแนนดี ควรทาอย่างไร
คิดแล้วทา นาสู่ความรู้
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการสังเคราะห์
คนละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๗.ถามให้ประเมินค่า
เป็ นคาถามที่มุ่งให้ผตู ้ อบฝึ กคิดพิจารณาคุณค่าของสิ่ งต่าง ๆ ก่อนตัดสิ นใจอย่างมี
เหตุผล รู ้จกั ตีราคาและประเมินค่าของสิ่ งต่าง ๆ โดยใช้เนื้อหา เรื่ องราว กฎเกณฑ์ที่
เป็ นจริ ง และเป็ นที่ยอมรับของสังคมแล้วนามาสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง
ก่อนตัดสิ นใจ
๑.เด็กในภาพทาอย่างนี้ เพื่ออะไร ๒.หนู
ควรเอาอย่างเด็กในภาพนี้หรื อไม่ เพราะอะไร
๓.การ
กระทาของเด็กในภาพนี้มีประโยชน์อย่างไร
ลองอีกนิด พิชิตสู่ ครู เชี่ยวชาญ
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการประเมินค่า
คนละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
สร้างภาพ สร้างคา นาสู่ การคิด
คาชี้แจง ดูภาพแล้วตอบคาถามข้อ ๑-๕
๑. เหตุการณ์น้ ีน่าจะเกิดขึ้นที่ใด(สังเกต)
ก. ในทุ่งนา
ข. ในหนองน้ า
ค. ริ มถนน
ง. กลางป่ า
๒. จากภาพนี้ นักเรี ยนคิดว่าจิตใจของควายน่าจะ
อยูใ่ นลักษณะตามข้อใด(วิเคราะห์)
ก. ดีใจ
ข. พอใจ
ค. ทุกข์ใจ
ง. สบายใจ
๓. นักเรี ยนคิดว่าจิตใจของคนน่าจะอยูใ่ นลักษณะตามข้อใด(วิเคราะห์)
ก. ดีใจ
ข. พอใจ
ค. สุ ขใจ
ง. กังวลใจ
๔. คากล่าวในข้อใดสอดคล้องกับเหตุการณ์ในภาพมากที่สุด (จาแนก-สังเคราะห์)
ก. “ภาพนี้มกั เกิดขึ้นในฤดูแล้ง” ข. “เมื่อถึงฤดูฝนเรามักจะเห็นภาพนี้ ”
ค. “ฤดูหนาวชาวนาจะทาไร่ จึงมีภาพอย่างนี้ให้เห็นบ่อย ๆ”
ง. “ภาพอย่างนี้สามารถมีให้เราได้เห็นทุกฤดูกาล”
๕. คาพูดข้อใดน่าจะทาให้คนในภาพนี้รู้สึกมีสุขใจ(วิเคราะห์-สังเคราะห์)
ก. “กรรมกรคือผูส้ ร้างตึกให้คนอาศัย”
ข. “พ่อค้าคือผูส้ ่ งสิ นค้าไปขายให้คนทัว่ ประเทศได้กิน”
ค. “ชาวนาคือกระดูสันหลังของชาติ”
ง. “ครู คือผูส้ ร้างชาติ”
ดูภาพแล้วตอบคาถามข้อ ๖-๑๐
๖. ข้อใดไม่น่าจะเกี่ยวกับภาพนี้(สังเกต,จาแนก)
ก. ความพยายาม ข. ความอดทน
ค. ความเจ็บปวด ง. ความขยัน
๗. ถ้าเขาจะทางานนี้ ให้สาเร็ จ เขาจะต้องมี
คุณธรรมข้อใด (วิเคราะห์,สังเคราะห์)
ก. ขยัน อดทน ข. ขยัน ประหยัด
ค. อดทน อดออม ง. อดทน สามัคคี
๘. งานของเขาอาจล้มเหลว หากเขามีสิ่งใดเข้าครอบงาจิตใจ (วิเคราะห์)
ก. ความอยากได้
ข. ความโลภ
ค. ความโกรธ
ง. ความท้อแท้
๙. คากล่าวในข้อใดสอดคล้องกับภาพนี้มากที่สุด (วิเคราะห์,สังเคราะห์)
ก.“งานหนักคือดอกไม้ของชีวิต” ข.“งานหนักคือเหตุบนั่ ทอนกาลังใจ”
ค.“คนจนเหมาะสมสาหรับงานหนัก” ง.“งานหนักไม่เคยสร้างคนให้ประสบความสาเร็ จ”
๑๐. ภาพนี้สอดคล้องกับคาพังเพยข้อใด (วิเคราะห์-สังเคราะห์)
ก.“ใจแข็งเหมือนหิ น”
ข. “เข็นครกขึ้นภูเขา”
ค.“น้ าหยดลงหิ น ทุกวันหิ นมันยังกร่ อน” ง. “หนักเหมือนหิ น”
ฝึ กคิด ฝึ กทา นาสู่ครู ผสู้ ร้างสรรค์
คาชี้แจง หาภาพแล้วตั้งคาถามที่เน้นให้คิดลักษณะต่าง ๆ คนละ ๑๐ คาถาม
๑......................................................................................................................
๒.....................................................................................................................
๓.....................................................................................................................
๔.....................................................................................................................
๕.....................................................................................................................
๖......................................................................................................................
๗.....................................................................................................................
๘....................................................................................................................
๙....................................................................................................................
๑๐..................................................................................................................
สรุ ปความสาคัญของคาถามระดับสูง
๑.ผูเ้ รี ยนได้นาความรู ้และประสบการณ์เดิมมาเป็ นพื้นฐานสรุ ปหาคาตอบ
๒.ส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์
๓.ช่วยให้เกิดทักษะในการคิดอย่างเป็ นระบบ
๔.เปิ ดโอกาสให้ผตู ้ อบได้แสดงความคิดเห็นในแง่มุมต่าง ๆ
๕.กระตุน้ ให้ผตู ้ อบได้ลองแก้ปัญหาด้วยตนเอง
คาถามส่ งเสริมการคิดแก้ ปัญหา
การส่ งเสริ มให้เด็กได้ฝึกคิดแก้ปัญหา ควรเริ่ มจากปัญหาที่มกั จะเกิดขึ้นกับเด็กเอง
ก่อน ซึ่งเป็ นประสบการณ์ใกล้ตวั เด็ก ต่อจากนั้นจึงมองปัญหาที่เกิดขึ้นใน
สภาพแวดล้อมรอบตัวเด็ก ซึ่งส่ งผลกระทบต่อตัวเด็กโดยตรงหรื อมีผลอย่างอื่นๆ
ตามมา
ถ้าเห็นคนทาลายโบราณสถาน
นักเรี ยนควรทาอย่างไร
๑.ขณะกาลังแห่บ้ งั ไฟ มีคนเมา
เหล้ามาบอกให้หยุด แล้วบอกว่า
แห่ไปก็ไม่ประโยชน์ ถ้าหนูเป็ น
ผูน้ า หนูจะทาอย่างไร
๒.ขณะแห่บ้ งั ไฟ มีคนมาชกต่อย
กับคนในขบวน ถ้าหนูเป็ นผูน้ า
หนูจะทาอย่างไร
คิดหาทาง สร้างคาถาม
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการแก้ปัญหา
คน
ละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๑.ถ้าเห็นเพื่อนถกเถียงกัน หนูควรทาอย่างไร
๒.ถ้าเพื่อนกาลังทะเลาะกัน หนูจะทาอย่างไร
๑.ขณะกาลังนัง่ ฟังนิทาน ถ้าเพื่อนชวนหนูคุย
หนูจะทาอย่างไร
๒.ขณะฟังนิทาน ถ้าไม่ชอบหนูจะทาอย่างไร
ถามให้คิด พิชิตการแก้ปัญหา
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการแก้ปัญหา
คน
ละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
ลาดับภาพ ทราบความคิด
๑
๓
๒
๔
๑.จากภาพที่เห็น ภาพใดควรจะ
เกิดก่อน
ก. ภาพที่ ๑
ข. ภาพที่ ๔
ค. ภาพที่ ๓
ง. ภาพที่ ๒
๒. ภาพใดน่าจะเกิดเป็ นอันดับ
สุ ดท้าย
ก. ภาพที่ ๒
ข. ภาพที่ ๔
ค. ภาพที่ ๓
ง. ภาพที่ ๑
๓. ข้อใดเรี ยงลาดับเหตุการณ์ตามภาพได้ถกู ต้อง
ก. ๔, ๒, ๑, ๓
ข. ๒, ๓, ๑, ๔
ค. ๑, ๓, ๔, ๒
ง. ๓, ๑, ๔, ๒
๔. ภาพใดน่าจะเกิดขึ้นเป็ นอันดับที่ ๒
ก. ภาพที่ ๑
ข. ภาพที่ ๒
ค. ภาพที่ ๓
ง. ภาพที่ ๔
๕. ควรตั้งชื่อภาพนี้วา่ อย่างไร
ก. เกี่ยวกับตัวของฉัน
ข. ความดีที่ฉนั ทาได้
ค. กิจวัตรประจาวันของฉัน
ง. สุ ขกายสบายใจไร้กงั วล
ไม่ทาใยเล่าเจ้าจะรู้
คาชี้แจง สร้างภาพลาดับเหตุการณ์ แล้วเขียนคาถาม คนละ ๕ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๑.ถ้าเห็นคนเปิ ดโทรทัศน์ทิ้งไว้ หนูควรทาอย่างไร
๒.ถ้าจะช่วยประหยัดไฟฟ้ า ควรดูโทรทัศน์อย่างไร
๑.ถ้าเห็นคนไล่ตีหรื อรังแกสุ นขั หนูควรทาอย่างไร
๒.ถ้าไม่อยากให้คนรังแกสัตว์ ควรทาอย่างไร
คิด ทา นาสู่การคิด
คาชี้แจง ให้ท่านออกแบบกิจกรรมและคาถามที่เน้นการแก้ปัญหา
คน
ละ ๑ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
คาถามจากเรื่ องที่อ่าน
๑. คาถามจากนิทาน
“เสื อเป็ นครู หนุ่มที่ถูกสิ งโตซึ่งเป็ นผูอ้ านวยการโรงเรี ยนส่ งเข้าไปอบรม
เรื่ องการสอนให้เด็กคิด ครู เสื อไม่พอใจมาก เพราะเขาคิดว่าใครๆก็คิดเป็ น
ทั้งนั้น ลิง ค่าง บ่าง ชะนี หมู หมา กระต่าย ต่างก็คิดได้และคิดเป็ น เหตุใดจึงให้
มานัง่ ฟังวิทยากรอีกเล่า เมื่อไม่พอใจ ครู เสื อจึงชวนครู หมีออกนอกห้องไปเที่ยว
เล่นตามห้างสรรพสิ นค้า ไม่เข้าห้องประชุม ขณะนัน่ เองสิ งโตผูอ้ านวยการ
โรงเรี ยนซึ่งมาเที่ยวห้างด้วยกันเจอเข้า จึงต่อว่าครู เสื อ และลงโทษครู เสื อด้วย
การไม่ให้ข้ ึนขั้นเงินเดือน ครู เสื อจึงเป็ นทุกข์และรู ้สึกสานึกว่า เป็ นเพราะ
ตนเองคิดไม่ดี ไม่ซื่อตรงต่อหน้าที่นี่เอง จึงทาให้ตนได้รับโทษเช่นนี้ครู หมีก็
เช่นกัน เมื่อกลับถึงโรงเรี ยนก็ถูกผูอ้ านวยการโรงเรี ยนต่อว่าและลงโทษ
ตัวอย่างคาถามจากนิทาน
๑.นิทานเรื่ องนี้มีภาพอะไรบ้าง(ถามให้สังเกต)
๒.นิทานที่ฟังนี้มีสตั ว์อะไรบ้าง(ถามให้ทบทวนความจา)
คาว่า “สรรพสิ นค้า” คืออะไร(ถามให้บอกความหมาย)
สัตว์อะไรในเรื่ องนี้ที่ไม่นิยมกินสัตว์เป็ นอาหาร(ถามให้ช้ ีบ่ง)
ใครเคยเห็นเสื อบ้าง(คาถามนา)
ใครอยากแสดงละครเรื่ องนี้บา้ ง(ถามเร้าความสนใจ)
๗.เหตุใดครู เสื อจึงไม่อยากอบรมการสอนให้เด็กคิด(ถามให้อธิบาย)
สิ งโตและเสื อมีอะไรแตกต่างกันบ้าง(คาถามให้เปรี ยบเทียบ)
ลองแบ่งลักษณะนิสยั และอาหารของเสื อและหมีมาให้ดู(ถามให้จาแนก)
ให้บอกอาหารที่เสื อชอบมาคนละ ๑ อย่าง(ถามให้ยกตัวอย่าง)
๓.
๔.
๕.
๖.
๘.
๙.
๑๐.
๑๑. เพราะเหตุใดครู เสื อจึงถูกลงโทษ(ถามให้วิเคราะห์)
๑๒.ทาไมครู เสื อจึงเป็ นทุกข์(ถามให้วิเคราะห์)
๑๓.
ถ้าครู หมีไม่ไปกับครู เสื อ หนูคิดว่าเหตุการณ์จะเกิดกับครู เสื ออย่างนี้หรื อไม่ (ถาม
ให้สังเคราะห์)
๑๔.ถ้าสิ งโตไม่ไป
พบเสื อที่หา้ งสรรพสิ นค้า เหตุการณ์จะอย่างไร(สังเคราะห์) ๑๕.ถ้าเด็กมีนิสัย
เหมือนครู เสื อจะเป็ นอย่างไร(สังเคราะห์)
๑๖.ถ้าให้ต้ งั ชื่อ
เรื่ องนี้ใหม่จะตั้งชื่อว่าอย่างไร(สังเคราะห์)
๑๗.เด็ก ๆ จะเอา
ใครในเรื่ องนี้ เพราะอะไร(ประเมินค่า)
๒. คาถามจากสถานการณ์ชวนคิด
ข้ าวฟ่ าง
ข้าวฟางเป็ นเด็กกาพร้า แม่ได้เสี ยชีวติ ตั้งแต่เด็ก ๆ เธอได้อาศัยอยูก่ บั พ่อและแม่เลี้ยง ต่อมาไม่
นานพ่อของเธอก็ได้เสี ยชีวิตลง แม่เลี้ยงให้เธอทางานทุกอย่างและไม่ส่งให้เธอเรี ยนหนังสื อเลย
“นี่ฉนั ให้แกอยูด่ ว้ ยก็เป็ นบุญหัวแกแล้วนะ เธอจะต้องทางานทุกอย่างให้ฉนั ถ้าขี้เกียจทา
เธอก็หนีจากที่นี่ไป” เธอถูกแม่เลี้ยงด่าในเย็นวันหนึ่ ง เพียงเพราะเธอทางานเสร็ จไม่ทนั ใจ
เท่านั้นเอง
“ฉันอยากเรี ยนหนังสื อ” เธอราพึงกับตัวเอง
และถามตัวเองว่า “แต่ฉนั จะทาอย่างไร
ในเมื่อพ่อแม่กไ็ ม่ดี มีแต่แม่เลี้ยงที่คอย
บงการใช้ฉนั ทางานอย่างหัวปั กหัวปา”
เธอครุ่ นคิดอยูค่ รู่ หนึ่ง แล้วก็ร้องออกมา
อย่างอุทานว่า “อ๋ อ! คิดได้แล้ว ไปหางาน
ทาดีกว่า” เธอคิดว่าการไปหาทางานรับจ้าง
เท่านั้นที่จะทาให้เธอมีโอกาสได้เรี ยนหนังสื อ
หากอยูก่ บั แม่เลี้ยงต่อไปอย่างนี้คงไม่มีวนั ได้เรี ยนหนังสื อแน่ ๆ ดังนั้นเธอจึงตัดสิ นใจออกจาก
บ้านไปหางานทาโดยไปทางานรับจ้างล้างจานในร้านอาหารแห่ งหนึ่ ง เพื่อหาเงินเก็บไว้และส่ ง
ตัวเองเรี ยนหนังสื อต่อไป
เธอต้องทางานหนักมาก แต่ละวันต้องล้างจานมากมายจนหนังมือเน่าเปื่ อย แต่เธอก็ไม่
ท้อถอย แม้เงินเดือนไม่มาก แต่เธอก็สามารถเก็บเงินไว้ได้ส่งตัวเองเรี ยนภาคพิเศษวันเสาร์ อาทิตย์ เธอตั้งใจเรี ยนและเรี ยนอย่างหนัก
เพราะเธอเชื่อว่าการศึกษาเท่านั้นที่จะ
ยกระดับค่าของเธอได้ ในที่สุดเธอก็เรี ยน
จบชั้นปริ ญญาตรี “ฉันทาได้แล้ว ฉันทาได้
แล้ว” เธอพูดด้วยความดีใจและน้ าตาซึ ม
ขณะก้าวขึ้นไปรับปริ ญญา แม้จะไม่มีใคร
ไปร่ วมแสดงความยินดีกบั เธอ แต่เธอก็
ภูมิใจมากกับความสาเร็ จของตนเอง
“ฉันเรี ยนจบแล้ว ฉันจะต้องพยายามหางานทาให้ได้” เธอคิดในใจแล้วก็ต้ งั หน้าตั้งตาดู
หนังสื อเพื่อไปสมัครสอบเข้าทางาน
“งานอะไรก็ได้ไม่วา่ จะเป็ นงานราชการ
และหน่วยงานเอกชน ขอให้มีงานทา
ก็พอแล้ว” เธอพูดในใจคนเดียว
ด้วยความอยากมีงานทา เธอจึงอ่าน
หนังสื ออย่างหนัก แม้แต่ในเวลาทางาน
หากมีเวลาว่างนิ ดเดียว เธอก็พยายาม
อ่านหนังสื อให้ได้
“ฉันจะไม่ปล่อยเวลาให้ผา่ นไปโดยเปล่าประโยชน์ สักวันหนึ่งความหวังของฉันคงเป็ นจริ ง”
เธอคิดในใจ แล้วก็อ่านหนังสื อต่อไป
วันหนึ่งเธออ่านเจอประกาศรับสมัครพนักงานของโรงงานแห่งหนึ่ ง ซึ่ งเป็ นโรงงานที่มี
ชื่อเสี ยงมาก เธอจึงรี บไปสมัครทันที ครั้นเข้าไปสอบ เธอก็สอบผ่านข้อเขียนได้คะแนนดีมาก
เธอจึงมีโอกาสได้รับการสอบสัมภาษณ์
และเมื่อถึงเวลาสอบสัมภาษณ์เธอได้เล่า
ชีวิตจริ งของเธอให้กรรมการสอบฟัง
กรรมการก็บอกรับเธอทันที
“เด็กอย่างนี้แหละที่โรงงานเราต้องการ
เราไม่ตอ้ งการเด็กที่มีอะไรพร้อมสรรพ
ทุกอย่าง แต่เราต้องการคนที่ขาดแคลน
และสู ้อย่างเธอนี่แหละ พวกเรายินดี
สัปดาห์หน้าให้เธอมาทางานได้” น้ าตาเธอไหลคลอเบ้า เพราะเธอไม่คิดว่ากรรมการจะมองเธอ
อย่างนั้น เธอคิดว่าช่างเป็ นความโชคดีของคนจน ๆ อย่างเธอจริ ง ๆ
เมื่อเธอเข้าไปทางานในโรงงานที่มีชื่อเสี ยง
พนักงานมีการแข่งขันกันสู ง บางคนจึงมีความ
ขัดแย้งกันเพื่อแย่งกันเอาใจหัวหน้า แต่เธอ
ไม่คิดจะไปแย่งตาแหน่งอะไร กับใคร มุ่งหน้า
ทางานอย่างทุ่มเท ด้วยการทางานอย่างไม่
เห็นแก่เหน็ดเหนื่อยของเธอ นัน่ เอง เธอจึงได้
เลื่อนตาแหน่งไปเรื่ อย ๆ จนในที่สุดเธอได้รับ
การแต่งตั้งจากผูจ้ ดั การให้เป็ นหัวหน้าแผนก
มีเงินเดือนสู ง และต่อมาเธอก็แต่งงานกับรอง
ผูจ้ ดั การที่มีฐานะการเงินมัน่ คง เพราะเขาเห็นว่าเธอเก่งคน เก่งงานและเก่งการบริ การทุกอย่าง
แล้วชีวติ ของเธอก็มีความสุ ขและมัน่ คงตลอดไป
แบบทดสอบ
๑. เหตุที่ขา้ วฟางได้รับการปฏิบตั ิจากแม่เลี้ยงเช่นนั้น เป็ นเพราะอะไร(วิเคราะห์)
ก. ข้าวฟางไม่มีพอ่ จึงทาให้แม้เลี้ยงไม่เกรงใจ ข.แม่เลี้ยงขาดคุณธรรม เช่น ความเมตตา
ค. แม่เลี้ยงต้องการให้เธอเป็ นคนเข้มแข็ง อาศัยตนเองได้
ง. ข้าวฟางเป็ นเด็กไม่ดี เธอจึงได้รับการปฏิบตั ิเช่นนั้น
๒. การที่เข้าฟางได้รับการปฏิบตั ิจากแม่เช่นนั้น มีผลให้เขาเป็ นคนเช่นไร(วิเคราะห์)
ก. เกิดความท้อแท้ และท้อถอย
ข. เกิดความผิดหวังและหมดหวัง
ค. เกิดความคิดที่จะต่อสู ้กบั แม่เลี้ยง เพื่อเอาชนะแม่เลี้ยง
ง. เกิดกาลังใจ มีความคิดที่จะอาศัยตนเองให้ได้
๓. การกระทาของข้าวฟาง จัดเข้าในลักษณะเหมือนข้อใด(วิเคราะห์)
ก. “ปลาเป็ นย่อมว่ายทวนน้ าเสมอ”
ข. “ชีวติ ย่อมไหลไปสู่ ที่ต่า”
ค. “ความชัว่ มีแต่คนที่คิดชัว่ เท่านั้นทาได้” ง. “คนโง่ยอ่ มเป็ นเหยือ่ ของคนฉลาด”
๔. ชีวติ ของข้าวฟาง เหมือนกับชีวติ ของใคร(สังเคราะห์)
ก. ดาว เป็ นลูกคนรวย เมื่อพ่อตายจึงใช้จ่ายเงินที่พอ่ หาไว้ให้จนหมด
ข. ดี เป็ นลูกคนจน จึงประชดชีวติ ด้วยการทาชัว่ อย่างถึงที่สุด
ค. แดง ไม่ได้รับความยุติธรรมจากเจ้านาย เขาจึงทาความดีจนเอาชนะใจเจ้านายได้
ง. ดา ถูกกลัน่ แกล้งจากหัวหน้า เขาจึงไม่ยอมทาตามคาสั่งหัวหน้างาน
๕. ชีวติ ของข้าวฟางตรงกับคาสอนข้อใด(สังเคราะห์)
ก. อัตตาหิ อัตตโน นาโถ ตนเป็ นที่พ่ งึ ของตน
ข. ปั ญญา โลกัสมิง ปั ตโชโต ปั ญญาเป็ นแสงสว่างในโลก
ค. ปมาโท มัจจุโน ปทัง ความประมาทเป็ นหนทางแห่ งความทุกข์
ง. กัมมุนา วตติ โลโก สัตว์โลกย่อมเป็ นไปตามกรรม
๖. นักเรี ยนเห็นด้วยกับความคิดของข้าวฟางหรื อไม่ เพราะอะไร(สังเคราะห์)
ก. เห็นด้วย เพราะเป็ นการมุ่งเพื่อเอาชนะคนอื่น
ข. เห็นด้วย เพราะเป็ นการไม่ยอมแพ้แก่โชคชะตา
ค. ไม่เห็นด้วย เพราะเป็ นการทาให้คนอื่นเสี ยหาย
ง. ไม่เห็นด้วย เพราะเป็ นไม่เคารพแม่เลี้ยง
๗. ถ้าคนในสังคมมีความคิดเหมือนข้าวฟางมาก ๆ จะเป็ นอย่างไร(วิเคราะห์)
ก. ไม่ดี เพราะทาให้แม่เลี้ยงไม่พอใจ
ข. ไม่ดี เพราะผูค้ นจะรังเกียจมากขึ้น
ค. ดี เพราะจะทาให้เอาชนะคนอื่นได้ ง. ดี เพราะมีนิสัยต่อสู ้ อดทนต่อความยากลาบาก
๘. การกระทาของใครสอดคล้องกับการกระทาของข้าวฟางมากที่สุด(สังเคราะห์)
ก. ดา เห็นว่าไม่ได้รับความเป็ นธรรมจากหัวหน้าจึงมุ่งทาความดีเพื่อเอาชนะใจหัวหน้า
ข. ดี เห็นว่าไม่ใครรักจึงประชดด้วยการทาความชัว่
ค. ดาว ไม่อยากให้ใครดูถกู ว่าจน จึงแต่งตัวภูมิฐานเข้าไว้ก่อน
ง. แดง ไม่สนใจการเรี ยน จึงทาให้สอบตก
๙. เรื่ องนี้ตอ้ งการสื่ อคุณธรรมข้อใด(วิเคราะห์)
ก. การประหยัด อดออม
ข. ความเสี ยสละ สามัคคี
ค. ความขยัน เสี ยสละ
ง. ความอดทน ขยัน
๑๐. ข้อใดคือลักษณะนิสัยของแม่เลี้ยง (สังเคราะห์)
ก. เสี ยสละ
ข. เห็นแก่ตวั
ค. มีน้ าใจ
ง. รู้จกั ให้อภัย
ฝึ กคิด ฝึ กทา นาสู่ ครู เชี่ยวชาญ
คาชี้แจง ให้ท่านแต่งสถานการณ์ ๑ เรื่ อง แล้วเขียนคาถามชวนคิด คนละ ๕ คาถาม
๑......................................................................................................................
๒.....................................................................................................................
๓...................................................................................................................
๔.....................................................................................................................
๕...................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๓.คิดจากนิทาน
ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่
เรื่ องก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ เป็ นเรื่ องที่เล่าสื บต่อกันมาเป็ นเวลาช้านานว่า อดีตกาล
นานมาแล้ว ณ หมู่บา้ นตาดทองซึ่ งปั จจุบนั
อยูใ่ นเขตอาเภอเมือง จังหวัดยโสธร
มีชาวนาครอบครัวหนึ่งมีฐานะยากจน
อาศัยอยูก่ นั 2 แม่ลกู ลูกชาย ชื่อ “ทอง”
ซึ่ งอยูใ่ นวัยหนุ่มแข็งแรง สามารถช่วยงาน
ในไร่ นา เป็ นหัวเรี่ ยวหัวแรงของครอบครัว
ได้เป็ นอย่างดี ทองเป็ นคนหนักเบาเอาสู ้
ไม่เคยเกี่ยงงานตามลักษณะของหนุ่มอีสานทัว่ ไป
ครั้นฤดูฝนมาถึง เป็ นช่วงที่ชาวนาต้องลงมือทานาอีกครั้งแล้ว ทองรู ้สึกดีใจที่ปีนี้ ฝนมาแต่
หัวปี เขาคิดในใจว่า
“ปี นี้ฝนฟ้ าคงอุดมดี คงจะได้ขา้ วมาก เราคงไม่อดอยากเหมือนปี ที่ผา่ นมา แม่คงได้ทาบุญ
อย่างสบาย” ขณะที่เขากาลังนัง่ คิดเพลินอยูน่ นั่ เสี ยงแม่กด็ งั มาจากในครัว พูดเป็ นเชิงถามว่า…
“ทองเอ้ย…ฝนก็ตกหลายครั้งแล้ว ถ้าเราจะหว่านกล้าคงพอทาได้นะ”
ทองคิดถึงน้ าในท้องนาครู่ หนึ่ งก่อนตอบแม่วา่
“หว่านได้ครับแม่ ลูกไปดูแล้วน้ ากาลังพอดี”
“ถ้าอย่างนั้น พรุ่ งนี้ลกู ก็ไปไถนารอแม่ เดี๋ยวจะไม่ทนั ฝน แม่จะนาข้าวปลาไปส่ ง”
“ครับแม่” ทองรับปากแม่ แล้วนัง่ วาดฝันถึงความงอกงามของข้าวที่จะเกิดขึ้นตามมา
คืนนั้นทองนอนหลับฝันดี เขาฝันว่าท้องนาของเขาเขียวขจีดว้ ยข้าวจากฝี มือของเขา เขาเดิน
เลาะตามคันดูเพื่อดูความอุดมสมบูรณ์ของข้าว กบ เขียด ปู ปลา ร้องและวิง่ ทักทายเขาอย่างมี
ความสุ ข เขาเห็นแม่นงั่ ยิม้ อย่างอารมณ์ดี
อยูบ่ นเถียงนา ทันใดไก่กต็ บปี กโก่งคอขัน
สลับกับเสี ยงพระตีกลองบอกสัญญาณว่าเป็ น
วันพระ ทาให้ทองสะดุง้ ถีบตัวลุกขึ้น
เขาราพึงในใจว่า “โอ.......เราฝัน
ไปหรื อนี่
ช่างฝันดีจริ ง ๆ อย่ากระนัน่ เลยไก่ขนั
แล้ว
เรารี บไปทุ่งนาดีกว่า”
ว่าแล้วเขาก็ลุกขึ้น เดินไปล้างหน้าตาแล้วรี บแบกไถจูงควายตรงไปยังนาของตน กว่าจะไป
ถึงก็สว่างพอดี เพราะนาอยูไ่ กลหมู่บา้ นมาก เขานาเชือกมัดแอกน้อย แอกใหญ่ใส่ เข้ากับไถ
แล้วจูงควายไปเทียมไถ จากนั้นนาแอกใหญ่ไปวางบนคอควาย ดึงหางไถให้ตึง กระตุกเชือก
ควายเบา ๆ เป็ นสัญญาณให้ควายรู ้วา่
“ต่อไปนี่งานหนักได้เริ่ มแล้ว”
เพียงเชือกกระตุกเท่านั้น เจ้าทุยเพื่อนยาก
ของทองก็เดินทันทีเขายกทางไถขึ้นเพื่อ
ให้ผานไถปั กลงไปในดิน แล้วดินก็ถกู
ผานไถขุดให้ปลิ้นกลับขึ้นมาด้วยแรงดึง
ของควาย โดยมีทองเป็ นผูค้ วบคุมทั้งควาย
ไถ ทั้งเชือกในมือ เพื่อให้ดินปลิ้นกลับ
ขึ้นมาอย่างเป็ นระเบียบ เขาและควายเดินวนไปมาอยูอ่ ย่างนั้นซ้ าแล้วซ้ าเล่า
ส่ วนแม่ผแู ้ ก่ชราก็ลุกขึ้นนึ่ งข้าวเหนี ยว และเก็บผักในสวนมาลวกสาหรับกินกับน้ าพริ ก
“เออ......วันนี้เป็ นวันพระ เราต้องเก็บผักให้มาก ๆ เผือ่ นาไปทาบุญด้วย”
นางคิดในใจเมื่อคิดถึงวันพระ เมื่อทาอาหาร
เสร็ จแล้ว นางก็รีบไปวัดแต่เช้าเพื่อร่ วมทาบุญ
ตักบาตรกับเพื่อนบ้าน แต่เนื่องจากวันนี้เป็ น
วันพระ ทางวัดจึงทาพิธีมากกว่าวันธรรมดา
ทาให้เวลาช้าออกไป เมื่อทาบุญเสร็ จนางก็รีบ
กลับบ้านแล้วรี บเอาก่องข้าวสะพายบ่า
มือหนึ่งถือตะกร้าใส่ อาหารซึ่ งเป็ นกับข้าวแบบ
พื้น ๆ มีน้ าพริ กผักลวกและปลาร้าบอง
นางรี บลงจากเรื อนสาวเท้าก้าวเดินอย่างเร่ งรี บ นางรู ้วา่ เวลาสายกว่าปกติจึงบ่นในใจว่า
“สายมากแล้ว ป่ านนี้ลกู ข้าคงหิ วมาก” และพูดฝากสายลมบอกลูกว่า
“แม่กาลังไปลูก อดทนนะลูกแม่ เพราะลูกเคยอดมามากแล้ว”
นางก้าวขาอยูฉ่ บั ๆ ก็ไม่ถึงสักที ด้วยเรี่ ยวแรงในวัยชรา แม้จะเร่ งรี บก็ไมได้เร็ วดัง่ ใจ
ตะวันลอยดวงสายจนแดดแผดจ้าเหงื่อหยดไหลติ๋ง ๆ ปานนั้นก็ยงั ไม่ทนั ถึงนา
ฝ่ ายทองไถนาแต่เช้าตรู่ จนเสร็ จไปหลายงานนา เขาชะเง้อคอมองทางก็ยงั ไม่เห็นแม่โผล่นา
ข้าวมาส่ งสักที กัดฟันทนไถนางานต่อไปจนเสร็ จอีกหนึ่ งงาน คราวนี้ท้ งั เหนื่อยทั้งหิ ว เขาจึง
หยุดและปลดควายออกจากแอก ปล่อยให้มนั เดินเลาะเล็มกินหญ้าริ มคันนา ชะเง้อแลแล้วแลเล่า
แม่กย็ งั ไม่เห็นเอาข้าวมาส่ ง ความหิ วทาให้เกิดอารมณ์โมโห นัง่ หน้าตาบูดบึ้งด้วยความโกรธ
รอการปรากฏตัวของแม่ผชู ้ รา
“ถ้ามาถึงจะต่อว่าอย่างไม่เกรงใจกันละ”
ความคิดทาให้เขาคิดในทางไม่ดี
ฝ่ ายแม่ผชู ้ ราแม้จะรี บเดินสักเพียงใด
ก็ยงั ไม่ถึงนาสักที ใจแม่น้ นั อยากมีปีกบินไป
ให้เร็ วทันความหิ วของลูก เพราะตะวันขึ้นโด่งฟ้ า
ป่ านนี้ลกู ชายคงจะหิ วเต็มประดา
นางรี บเดินลัดผ่านทุ่งนา คันนา คุง้ โค้ง
พอเดินลุยลัดผ่านมาก็มองไปที่เถียงนา
เห็นลูกชายนัง่ พักแสดงสี หน้าไม่พอใจอยู่
“ลูกเราคงหิ วมากนะ” นางคิดอย่างเป็ นห่วง
ลูกชายของตน
นางรี บสาวเท้าเข้ามาใกล้ ยังไม่วางสัมภาระ
จากบ่า ปากก็พร่ าว่า
“แม่รู้วา่ ลูกต้องหิ ว ทองเอ๋ ย มากินข้าวเถอะ
ลูก วันนี้แม่มาสายหน่อย เพราะที่วดั มีพิธี
มาก” ว่าแล้วก็วางสัมภาระลงบนแคร่ ใน
เถียงนา แต่ก่องข้าวยังห้อยอยูบ่ นบ่า
หนุ่มทองไม่ตอบ ตาจ้องที่ก่องข้าวบนบ่า
แม่ ความหิ วเข้าครอบงา ทาให้เขาเห็นไปว่า
ก่องข้าวนั้นน้อยเหลือเกิน ซึ่ งจริ งก็เป็ นก่อง
ข้าวที่เคยใส่ ขา้ วกินทุกวันนัน่ เอง
“มันจะกินอิ่มหรื อ ทาไมใส่ ขา้ วมาน้อยเหลือเกิน”
เขาพูดด้วยความโมโห แล้วลุกก้าวพรวด
ไปหาแม่ผยู ้ นื เหนื่อยหอบเพราะความ
เร่ งรี บจนตัวอ่อนระทวย เขาชี้หน้าแม่
พร้อมคาผรุ สวาท
“อีแม่…ม....เอาข้าวมาก่องน้อยนิ ด
กูจะพอกินอิ่มรึ ” แม่ตกตลึง เพราะไม่คิดว่า
ลูกชายที่เป็ นเสาหลักของครอบครัวจะ
กล้าพูดกับนางเช่นนั้น นางไม่คิดว่า
ความหิ วจะทาให้ลกู ชายเป็ นถึงปานนั้น
นางพยายามตั้งสติ นึกถึงคาสอนของพระและพูดกับลูกชายอย่างใจเย็นว่า
“ทอง.....แม้ก่องข้าวน้อยก็กินดูเสี ยก่อน แม่อดั มาจนแน่นก่อง อย่าเพิ่งโมโหหุนหันนะลูก”
ทองได้ยนิ แม่บอกเช่นนั้นแทนที่จะใจเย็น กลับเข้าใจว่าแม่แก้ตวั ยิง่ เพิม่ แรงโมโห จึงเดินไป
ฉวยแอกน้อยวิง่ ไปตีศีรษะแม่ นางล้มทั้งยืนก่องข้าวน้อยยังสะพายอยูบ่ นบ่า นางพยายามอ้อน
วอนให้สติลกู
“ทอง…อย่าตีแม่ ให้ลกู กินข้าวเสี ยก่อน ถ้าลูกไม่อิ่มจึงค่อยตีแม่”
ความโมโหทาให้ทองไม่ได้ยนิ คาวิงวอนของแม่ แอกในมือฟาดกระหน่าซ้ าอีกที คราวนี้นาง
แน่นิ่งไม่ไหวติง แต่ยงั เสี ยงพร่ าอันแผ่วเบาเล็ดลอดออกจากปากนางว่า
“กินข้าวก่อนลูก กินไม่อิ่มแล้วจึงฆ่าแม่” เมื่อพูดจบนางก็สิ้นใจตาย ดวงตาเบิกโพงด้วยความ
เป็ นห่วงลูก กลัวว่าลูกจะตกนรกหมกไหม้ เพราะการทามาตุฆาตทางพุทธศาสนาถือว่าเป็ น
อนันตริ ยกรรม ปิ ดทางสวรรค์ทีเดียว
ทองกระชากก่องข้าวน้อยจากหัวไหล่แม่
เปิ บข้าวเหนียวผักลวกน้ าพริ ก
กับปลาร้าบองจนอิ่มหนา แต่ขา้ วยังไม่หมดก่อง
“โอ.......ข้าว เรากินไม่หมด ข้าวเหลือจริ ง ๆ”
เขาพูดกระอึกกระอักเหมือนข้าวติดในลาคอ
หันไปมองดูแม่ เห็นแม่นอนแน่นิ่งไม่ไหวติง
“มากินข้ าวเถอะลูก วันนีแ้ ม่ มาสายหน่ อย
เพราะทีว่ ดั มีพธิ ีมาก” เขาคิดถึงคาพูดของแม่
น้ าตาก็ไหลพรั่งพรู ทะยานเข้าไปประคองร่ างแม่
พลางตะโกนเรี ยก…แม่.....แม่.....แม่...
“แม่…แม่อย่าเพิ่งตาย” หนุ่มทองเขย่าร่ างแม่ให้รู้สึกตัว แต่ไม่มีเสี ยงใดเล็ดลอดออกมาจาก
ปากหญิงชราผูเ้ ป็ นแม่เสี ยแล้ว
“แม่…แม่อย่าเพิง่ ตาย กลับมาอยูก่ บั ข้า”
น้ าตาเขาไหลพราก แม่ตายด้วยน้ ามือของเขา
ด้วยความหิ วเข้าครอบงา แม้จะตะโกนกู่กอ้ ง
ร้องเรี ยกสักปานใด ก็หาได้มีเสี ยงขานรับจาก
แม่ไม่ สายไปเสี ยแล้วสาหรับเขา ภาพความ
ฝันของเขามลายไปสิ้ น ด้วยอานาจของความ
โมโหหิ ว
“โธ่…กูฆ่าแม่ กูฆ่าแม่ผมู ้ ีบุญคุณของกู” หนุ่มทองตะโกนราวกับคนเสี ยสติ
ครั้นได้สติ หนุ่มทองก้มกราบแทบเท้าของแม่ดว้ ยน้ าตานองหน้าและพร่ าพูดอย่างสา นึกผิดว่า
“แม่จ๋า… แม่ตายเพราะลูกแท้ ๆ ลูกเป็ นคนบาปหนาสาหัส ต้องตกนรกหมกไหม้ ลูกจะ
บวชอุทิศส่ วนกุศลให้ผอ่ นหนักเป็ นเบา”
หนุ่มทองจัดการขุดหลุมฝังร่ างไร้วญ
ิ ญาณของแม่ แล้วไปมอบตัวกับเจ้าเมือง
เขาสารภาพผิดแล้วขอบวช ซึ่ งความจริ ง
คนที่ทาอนันตริ ยกรรมทางพุทธศาสนาจะ
ไม่อนุญาตให้บวช แต่เจ้าเมืองเห็นว่าเขาเคย
เป็ นคนดี ตั้งมัน่ อยูใ่ นศีลธรรมมาก่อน
และอยากบวชทดแทนบุญคุณแม่
จึงอนุญาตให้เขาบวช จึงเข้าวัดบวช
เป็ นพระภิกษุสงฆ์ เมื่อบวชแล้ว
พระทองก็ปฏิบตั ิธรรมอย่างเคร่ งครัด
ตั้งตนอยูใ่ นศีลในธรรม ครั้งหนึ่ง
พระทองเทศน์ให้ชาวบ้านฟั ง โดยท่านเทศน์เรื่ องการฆ่าความโกรธได้ทาให้ใจเป็ นสุ ข แต่ความ
โกรธเคยฆ่าท่านมาแล้ว
ท่านขึ้นพุทธศาสนสุ ภาษิตว่า
“โกธ ฆตฺวา สุ ข เสติ ฆ่ าความโกรธได้ ย่อมอยู่เป็ นสุ ข” ท่านเทศน์ได้ดีมากจนเป็ นที่เลื่อมใส
ของคนทัว่ ไป นอกจากจะเทศน์ดีแล้ว ทุกวัน
พระทองจะตื่นแต่เช้าเพื่อกวาดลานวัด ความ
ทราบถึงเจ้าเมือง เจ้าเมืองจึงนาไม้กวาดลานวัด
ที่ดา้ มทาด้วยทองมาถวาย ซึ่ งไม้กวาดลานวัด
นั้น ชาวอีสานเรี ยกว่า “ตาด” พระทองได้
เพียรสร้างเจดียท์ ี่มีลกั ษณะเหมือนก่องข้าว
โบราณไว้เก็บอัฐิของแม่ที่ทุ่งนา ซึ่ งชาวบ้าน
เรี ยกว่า “พระธาตุก่องข้ าวน้ อยฆ่ าแม่ ”
ดังปรากฏให้เห็นจนถึงปั จจุบนั ส่ วนพระทองนั้นเมื่อมรณภาพลง ชาวบ้านได้ทาฌาปนกิจท่าน
พร้อมกับตาดด้ามทอง ที่ตรงนั้นจึงเรี ยกว่า “บ้ านตาดทอง” จนปัจจุบนั
แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเลือกคาตอบที่เหมาะสมที่สุดเพียงคาตอบเดียว
๑. เหตุการณ์สาคัญของเรื่ องนี้เกิดขึ้นที่ใด(คิดแบบรู้-จา)
ก. ในหมู่บา้ น
ข. ในเมือง
ค. ในทุ่งนา
ง. ในไร่
๒. ในเรื่ องนี้มีตวั ละครสาคัญกี่คน(คิดอย่างเข้าใจ-จา)
ก. ๒ คน
ข. ๓ คน
ค. ๔ คน
ง. ๕ คน
๓. เหตุการณ์ใดตรงกับเหตุการณ์สาคัญในเรื่ องนี้(สังเคราะห์)
ก. ดา ไปหาปลาในหนองน้ า
ข. แดง ขยันเรี ยนหนังสื อ
ค. ดาว ไปฟังเทศน์ที่วดั
ง. ดี ดูโทรทัศน์ในบ้าน
๔. ถ้าไม่อยากให้เป็ นเหมือนหนุ่มทอง ควรทาอย่างไร(คิดนาไปใช้,สังเคราะห์)
ก. รู้จกั กาลเทศะและบุคคล
ข. รู ้จกั ผ่อนหนักให้เป็ นเบา
ค. รู ้จกั เอาใจเขามาใส่ ใจเรา
ง. คิดไตร่ ตรอง รู ้จกั ยับยั้งและหักห้ามใจตนเอง
๕. ถ้าไม่ให้เรื่ องจบลงในลักษณะเหมือนเรื่ องนี้ควรทาอย่างไร(คิดวิเคราะห์)
ก. หนุ่มทองควรตั้งสติให้ดีก่อนตัดสิ นใจ ข. หนุ่มทองควรคิดว่าวันนี้เป็ นวันพระ
ค. หนุ่มทองควรคิดถึงบุญคุณของแม่ ง. หนุ่มทองควรเข้าใจคาสอนของศาสนาให้มากกว่านี้
๖. เราจะสามารถนาแนวคิดของเรื่ องนี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร(คิดสังเคราะห์)
ก. ถือว่าการไปทาบุญที่วดั เป็ นสิ่ งที่ดี ควรทา
ข. ก่อนทาให้อะไรให้คิดให้รอบคอบ อย่าเอาแต่ใจตนเอง
ค. คนเราควรตรงต่อเวลา
ง. คนเราควรเห็นใจคนอื่น
๗. ถ้าคนในสังคมส่ วนใหญ่มีพฤติกรรมเหมือนหนุ่มทองขณะรอแม่ในทุ่งนาจะเป็ นอย่างไร(จาแนก)
ก.ดี เพราะมีความขยันและรับผิดชอบ ข.ดี เพราะสามารถอดทนและเอาชนะใจตนเองได้
ค.ไม่ดี เพราะไม่สามารถทางานได้สาเร็ จ
ง. ไม่ดี เพราะไม่สามารถทนต่ออานาจฝ่ ายต่าที่มารบกวนจิตใจได้
๘. ประโยคใดเป็ นข้อคิดเห็น(คิดวิเคราะห์-ประเมินค่า)
ก. “ป่ านนี้ลกู เราคงหิ ว” ข. “เมื่อมาสายอย่างนี้จะทนได้อย่างไร”
ค. “ก่องข้าวน้อยอย่างนี้ กินไม่อิ่มหรอก” ง. “ตะวันสายมากแล้ว เมื่อไรจะมาสักที”
๙. เหตุใดหนุ่มทองจึงได้กระทากับแม่เช่นนั้น(วิเคราะห์)
ก. ต้องการให้แม่สานึกผิด ข. ความโกรธและความหิ วเข้าครอบงา
ค. ความแค้นและความหิ วเข้าครอบงา ง. ต้องการบอกให้แม่รู้วา่ เขาหิ วมากเพียงใด
๑๐. หนุ่มทองควรนาข้อคิดในข้อใดไปใช้จึงไม่ทาให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ข้ ึน(สังเคราะห์)
ก. โกรธคือโง่โมโหคือบ้า อย่าโกรธดีกว่าจะได้ไม่บา้ ไม่โง่
ข. หิ วคือภัยร้าย ทาลายตนเอง ค. โลภคือความร้ายทาลายตนเองและคนรอบข้าง
ง. อดทนไว้จะได้ดีเอง
ไม่ ลองไม่ รู้ ไม่ ดูไม่ เห็น ไม่ ทาไม่ เป็ น
คาชี้แจง แต่งเรื่ อง/นิทาน แล้วเขียนคาถาม คนละ ๕ คาถาม
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
การคิดแบบหมวก ๖ ใบ
มวก 6 ใบ แทนการคิด 6 มุม หมวกมี 6 สี แต่ละสี เป็ นสัญลักษณ์ที่กาหนดมุมมอง
หรื อทิศทางการคิดของคน
สี ขาว (เปรี ยบเหมือนความเป็ นกลาง) ใช้คาถามที่กระตุน้ ให้เสนอข้อมูลที่เป็ น
ข้อเท็จจริ ง
ตัวอย่างคาถาม
1. มีขอ้ เท็จจริ งอะไรบ้างจากเรื่ องที่อ่าน
2. เราหาข้อมูลที่ตอ้ งการด้วยวิธีใดได้บา้ ง
3. จากการทดลองเราสังเกตเห็นอะไรบ้าง
4. โจทย์ปัญหาที่กาหนดให้บอกข้อมูลอะไรบ้าง
สี แดง (เปรี ยบเสมือนไฟ ความโกรธ ความรู ้สึก) ใช้คาถามกระตุน้ ให้อธิบาย
ความรู ้สึกต่อข้อมูล เรื่ องราวหรื อเหตุการณ์
ตัวอย่างคาถาม 1. คุณรู ้สึกอย่างไรกับเรื่ อง..........
2. คุณพอใจกับผลงานชิ้นนี้หรื อไม่ อย่างไร
สี ดา (เปรี ยบเสมือนความสุ ขมุ รอบคอบ ระมัดระวัง) ใช้คาถามที่คน้ หาข้อดี
หรื อจุดเด่นของข้อมูล เรื่ องราว หรื อเหตุการณ์
ตัวอย่างคาถาม
1. เรื่ องนี้มีจุดอ่อนตรงไหน
2. อะไรคือสิ่ งที่ยงุ่ ยากและปัญหา
3. การทางานครั้งนี้มีขอ้ บกพร่ องอะไรบ้าง
สี เหลือง (เปรี ยบเสมือนความสว่าง การมองในด้านบวก ความเป็ นไปได้)
ใช้คาถามให้คน้ หาข้อดี หรื อจุดเด่นของข้อมูล เรื่ องราว หรื อเหตุการณ์
ตัวอย่างคาถาม 1. ข้อดีของเรื่ องนี้คืออะไร
2. การทดลองนี้มีประโยชน์อย่างไรบ้าง
3. ความคิดเห็นของทุกคนมีคุณค่าอย่างไร
สี เขียว (เปรี ยบเสมือนความเจริ ญ ความอุดมสมบูรณ์) ใช้คาถามให้เสนอวิธีแก้ไข
คิดในมุมมองใหม่ คิดสร้างสรรค์ คิดพัฒนา
ตัวอย่างคาถาม 1. การแก้ปัญหาเรื่ องนี้มีทางเลือกกี่ทาง
2. ถ้าคุณต้องการให้ผลงานชิ้นนี้ดีข้ ึนจะต้องปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร
3. คุณจะนาความรู ้เรื่ องนี้ไปใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนได้อย่างไร
สี ฟ้า (เปรี ยบเสมือนท้องฟ้ าที่ครอบคลุมทุกสิ่ ง ความเยือกเย็น) ใช้คาถามให้
สรุ ปข้อมูล ให้จดั ระบบ ให้ตดั สิ นใจ
ตัวอย่างคาถาม 1. เรื่ องที่เกิดขึ้น หรื อการทดลองที่ทา สรุ ปได้วา่ อย่างไร
2. นักเรี ยนวางแผนในการจัดกีฬาสี ไว้อย่างไร
ถ้าผูเ้ รี ยนได้รับการฝึ กให้มองหลายๆมุม คิดหลายๆทาง จนติดเป็ นนิสัย จะส่ งผลให้
นักเรี ยนเป็ นคนรอบคอบ มีเหตุผล มีวิจารณญาณ คิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปัญหา
ได้ ข้อสาคัญครู จะต้องเตรี ยมตั้งคาถามไว้ล่วงหน้า และฝึ กให้นกั เรี ยนตั้งคาถามจาก
มุมมองหลายๆมุมด้วย
เพลง สาวกระโปรงเหี่ยน
พี ร็อกสะเดิด ขับร้ อง
สาวกระโปรงเหี่ ยนมื้อนี้ไปเรี ยนแล้วบ้อ ไปฮอดโรงเรี ยนบ่นอรึ แม่นไปรอผูบ้ ่าว
ขี่มอเตอร์ไซด์ออกบ้านตั้งแต่เช้า ๆ
ไปบ่นอน้องสาวรึ ไปคุยบ่าวอยูน่ าเถียง...
...ระวังใจอย่าฟ้ าวเป็ นไปลายต่าง อ้ายเหลือโตนพ่อแม่นางผูเ้ พิ่นหาเงินส่ ง
ลาบากทั้งกาย ทั้งใจหวังพึ่งโฉมยง สาวเรี ยนมอคิว้ โก่งอย่ามัวนาเล่นอย่างเดียว
สาวกระโปรงสั้น หนังสื อบ่อหันใส่ หน้าพอตกแลงลงมา อ้ายเห็นแต่พากันเที่ยว
ขี่มอเตอร์ไซด์ กอดกันปานว่างูเขียว ขอเงินแม่ใช้ลูกเดียว อ้ายคิดนาแท้หนอ
๑. บทเพลงนี้สะท้อนให้เห็นว่าค่านิยมของสังคมไทยในปัจจุบนั เป็ นอย่างไร
ก. สื่ อต่าง ๆ มีอิทธิพลต่อสังคมไทย
ข. คนไทยนิยมเอาอย่างตามแฟชัน่
ค. นักเรี ยนมีความประพฤติไม่เหมาะสม
ง. สถาบันทางการศึกษาเกิดความล้มเหลว
๒. ผูแ้ ต่งเพลงนี้มีความรู ้สึกอย่างไร
ก. ไม่เห็นด้วยกับสื่ อต่าง ๆ ที่ผลิตรายการออกมา
ข. ไม่พอใจที่วฒั นธรรมต่างชาติที่หลัง่ ไหลเข้ามาในประเทศไทย
ค. เป็ นห่วงนักเรี ยนสาวกลัวจะทาให้พอ่ แม่เสี ยใจ
ง. ไม่พอใจกับพฤติกรรมของนักเรี ยนสาว
๓. “สาวกระโปรงเหี่ ยน” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. นักเรี ยนหญิงที่ชอบสวมใส่ กระโปรงสั้น ๆ
ข. นักเรี ยนหญิงที่มีความประพฤติไม่เหมาะสม
ค. นักเรี ยนหญิงที่ไม่เคารพกฎระเบียบของโรงเรี ยน
ง. นักเรี ยนหญิงที่ชอบขี่มอเตอร์ไซด์ไปโรงเรี ยน
๔. สาเหตุที่นกั เรี ยนหญิงประพฤติตวั อย่างนี้ เป็ นเพราะอะไร
ก. พ่อแม่ไม่อบรมสัง่ สอน
ข. ครู อาจารย์ไม่ให้คาแนะนา
ค. สังคมเสื่ อมโทรม
ง. เอาเยีย่ งอย่างตามแฟชัน่ สมัยใหม่
๕. นักเรี ยนคิดว่าอนาคตของนักเรี ยนสาวผูน้ ้ ีจะเป็ นอย่างไร
ก. จะถูกสังคมลงโทษ
ข. จะเรี ยนหนังสื อไม่จบ
ค. จะถูกไล่ออกจากโรงเรี ยน
ง. จะถูกแฟนทิ้งแน่ ๆเลย
๖. เราจะมีวิธีแก้ไขปัญหานี้อย่างไร
ก. ให้โรงเรี ยนออกกฎระเบียบให้เข้มงวด
ข. ให้ครู อาจารย์ควบคุมดูแลความประพฤติของนักเรี ยนอย่างใกล้ชิด
ค. สื่ อจะต้องผลิตรายการที่สร้างสรรค์ต่อสังคมมากขึ้น
ง. ทุกคนในสังคมไม่วา่ จะเป็ นสื่ อ โรงเรี ยน ผูป้ กครองต้องร่ วมมือกัน
แก้ไขปัญหานี้อย่างจริ งจัง
มีกิ้งก่าอาศัยใกล้นิเวศน์
อยูใ่ นเขตประตูวงั อย่างสุ ขสันต์
พระราชาเสด็จผ่านทุกวารวัน
กิ้งก่านั้นเห็นทหารทางานดี
พระราชาเสด็จมากิ้งก่าเห็น
ทหารเป็ นยามประจาทาหน้าที่
โค้งคานับพระราชาเป็ นอย่างดี
กิ้งก่ามีตวั อย่างคิดสร้างตน
เมื่อเห็นพระราชาผ่านมาใกล้ กิ้งก่าได้ตอ้ นรับไม่สบั สน
ผงกหัวคานับเหมือนกับคน
ปฏิบตั ิตนเป็ นนิสยั ไม่ผนั แปร
ใครได้เห็นกิ้งก่าชมน่ารัก
พระราชาประจักษ์วา่ ดีแท้
จึงสัง่ ให้ทหารคอยดูแล
ให้เนื้อแก่กิ้งก่าเป็ นอาจิณ
กิ้งก่าได้กินดีมีสุขนัก
ยังจงรักพระราชาไม่จบสิ้ น
กิ้งก่าไม่ตอ้ งล่าหาเหยือ่ กิน
พึ่งทรัพย์สินพระราชาพาสุ ขใจ
มาวันหนึ่งไม่มีเนื้อเผือ่ กิ้งก่า ทหารหาเหรี ยญทองคล้องคอให้
ทดแทนเนื้อมอบทองกิ้งก่าไป เมื่อสวมใส่ กิ้งก่ารู ้ชูคองาม
เมื่อกิ้งก่าได้ทองผยองหยิง่
ทาในสิ่ งไม่คาดขาดเกรงขาม
เคยคานับพระราชามาทุกยาม
ไม่ทาตามเหมือนแต่ก่อนร่ อนอวดทอง
เนื้อที่ได้กินคล่องต้องถูกงด กิ้งก่าอดกินเนื้อเมื่อผยอง
คนได้ดีแล้วอย่าทาตัวลาพอง
เหมือนกิ้งก่าได้ทองมองไม่งาม
๑.ข้อใดคือข้อเท็จจริ ง
ก.กิ้งก่าเป็ นสัตว์ที่ฉลาด
ข.กิ้งก่าชอบทองมากกว่าเนื้อ
ค.กิ้งก่าเห็นทหารคานับพระราชา
ง.กิ้งก่ากลับใจพระราชาจึงรักเหมือนเดิม
๒. นักเรี ยนมีความรู ้สึกอย่างไรกับการกระทาของกิ้งก่ากิ้งก่า
ก.เป็ นสัตว์ที่น่ารัก
ข.กิ้งก่าหลงตัวเองจึงต้องลาบาก
ค.กิ้งก่าเป็ นสัตว์ที่มีความกตัญญู
ง.กิ้งก่าห่วงแต่ความสวยจึงลืมคานับ
๓.กิ้งก่าไม่ได้รับการเลี้ยงดูเพราะเหตุใด
ก.กิ้งก่าหาเหยือ่ ได้เอง
ข.กิ้งก่าไม่เชื่อฟังทหาร
ค.กิ้งก่าได้ดีแล้วลืมตัวเอง
ง.กิ้งก่าเบื่อเนื้อที่ได้จากพระราชา
๔.นักเรี ยนได้ขอ้ คิดจากเรื่ องนี้อย่างไร
ก.อยากสบายต้องเอาใจเจ้านาย
ข.เป็ นเด็กต้องเคารพผูใ้ หญ่
ค.เมื่อได้ดีแล้วอย่าลืมตัว
ง.ตนเป็ นที่พ่ งึ แห่งตน
๕.ถ้านักเรี ยนไม่ตอ้ งการให้เกิดผลเหมือนกิ้งก่า ควรปฏิบตั ิตนอย่างไร
ก.ต่อหน้าเจ้านายต้องทาดีไว้ก่อน
ข.พูดด้วยถ้อยคาไพเราะกับเจ้านาย
ค.อยูก่ บั ใครต้องช่วยทางานอย่างต่อเนื่อง
ง.ให้ความเคารพผูใ้ หญ่อย่างเสมอต้นเสมอปลาย
๖.เรื่ องนี้ตรงกับสานวนใด
ก. ทุบหม้อข้าวตัวเอง
ข. คนลืมตัว วัวลืมตีน
ค. หน้าไหว้หลังหลอก
ง. เห็นกงจักรเป็ นดอกบัว