ขั้นตอนที่ 1

Download Report

Transcript ขั้นตอนที่ 1

ผลของการเสริมสร้างพลังอานาจต่อการป้องกันการติดเชื้อในผูป้ ่ วย
ไตวายระยะส ุดท้ายที่ได้รบั การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
รัชนีกร ไข่หิน
พยาบาลผูป้ ฏิบตั ิการพยาบาลขัน้ สูง สาขาการพยาบาลผูป้ ่ วย
โรคติดเชื้อและการควบค ุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลอาจสามารถ
สถานการณ์
ประเทศสหรัฐอเมริกา: ผูป้ ่ วยไตวายระยะสุดท้ายเพิ่มขึน้ ร้อยละ 3.1
: ผูป้ ่ วยไตวายระยะสุดท้าย 437,000 ราย
(US Renal Data system, 2010)
ประเทศเคนยา : ผูป้ ่ วยไตวายระยะสุดท้าย 35,100 ราย
: ล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ งร้อยละ 0.3
(Naicker, S., 2009)
ประเทศไทย : ผูป้ ่ วยไตวายระยะสุดท้าย 19,000 ราย
: ล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง ร้อยละ 48.8
(สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2556)
จังหวัดร้อยเอ็ด: ผูป้ ่ วยไตวายระยะสุดท้าย 1,788 ราย
: ล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ งร้อยละ 33.4
(สานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด, 2555)
2
สถานการณ์
อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
ปี พ.ศ. 2554
 ผูป
้ ่ วยไตวายระยะสุดท้าย 132 ราย
 ผูป
้ ่ วยได้รบั การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง 12 ราย HD 3 ราย
 ส่วนใหญ่เป็ นผูส
้ งู อายุ และมีโรคประจาตัว
 ผูป
้ ่ วยติดเชือ้ 5 ราย เสียชีวิต 1 ราย
3
สถานการณ์
ปี พ.ศ. 2555
 ผูป
้ ่ วยไตวายระยะสุดท้าย 139 ราย
 ผูป
้ ่ วยได้รบั การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง 25 ราย HD 4 ราย
 ผูป
้ ่ วยติดเชือ้ 8 ราย และเสียชีวิต 2 ราย
(โรงพยาบาลอาจสามารถ, 2555)
**การล้างไตมีโอกาสเสี่ยงในการติดเชือ้ จากการสอดใส่ทอ่ อุปกรณ์
(สมชาย เอี่ยมอ่อง และคณะ, 2551)
4
ผลกระทบ
ผูป้ ่ วย
 ทาให้ตอ
้ งรับการรักษาและนอนโรงพยาบาลนานขึน้
 ไม่ได้อยู่กบ
ั ครอบครัว อาจส่งผลให้มปี ั ญหาสุขภาพจิต
 เสียชีวิต
 สูญเสียค่าใช้จ่าย
โรงพยาบาล
 สูญเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อยาปฏิชว
ี นะเพื่อใช้ในการรักษา
(Hool, Onnium, Goh, Wong, Tan, Ahmad & Morad, 2005; Trodle, Brenna, Kliger, & Finkeistein, 2003; US Renal Data system, 2007)
5
กิจกรรมการส่งเสริมการใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์
ใช้หลายวิธีประกอบกันโดยเน้น
แนวคิดการดูแลตนเองของโอเร็ม (self care)
6
แบบจาลองแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ของโอเร็ม
การด ูแล
ตนเอง
R
R
R
ปัจจัย
เงื่อนไข
พื้นฐาน
ความสามารถ
ในการด ูแล
ตนเอง
<
ความต้องการ
ด ูแลตนเองทัง้ หมด
ความบกพร่อง
R
ปัจจัยเงื่อนไข
พื้นฐาน
R
ความสามารถ
ทางการพยาบาล
R = ความสัมพันธ์
ปัจจัย
เงื่อนไข
พื้นฐาน
กิจกรรมส่งเสริมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
4.ให้การพยาบาล
โดยประเมิน
ความสามารถใน
การด ูแลตนเอง
1. การให้ความรู้
แนวคิดการด ูแลตนเอง
2.กระตน้ ุ ให้ปฏิบตั ิ
ตามแนวปฏิบตั ิ
3.ให้ครอบครัวเข้ามามีสว่ นร่วม
8
แนวคิดการเสริมสร้างพลังอานาจ
 ทาให้บค
ุ คลเกิดการรับรูพ้ ลังอานาจในตนเอง
 มีความเข้าใจและยอมรับปั ญหาที่เกิดขึน
้ ภายในบริบทของตัว
บุคคล ครอบครัว หรือชุมชน
 ช่วยเหลือและสนับสนุนให้บค
ุ คลรูจ้ กั ความต้องการของ
ตนเอง
 สามารถแก้ปัญหา
 รูจ้ ก
ั ใช้แหล่งประโยชน์ที่จาเป็ น
 ช่วยให้บค
ุ คลสามารถควบคุมปั จจัยที่มผี ลต่อสุขภาพของ
ตนเองได้
9
(Gibson, 1991)
สร ุปการทบทวนวรรณกรรม
นามาใช้ในการดูแล
ผูป้ ่ วยข้ออักเสบรูมาตอยด์
ผูป้ ่ วยโรคปอดอุดกัน้ เรื้อรัง
ผูป้ ่ วยโรคเบาหวาน
ผูด้ แู ลผูส้ งู อายุโรคหลอดเลือดสมอง
ผูส้ งู อายุที่อยูค่ นเดียว
ผูป้ ่ วยสามารถด ูแล
ตนเองได้
(กษิตา พานทอง, 2552; บุษกร อ่อนโนน, 2547; พนารัตน์ เจนจบ, 2542; เมธินี จันติยะ, 2547; ศรีรตั น์ ตุม้ สิน, 2546)
10
กระบวนการเสริมสร้างพลังอานาจ 4 ขัน้ ตอน
ขัน้ ตอนที่ 1 การค้นพบสภาพการณ์จริง
ขัน้ ตอนที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ขัน้ ตอนที่ 3 การตัดสินใจลงมือปฏิบตั ิ
ขัน้ ตอนที่ 4 การคงไว้ซึ่งการปฏิบตั ทิ ี่มปี ระสิทธิภาพ
(Gibson, 1993)
ป้องกันการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้อง
อย่างต่อเนื่อง
11
วัตถ ุประสงค์การวิจยั
 เพื่อศึกษาผลของการเสริมสร้างพลังอานาจในการป้องกันการติดเชือ
้
ในผูป้ ่ วยผูป้ ่ วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รบั การล้างไตทางช่องท้องอย่าง
ต่อเนือ่ ง
 เพื่อเปรียบเทียบการติดเชือ
้ จากการล้างไตทางช่องในผูป้ ่ วยไตวาย
ระยะสุดท้ายที่ได้รบั การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ งระหว่างก่อน
และหลังได้รบั การเสริมสร้างพลังอานาจ
12
สมมติฐานการวิจยั
 การติดเชือ
้ จากการล้างไตทางช่องในผูป้ ่ วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รบั
การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง หลังได้รบั การเสริมสร้างพลัง
อานาจน้อยกว่าก่อนได้รบั การเสริมสร้างพลังอานาจ
13
กรอบแนวคิดในการวิจยั
14
ขอบเขตการวิจยั
 การวิจย
ั กึ่งทดลอง
 แบบกลุม
่ เดียว
(quasi-experimental research)
วัดก่อนและหลังการทดลอง (One group Pretest –
Posttest design)
 เพื่อศึกษาผลของการเสริมสร้างพลังอานาจต่อการป้องกันการ
ติดเชือ้ ในผูป้ ่ วยที่ได้รบั การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง
อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
 โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
 ระยะเวลาการศึกษา
6 เดือน ระหว่างเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม 2556
15
วิธีดาเนินการวิจยั
ประชากรที่ศึกษา
ผูป
้ ่ วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รบั การล้างไตทางช่อง
ท้องอย่างต่อเนือ่ ง ที่อาศัยอยูใ่ นอาเภออาจสามารถ
จังหวัดร้อยเอ็ด ทุกคน จานวน 25 ราย
16
เกณฑ์ในการคัดเลือกเข้าร่วมในการวิจยั
 เป็ นผูท
้ ี่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการอื่นที่สง่ เสริมการปฏิบตั เิ พื่อ
ป้องกันการติดเชือ้ จากการล้างไตทางช่องท้อง
 เป็ นผูท
้ ี่สามารถสื่อสารได้โดยใช้ภาษาไทย
 ยินดีเข้าร่วมการวิจย
ั
17
เกณฑ์ในการคัดออกจากการวิจยั
 ในระหว่างดาเนินกิจกรรมการเสริมสร้างพลังอานาจต้องเข้า
รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยสาเหตุใดก็ตาม
18
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจยั
 เครือ
่ งมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
 เครือ
่ งมือที่ใช้ในการดาเนินการทดลอง
19
เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจยั
เครือ่ งมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 2 ช ุด ได้แก่
1. แบบสอบถามข้อมูลทัว่ ไป แบ่งเป็ น 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 คือ ข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา โรคประจาตัว
ระยะเวลาในการป่ วยด้วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะเวลาที่ได้รบั การล้างไตทางช่องท้อง
แบบต่อเนือ่ ง
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง ประกอบด้วย การได้รบั การ
อบรมเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนือ่ ง การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ งด้วย
ตัวเอง การมีหอ้ งที่ใช้สาหรับล้างไตโดยเฉพาะ การทาความสะอาดห้องหรือบริเวณที่ลา้ งไต การ
สวมผ้าปิ ดปากและจมูกเมือ่ ทาการล้างไต การล้างมือครบตามจานวนครัง้ ที่กาหนดในการล้าง
ไต การเก็บนา้ ยาสาหรับล้างไตแยกออกจากห้องที่ทาการล้างไต การดืม่ นา้ ต้ม/นา้ กรอง การ
อาบนา้ ที่ผา่ นจากก๊อกเปิ ดใหม่ การเคยติดเชือ้ จากการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง และการ
มีปัญหาในการล้างไตทางช่องท้อง
2. แบบบันทึกการเฝ้าระวังการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้องอย่าง
ต่อเนื่อง
20
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจยั
เครือ่ งมือที่ใช้ในการดาเนินการทดลอง ได้แก่
แผนการเสริมสร้างพลังอานาจแบบรายกรณี ประกอบด้วย 4 ขัน้ ตอน
ขัน้ ตอนที่ 1 การค้นพบสภาพการณ์จริง : สร้างสัมพันธภาพ
: ค้นหาปั ญหา
: ให้ความรู้
ขัน้ ตอนที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ : ทบทวนความรู้
: เล่ากรณีตวั อย่าง
: ผูป้ ่ วยบอกสิง่ ที่ควรปฏิบตั ิ
ขัน้ ตอนที่ 3 การตัดสินใจลงมือปฏิบตั ิ : ลงมือปฏิบตั แิ ละกาหนดเป้าหมาย
ขัน้ ตอนที่ 4 การคงไว้ซึ่งการปฏิบตั ทิ ี่มปี ระสิทธิภาพ : PDCA
: พันธะสัญญาใจ
21
การตรวจสอบค ุณภาพเครือ่ งมือ
การตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity)
 แผนการเสริมสร้างพลังอานาจแบบรายกรณี
: ผูท้ รงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน
การหาความเชื่อมัน่ (reliability)
 แผนการเสริมสร้างพลังอานาจแบบรายกรณี
: นาไปทดลองใช้กบั ผูป้ ่ วยล้างไตทางช่องท้องจานวน 5 คน เพื่อทดสอบความ
เป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ิ เป็ นการประเมินความเข้าใจขัน้ ตอนต่างๆ และ
กิจกรรมก่อนนาไปใช้จริง
22
การพิทกั ษ์สิทธิของกลมุ่ ตัวอย่าง
 การวิจย
ั ดาเนินการภายหลังได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจยั
โรงพยาบาล
 ชีแ้ จงวัตถุประสงค์และขัน
้ ตอนของการศึกษา
 ขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและทาการทดลอง
 ผูร
้ ่วมวิจยั ยินยอมเข้าร่วมการวิจยั จึงให้ลงลายมือชือ่ ในเอกสารแสดงความยินยอม
เข้าร่วมในโครงการวิจยั
 การศึกษาครัง
้ นีข้ นึ้ อยู่กบั ความสมัครใจ สามารถออกจากการศึกษาได้ทกุ เวลา
 การปฏิเสธการเข้าร่วมวิจย
ั ไม่มีผลต่อบริการที่ได้รับ
 ข้อมูลที่ได้จะนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพบริการ
23
ขัน้ ตอนการดาเนินการวิจยั และการเก็บรวบรวมข้อมูล
ขัน้ เตรียมการรวบรวมข้อมูล
 คัดเลือกผูป
้ ่ วยไตวายระยะสุดท้ายที่ได้รบั การล้างไตทางช่องท้องที่มี
คุณสมบัตติ ามเกณฑ์
 นัดหมายวันเวลาในการดาเนินกิจกรรม
 ผูว้ ิจย
ั แนะนาตัวเอง ชีแ้ จงวัตถุประสงค์และรายละเอียดของโครงการ
ประโยชน์ที่ได้รบั จากการเข้าร่วมโครงการ หลังจากนัน้ ให้ผปู้ ่ วยลง
ลายมือชือ่ กรณียินยอมเข้าร่วมโครงการวิจยั
24
ขัน้ ตอนการดาเนินการวิจยั และการเก็บรวบรวมข้อมูล
ขัน้ ดาเนินการรวบรวมข้อมูล
 ผูว้ ิจย
ั พบผูป้ ่ วย แนะนาตัว
และให้ผปู้ ่ วยตอบแบบสอบถามข้อมูลทัว่ ไป
ผูว้ ิจยั เก็บข้อมูลประวัตกิ ารติดเชือ้ อาการและอาการแสดงของการ
ติดเชือ้ ประเมินการติดเชือ้ จากการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง
โดยใช้แบบเฝ้ าระวังการติดเชือ้
 ดาเนินการเสริมสร้างพลังอานาจ
25
กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอานาจครัง้ ที่ 1
ขัน้ ตอนที่ 1-3 (สัปดาห์ที่ 1)
ขัน้ ตอนที่ 1 การค้นพบสภาพการณ์จริง
สร้างสัมพันธภาพ
26
กิจกรรมค้นหาปัญหา
27
ให้ความรูแ้ ก่ผป้ ู ่ วยและญาติ
แผ่นพับ
ให้ความรูแ้ ก่ผป้ ู ่ วยและญาติ
การใช้ภาพพลิก
ให้ความรูแ้ ก่ผป้ ู ่ วยและญาติ
ใช้โปสเตอร์ความรแ้ ู ละส่งเสริมความรู้
ให้ความรูแ้ ก่ผป้ ู ่ วยและญาติ
31
กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอานาจครัง้ ที่ 1
ขัน้ ตอนที่ 2 การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ทบทวนความรู้
เล่ากรณีตวั อย่าง
ให้ผปู้ ่ วยบอกสิ่งที่ควรปฏิบัติ
32
กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอานาจครัง้ ที่ 1
ขัน้ ตอนที่ 3 การตัดสินใจลงมือปฏิบตั ิ
- ตัดสินใจแก้ปัญหา+เลือกวิธีปฏิบตั +ิ กาหนดเป้าหมาย
- สนับสนุนผ้าปิ ดปาก-จมูก และแอลกอฮอล์ทาความสะอาดมือ
- ให้คาปรึกษารายบุคคลทางโทรศัพท์
- ให้ขอ้ มูลเสริมแรงเชิงบวก คาชม
- โทรศัพท์ตดิ ตามการปฏิบตั สิ ปั ดาห์ละ 1 ครัง้
33
กระตน้ ุ การปฏิบตั ิผป้ ู ่ วย/ผูด้ ูแล
การทาความสะอาดมือ
**โทรศัพท์ติดตามกระตน้ ุ การปฏิบตั ิสปั ดาห์ละ 1 ครัง้
สนับสน ุนแอลกอฮอล์ทาความสะอาดมือและ
ผ้าปิดปาก-จมูก
การจัดสิ่งแวดล้อม
ห้องน้า
สถานที่
เก็บน้ายา
การจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดเก็บ
ผ้าเช็ดมือ
37
การจัดสิ่งแวดล้อม
โต๊ะและ
อ ุปกรณ์
การจัดเก็บ
ขยะ
ปัญหาการจัดการขยะ
39
กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอานาจครัง้ ที่ 2
ขัน้ ตอนที่ 4 การคงไว้ซึ่งการปฏิบตั ทิ ี่มปี ระสิทธิภาพ (สัปดาห์ที่ 5)
สรุปการปฏิบตั ขิ องผูป้ ่ วย
รายที่มปี ั ญหาในการปฏิบตั ทิ า PDCA
40
กิจกรรมการเสริมสร้างพลังอานาจครัง้ ที่ 3
ขัน้ ตอนย ุติการเสริมสร้างพลังอานาจ (สัปดาห์ที่ 9)
ความประทับใจและประโยชน์ที่ได้รบั
ทบทวนสิ่งที่ควรปฏิบตั ิ
เปิ ดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย
41
ประเมินผลหลังการเสริมสร้างพลังอานาจ
สัปดาห์ที่ 12
 เก็บรวบรวมข้อมูลการติดเชือ
้ จากการล้างไตทางช่องท้องโดย
ใช้แบบบันทึกการเฝ้าระวังการติดเชือ้
42
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
 ข้อมูลทัว
่ ไป:
แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
 ข้อมูลการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้อง
ก่อนและหลังการทดลอง
- Fisher Exact test
43
ผลการวิจยั
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูป้ ่ วย
ส่วนที่ 2 เปรียบเทียบการติดเชือ้ จากการล้างไตทางช่องท้องอย่าง
ต่อเนือ่ ง
44
ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของผูป้ ่ วยที่ได้รบั การล้างไตทางช่องท้องอย่าง
ต่อเนือ่ ง จาแนกตามข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลส่วนบุคคล (N=25)
ข้อมูลทัว่ ไป
เพศ
ชาย
หญิง
อายุ (ปี)
30-59
≥ 60
 = 59.32
จานวน (คน)
ร้อยละ
12
13
48.0
52.0
9
16
36.0
64.0
21
4
0
0
84.0
16.0
0
0
= 1.096
Minimum 30 Maximum 76
ระดับการศึกษา
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อนุปริญญา/ ปวส.
ปริญญาตรี
45
ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของผูป้ ่ วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้อง
อย่างต่อเนือ่ ง จาแนกตามข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลส่วนบุคคล (N=25) (ต่อ)
ข้อมูลทัว่ ไป
การมีโรคประจาตัว
มี
ไม่มี
โรคประจาตัวก่อนที่จะป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรัง
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
เบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูง
หัวใจ
พากินสัน
นิ่วไต
จานวน (คน)
ร้อยละ
24
1
96.0
4.0
10
6
5
1
1
1
41.6
25.0
20.8
4.2
4.2
4.2
46
ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของผูป้ ่ วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้อง
อย่างต่อเนือ่ ง จาแนกตามข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลส่วนบุคคล (N=25) (ต่อ)
ข้อมูลทัว่ ไป
ระยะเวลาในการป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรัง (ปี)
1-5
6-10
ระยะเวลาที่ได้รบั การล้างไตทางช่องท้อง
แบบต่อเนื่อง (ปี)
≤ 1-3
4-6
จานวน (คน)
ร้อยละ
21
4
84.0
16.0
21
4
84.0
16.0
47
ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของผูป้ ่ วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
จาแนกตามข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (N=25)
ข้อมูลทัว่ ไป
การได้รบั การอบรมเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้อง
แบบต่อเนื่อง
เคย
ไม่เคย
ความสามารถทาการล้างไตทางช่องท้องอย่าง
ต่อเนื่องได้ดว้ ยตัวเอง
ได้
ไม่ได้
การมีหอ้ งที่ใช้สาหรับล้างไตโดยเฉพาะ
มี
ไม่มี
จานวน (คน)
ร้อยละ
25
0
100.0
0
10
15
40.0
60.0
25
0
100.0
0
48
ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของผูป้ ่ วยที่ได้รบั การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง
จาแนกตามข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ ง (N=25) (ต่อ)
ข้อมูลทัว่ ไป
การทาความสะอาดห้องหรือบริเวณที่ลา้ งไตท ุกวัน
ใช่
ไม่ใช่
การสวมผ้าปิดปากและจมูกท ุกครัง้ เมื่อทาการล้างไต
ใช่
ไม่ใช่
การล้างมือครบตามจานวนครัง้ ที่กาหนดในการล้างไต
ครบ
ไม่ครบ
การเก็บน้ายาสาหรับล้างไตแยกออกจากห้องที่ทาการล้างไต
แยก
ไม่แยก
การดื่มน้าต้ม/น้ากรองท ุกครัง้
ใช่
ไม่ใช่
จานวน (คน)
ร้อยละ
5
20
20.0
80.0
13
12
52.0
48.0
13
12
52.0
48.0
10
15
40.0
60.0
49
24
1
96.0
4.0
ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของผูป้ ่ วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
จาแนกตามข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลเกี่ยวกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (N=25) (ต่อ)
ข้อมูลทัว่ ไป
การอาบน้าที่ผา่ นจากก๊อกเปิ ดใหม่ท ุกครัง้
ใช่
ไม่ใช่
การจัดการขยะท ุกวัน (ถ ุงน้ายาล้างไต)
ใช่
ไม่ใช่
การเคยติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่ อง
เคย
ไม่เคย
การมีปัญหาในการล้างไตทางช่องท้อง
มี
ไม่มี
จานวน (คน)
ร้อยละ
5
20
20.0
80.0
0
25
0
100.0
8
17
32.0
68.0
22
3
88.0
12.0
50
ปัญหาในการล้างไตทางช่องท้อง

แอลกอฮอล์สาหรับเช็ดโต๊ะไม่เพียงพอ

รบกวนการนอน

ไม่มแี อลกอฮอล์ทาความสะอาดมือ

ก๊อสสาลีไม่เพียงพอ

ปวด
51
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้องระหว่างก่อนและ
หลังการเสริมสร้างพลังอานาจ (N=25)
หลังได้รบั การเสริมสร้าง
พลังอานาจ
ก่อนได้รบั การ
เสริมสร้างพลัง
อานาจ
ไม่ตดิ เชือ้
ติดเชือ้
ไม่ตดิ เชือ้
17
0
ติดเชือ้
6
2
Fisher exact
test
p-value
.031
52
ข้อจากัดของการวิจยั
 ไม่มก
ี ารประเมินความพร้อมของผูด้ แู ล
(สภาวะจิต) อาจส่งผลต่อการ
ปฏิบตั ขิ องผูร้ ่วมวิจยั
53
ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้
 การเสริมสร้างพลังอานาจ
สามารถนาไปใช้ในผูป้ ่ วยที่ได้รบั การล้างไตทาง
ช่องท้องอย่างต่อเนือ่ งในสถานบริการอื่น และประยุกต์ใช้ในการดูแลผูป้ ่ วย
โรคเรื้อรังอื่นให้สามารถดูแลตนเองได้
 ขยายการดูแลสูช
่ มุ ชน เน้นการทางานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลและรพ.
สต.โดยการจัดอบรมความรูก้ ารเสริมสร้างพลังอานาจ และการปฏิบตั ิเพื่อ
ป้องกันการติดเชือ้ จากการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนือ่ งแก่พยาบาลใน
รพ.สต. อาจส่งผลทาให้ผปู้ ่ วยได้รบั การดูแลอย่างต่อเนือ่ ง
 ดาเนินการออกเยี่ยมบ้านร่วมกับสหวิชาชีพ เพื่อให้ผป
ู้ ่ วยได้รบั การดูแล
ครอบคลุมทุกปั ญหา
54
ขอขอบพระค ุณ
55