ภาพนิ่ง 1 - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

วิธีขจัด
ความเศร้ าด้ วยตนเอง
การดู แ ลเอาใจใส่ ต นเอง ด้ วยการท ากิ จ กรรมที่
เพลิดเพลิน เช่น ออกาลังกาย ดูภาพยนตร์ หรื อทางาน
อดิ เ รก พยายามอย่า อยู่เ พีย งลาพัง การพูด คุยระบาย
ความทุกข์ใจกับคนใกล้ ชิดมักได้ รับคาปลอบใจ การฝึ กวิธี
คิ ด ที่ จ ะช่ ว ยให้ ดี ขึ น้ เช่ น การมองข้ อ ดี ห รื อ ส่ ว นดี ข อง
ตนเองให้ มากขึ ้น การมองว่ายังมีคนทุกข์ใจ หรื อ ลาบาก
เหมือนเรา
1. ข้ อควรปฏิบตั ิอย่าตังเป
้ ้ าหมายในชีวิตสูงจนเกินไป หรืออย่า
รับผิดชอบในสิ่งที่ใหญ่ ยุง่ ยากจนเกินขีดความสามารถของคุณ
อย่าเร่งรัดตนเองจนเกินไปไม่คาดหวังกับตนเองมากเกินไป
3. ควรออกกาลังกายสม่าเสมอ ไม่หกั โหมเกินไปหาเวลาพักผ่อน
หย่อนใจบ้ าง เช่น ไปดูหนังที่ชอบ เล่นเกมส์ หรือเข้ าร่วมกิจกรรม
ช่วยเหลือสังคม เข้ าวัด ฟั งเทศน์ ฟั งธรรม เพื่อทาให้ ตนรู้สกึ มีคณ
ุ ค่า
และไม่อยูว่ า่ งจนทาให้ เกิดความเศร้ าในจิตใจได้
4. ที่สาคัญไม่ควรตัดสินใจเรื่องสาคัญของชีวิตจนกว่าอาการจะดี
ขึ ้น ถ้ าจาเป็ นต้ องตัดสินใจควรปรึกษาผู้ทคี่ ณ
ุ เห็นว่าเขารู้จกั และ
เข้ าใจสถานการณ์ของคุณ ไม่มีใครจริงๆ จงเลื่อนการตัดสินใจไป
ก่อนจนกว่าระดับอารมณ์จะอยูใ่ นระดับปกติ
5. อย่าคาดหวังความสาเร็จมากเกนไป พยายามช่วยเหลือตนเอง
ให้ มากที่สดุ เท่าที่จะมากได้ อย่าตาหนิติเตือนตัวเอง ถ้ าไม่สามารถ
ทาอะไรได้ ดีดงั เดิม
6. อย่าให้ เกิดความคิดทางลบในจิตใจเด็ดขาด ควรพยายามมอง
โลกในแง่ดีให้ มาก มีความหวังกับชีวิต แม้ สถานการณ์จะเลวร้ าย
เพียงใด
พบและปรึกษาแพทย์
หากคุณมีอาการต่ อไปนีอ้ ย่ างน้ อย 5 ข้ อ
เป็ นเวลานานติดต่ อกัน 2 สัปดาห์ ขนึ ้ ไป
1. ซึมเศร้ า รู้สกึ หมดหวัง หมดกาลังใจ
2. รู้สกึ เบื่ออาหาร หรื อน ้าหนักลดลงมากกว่า
ร้ อยละ 5 ใน 1 เดือน หรื อทานอาหารมากกว่าปกติ
3. นอนไม่หลับ หรื อ นอนมากกว่าปกติ
4. รู้สกึ กังวล กระสับกระส่าย กระวนกระวาย
5. รู้สกึ เบื่อ หรื อสนใจน้ อยลงในกิจกรรมที่คณ
ุ โปรดปราน
6. มองโลกในแง่ร้าย หงุดหงิด ราคาญ อารมณ์เสียง่าย
กับผู้คนรอบข้ าง
7. ความต้ องการทางเพศลดลง
8. อ่อนเพลียไม่มีเรี่ ยวแรง
9. รู้สกึ ตนเองล้ มเหลว ไร้ คา่ หรื อรู้สกึ ผิด
10. สมาธิลด ความจาไม่ดี
11. มีอาการเหมือนป่ วยทางกายเรื อ้ รัง โดยหาสาเหตุ
ไม่พบ เช่น ปวดศีรษะ ปวดเรื อ้ รังตามที่ตา่ งๆ
12. คิดอยากตาย หรื อพยายามฆ่าตัวตาย
มารู้จักโรคนี้...กันนะครับ
หากคุณกาลังเผชิญกับภาวะซึมเศร้ าอยู่
ก็อย่ าปล่ อยให้ ความเศร้ าอยู่กับคุณนานเกินไป
เพราะความเศร้ าไม่ มีประโยชน์ ใดๆ กับชีวิตของคุณเลย
ปรึกษาปั ญหาสุขภาพจิต
งานสุขภาพจิต กลุม่ งานจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
โทรศัพท์ : 055-411064 ต่อ 2109, 2110
ด้ วยความปารถนาให้ ทา่ นมีสขุ ภาพดี
จาก
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
โทร.(055) 411064
โรคซึมเศร้ า คืออะไร
ซึมเศร้ าชั่วคราว
เป็ นอารมณ์ที่เกิดขึ ้นชัว่ คราวเนื่องจากการพลัดพราก
การสูญเสีย หรื อความผิดหวัง ซึ่งผู้ที่มีอาการจะรู้ ว่าเกิด
จากสาเหตุใดโดยปกติอาการเหล่านีจ้ ะบรรเทาลงเมื่ อ
เวลาผ่านไป หรื อเมื่อได้ รับการปลอบโยนจากผู้อื่ น แต่
ถ้ าอาการซึมเศร้ ายังคงมีมากผิดปกติ ก็ควรไปพบแพทย์
เพื่อขอรับคาแนะนา
ซึมเศร้ าปานกลาง
ผู้ป่วยจะรู้ สึกหดหู่ ท้ อแท้ ไม่อยากยุ่งเกี่ ยว หรื อพบปะ
สัง สรรค์ กับ ผู้อื่ น และถึ ง แม้ จ ะยัง ฝื นท างานได้ แ ต่ก็ ท า
อย่างไม่มีป ระสิทธิ ภาพเต็ มที่ ในกรณี นีผ้ ้ ู ที่อยู่ใ กล้ ชิ ด
อาจไม่คิดว่าเขาก าลังป่ วยทัง้ ๆ ที่ค วามจริ งแล้ วผู้ป่วย
ต้ องการ ความช่วยเหลือ และควรได้ รับการรั กษาจาก
แพทย์
ซึมเศร้ าขั้นรุนแรง
ผู้ป่วยกลุ่มนีจ้ ะรู้ สึกไม่มีความหวังที่ จ ะมีชีวิต อยู่ต่อไป
เพราะหมดสิ ้นแล้ วทุกสิง่ ทุกอย่าง ความรู้สกึ นีจ้ ะรุ นแรงขึ ้น
เรื่ อยๆ จนกระทัง่ ไม่สามารถทางาน หรื อสมาคมกับผู้อื่นได้
ผู้ป่วยกลุ่มนีต้ ้ องได้ รับการรั กษาจากแพทย์ โดยเร็ วที่สุด
เพื่อป้องกันไม่ให้ คิดหรื อลงมือฆ่าตัวตาย
สาเหตุ
1. กรรมพันธุ์ พบว่าพันธุกรรมมีสว่ นเกี่ยวข้ อง โดยเฉพาะ
ในกรณีที่ญาติสายตรงป่ วยเป็ นโรคซึมเศร้ า ญาติคนอื่น
มีโอกาสเป็ นโรคซึมเศร้ า ร้ อยละ 7
2. ด้ านจิตสังคม ในกลุม่ ที่มีการทะเลาะเบาะแว้ งใน
ครอบครัวบ่อยครัง้ สูญเสียคนที่ตนรัก ตกงาน มีการ
หย่าร้ าง เป็ นปั จจัยกระตุ้น หรื อบางครัง้ ไม่มีปัจจัยกระตุ้น
แต่มีบคุ ลิกภาพ มองตนเองในแง่ลบ มองอดีตเห็นแต่
ความบกพร่องของตนเอง หรื อมองโลกในแง่ร้าย และใน
กลุม่ ที่มีการสูญเสียบิดามารดาก่อนอายุ 11 ปี
การดูแลรักษาช่ วยเหล
1. วิธีขจัดความเศร้ าด้ วยตนเอง
2. การรักษาด้ วยยา แบ่งออกเป็ น 3 ระยะ ตามการดาเนิน
ของโรค
2.1 การรักษาระยะเฉียบพลัน เริ่ มตังแต่
้ ผ้ ปู ่ วยมีอาการไป
จนถึงหายจากอาการ การรักษาโรคนี ้ อาการไม่ได้ ดีขึ ้นทันที
เพราะยาแก้ โรคซึมเศร้ าจะออกฤทธิ์ช้า ประมาณ 1 สัปดาห์
2.2 การรักษาระยะต่อเนื่อง เป็ นการให้ การรักษาต่ออีก
ประมาณ 4-9 เดือน หลังจากผู้ป่วยหายแล้ ว ซึง่ เป็ นช่วงเวลาที่
ผู้ป่วยเข้ าสูร่ ะยะป้องกันการกลับเป็ นซ ้าอีก ทัง้ นี ้พบว่าหากหยุด
การรักษาก่อนนี ้ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดอาการกาเริ บสูงมาก เมื่อครบ
ระยะเวลาแล้ วให้ คอ่ ยๆ ลดยาลงทุก 2-3 สัปดาห์ จนหยุดการ
รักษา ขณะลดยาหากผู้ป่วยเริ่ มกลับมามีอาการอีก ให้ เพิ่มยาขึ ้น
แล้ วคงยาอยูร่ ะยะหนึง่ ตามการพิจารณาของแพทย์ผ้ รู ักษา
2.3 การป้องกันระยะยาว การให้ ยาเพื่อป้องกันจะพิจารณา
ให้ ในผู้ป่วยที่มีความเสีย่ งต่อการเกิดเป็ นโรคซึมเศร้ าซ ้าอีก สูง
การรักษาอย่างน้ อยควรนาน 2-3 ปี
3. การรักษาด้ วยไฟฟ้า ใช้ ในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
ด้ วยยา ทนต่ออาการข้ างเคียงของยาไม่ได้ หรื อมีความเสี่ยงต่อ
การฆ่าตัวตายสูง ถ้ าอาการดีขึ ้นให้ รักษาด้ วยยาต่อเพื่อป้องกัน
การกลับเป็ นโรคซึมเศร้ าซ ้าอีก
4. จิตบาบัด เป็ นการรักษาทางจิตใจ ด้ วยวิธีการ ปรับความคิด
ปรับพฤติกรรม เพิ่มทักษะการแก้ ปัญหา การเผชิญปั ญหา การ
ปรับตัวกับสิง่ แวดล้ อมอย่างเหมาะสม การแก้ ไขความขัดแย้ งใน
จิตใจ การเสริ มสร้ างความภาคภูมิใจในตนเอง เป็ นต้ น