การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับเด็ก

Download Report

Transcript การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับเด็ก

การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์
เรื่องคุณภาพอากาศสาหรับเด็ก
สุ วรรณี อัศวกุลชัย
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
126/1 ถนนวิภาวดีรังสิ ต ดินแดง กรุ งเทพฯ 10400
e-mail : [email protected]
Topics
• Introduction
• Objectives
• Methodology
• Result and discussion
• Conclusion and recommendation
• Acknowledgement
Introduction
• เมืองน่าอยู่ (healthy cities) หมายถึง เมืองที่มีการสร้างสรรค์และปรับปรุ ง
สิ่ งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพและสังคมอย่างต่อเนื่ อง รวมทั้งมีการขยาย
แหล่งทรัพยากรของชุมชน โดยให้ประชาชนในชุมชนได้มีส่วนร่ วมและ
ช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กัน และกัน เกี่ ย วกับการด าเนิ น วิถี ทางของชี วิ ต เพื่ อให้ไ ด้
ศักยภาพหรื อคุณภาพชีวต
ิ ทีด่ ที สี่ ุ ด (ไชยยันตร์ 2538)
• การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เป็ นสื่ อสาหรั บการเรี ยนการสอนจึง
เป็ นเรื่องที่น่าสนใจ และทาให้ เด็กสนใจเรียนมากขึน้
Objectives
• วิเคราะห์และออกแบบรู ปแบบเกม
• การพัฒนาเกม โดยใช้ Macromedia Flash เป็ นเครื่ องมือ
• ทดสอบโดยผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสื่ อคอมพิวเตอร์และด้านเนื้อหาของเกมจานวน
6 ท่าน และปรับปรุ งแก้ไขเกมให้สมบูรณ์
• ทดสอบเกมโดยนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5-6
• สอบถามความพึงพอใจของเกมจากนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5-6
Methodology
• ประมวลเนื้อหางานวิจยั ทั้ง 3 เรื่ อง สังเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อนามาประกอบในการพัฒนาเกม
• วิเคราะห์และออกแบบรู ปแบบเกม
• การพัฒนาเกม โดยใช้ Macromedia Flash เป็ นเครื่ องมือ
• ทดสอบโดยผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสื่ อคอมพิวเตอร์ และด้านเนื้อหาของเกมจานวน 6 ท่าน และ
ปรับปรุ งแก้ไขเกมให้สมบูรณ์
• ทดสอบเกมโดยนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5-6
• สอบถามความพึงพอใจของเกมจากนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5-6
Results and discussion
หน้าจอหลักของโปรแกรม
ความรู้ พนื้ ฐานด้ านคุณภาพอากาศ
• แหล่ งกาเนิดมลพิษ
• ชนิดของมลพิษทางอากาศ
• ปัจจัยที่มีผลต่ อการกิดมลพิษทางอากาศ
• การป้องกันและแก้ ไขปัญมลพิษทางอากาศ
• ลักษณะเมืองน่ าอยู่
เกมออกแแบบเมืองน่าอยู่
• ออกแบบให้ เด็กได้ เรียนรู้ เกีย่ วกับมลพิษอากาศ
• การจัดวางสิ่ งต่ างๆ เข้ าไปในเมืองที่เด็กออกแบบด้วยตัวเอง
• แสดงข้ อมูลมลพิษทางอากาศทันที
• การปรับปรุ งแก้ ไขปัญหาทีก่ ่ อให้ เกิดมลพิษในเมืองนั้น
• แสดงภาพเมืองน่ าอยู่ในฝันของเด็กๆ
การเล่นเกม
่ ะเข้าไป
• ปุ่ มเลือกวัต ถุ หรือสิ่ งปลูก สร้ าง ทีจ
ในเมือง มีปุ่มซ้าย-ขวา เพื่อเลือกรู ปแบบของวัตถที่จอยูใ่ นเมือง
ประกอบด้วย
• บ้าน
• ถนน
• รถ
• อาคารสานักงาน
• โรงงาน ยานพาหนะ
• ต้นไม้ และ
• พื้นที่วา่ งเปล่า ใช้สาหรับลบสิ่ งปลูกสร้างที่ไม่ตอ้ งการออกจากเมือง
แบบที่ 1
สามารถปลูกสร้ างได้ 1-4 หลังใน 1 ช่ องพืน้ ที่ โดยที่ 1 หลังจะ
สามารถจุคนได้ 2 คน
แบบที่ 2
สามารถปลูกสร้ างได้ 1-4 หลังใน 1 ช่ องพืน้ ที่ โดยที่ 1 หลังจะ
สามารถจุคนได้ 4 คน
แบบที่ 3
สามารถปลูกสร้ างได้ 1-4 หลังใน 1 ช่ องพืน้ ที่ โดยที่ 1 หลังจะ
สามารถจุคนได้ 6 คน
แบบที่ 4
สามารถปลูกสร้ างได้ 1-4 หลังใน 1 ช่ องพืน้ ที่ โดยที่ 1 หลังจะ
สามารถจุคนได้ 10 คน
แบบที่ 5
สามารถปลูกสร้ างได้ 1-2 หลังใน 1 ช่ องพืน้ ที่ โดยที่ 1 หลังจะ
สามารถจุคนได้ 15 คน
แบบที่ 6
สามารถปลูกสร้ างได้ 1-2 หลังใน 1 ช่ องพืน้ ที่ โดยที่ 1 หลังจะ
สามารถจุคนได้ 20 คน
ถนน
รถ
อาคารสานักงาน
โรงงาน
ต้ นไม้
ค่ามลพิษ
แบบทดสอบ
• สุ่ มเอาจากคาถามมากกว่า 20 ข้อ เหลือเพียง 10 ข้อ และ
• สลับคาตอบที่เป็ นตัวเลือกในแต่ละข้อ
• เพราะฉะนั้นในการตอบคาถามในแต่ละครั้ ง ถึ งแม้ว่าจะ
เป็ นคาถามเดียวกัน แต่คาตอบอาจมีการเรี ยงสลับกันก็ได้
• โดยที่ ค าถามจะมี เ ป็ นข้อ ย่ อ ยให้ เ ลื อ ก ถ้า ตอบถู ก ก็ จ ะ
ปรากฏเครื่ องหมาย
Conclusion and recommendation
• ผลการทดสอบเกมโดยนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5-6 จานวน 40 คน
• การแข่ งขันคนละ 1 ชั่วโมง
• ผลสอบถามความพึงพอใจของเกม
•
•
•
•
•
•
ร้ อยละ 96.5 มีความพึงพอใจต่ อเกมเนื่องจากวิธีการเล่ นง่ าย
ร้ อยละ 91.7 คิดว่ าช่ วยสร้ างจินตนาการเมืองน่ าอยู่ของตนเอง
ร้ อยละ 90.1 คิดว่ าช่ วยทาให้ เข้ าใจแหล่ งกาเนิดมลพิษทางอากาศ
ร้ อยละ 89.3 คิดว่ าช่ วยทาให้ เข้ าใจวิธีการลดมลพิษ และ
ร้ อยละ 90.1 คิดว่ าช่ วยกระตุ้นให้ เด็กต้ องการเรียนรู้มากขึน้
โดยรวมมีความพึงพอใจในการเล่ นเกมอยู่ในระดับมาก (X = 2.94 คะแนนเต็ม 3)
Conclusion and recommendation
• สามารถสร้ างจินตนาการเมืองน่ าอยู่ของตนเองได้
• เข้ าใจแหล่งกาเนิดมลพิษทางอากาศ
• เข้ าใจวิธีการลดมลพิษ และ
• ช่ วยกระตุ้นให้ เด็กต้ องการเรียนรู้ ถือว่ าเป็ นเกมคอมพิวเตอร์ ทสี่ ร้ างสรรค์
• ช่ วยกันพัฒนาให้ มากขึน้ เพือ่ ทดแทนเกมรุนแรงต่ างๆ ทีม่ ีอยู่มากมาย
Acknowledgement
งานวิ
จ
ย
ั
นี
ไ
ด้
ร
ั
บ
ทุ
น
สนั
บ
สนุ
น
จาก
้
•
•สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) และ
ส
านั
ก
งานกองทุ
น
สนั
บ
สนุ
น
การสร้
า
งเสริ
ม
สุ
ข
ภาพ
(สสส.)
•
ผูส้ นับสนุน
อาจารย์
สุ
ร
ั
ต
น์
เลิ
ศ
ล
า
ในการจั
ด
ท
าสื
่
อ
ความรู
้
้
•
•คุณ วัชรพงศ์ ศรี หนองห้าง ในการออกแบบรูปแบบเกม