การนำเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน - สาขา วิชา สถิติ

Download Report

Transcript การนำเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน - สาขา วิชา สถิติ

สต. 300 สถิติทั่วไป
อาจารย์ รัชนีวรรณ กุมภคาม
สาขาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจจ
คาอธิบายรายวิชา
มาตรวัดต่ างๆ สถิติพรรณนาและการประยุกต์ ใช แนวคิดเกี่ยวกับ
ประชากร กลุ่มตัวอย่ า งและการสุ่ มตัวอย่ าง การประมาณค่ า และการ
ทดสอบสมมติฐาน
รายละเอียดของเนือ้ หาวิชา
1 บทที่ 1 บทนา
2 บทที่ 2 การนาเสนอขอมูล
3 บทที่ 3 การวิเคราะห์ ขอมูลเบือ้ งตน
4 บทที่ 4 การวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวแปร
5 บทที่ 5 การทดสอบสมมติฐานเกีย่ วกับค่ าเฉลีย่
6 บทที่ 6 การทดสอบขอมูลทีอ่ ยู่ในรูปของความถี่
บทที่ 2
การนาเสนอขอมูล
การนาเสนอขอมูลสถิติอาจทาไดใน 2 ลักษณะ
 การนาเสนอขอมูลอย่ างไม่ เป็ นแบบแผน (informal presentation) หมายถึง การ
นาเสนอข้อมูลที่ไม่มีกฎเกณฑ์ หรื อแบบแผนที่แน่นอนตายตัว เป็ นการอธิบาย
ลักษณะของข้อมูลตามเนื้อหาข้อมูล ที่นิยมใช้มีสองวิธีคือ การนาเสนอข้อมูล
ในรู ปบทความหรื อข้อความเรี ยง และการนาเสนอข้อมูลในรู ปบทความกึ่ง
ตาราง
 การนาเสนอขอมูลอย่ างเป็ นแบบแผน (formal presentation) หมายถึงการ
นาเสนอ ข้อมูลที่มีกฎเกณฑ์ซ่ ึ งจะต้องปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่กาหนดไว้เป็ น
แบบอย่าง การนาเสนอข้อมูลประเภทนี้ ที่นิยมคือ การนาเสนอข้อมูลในรู ป
ตาราง การนาเสนอข้อมูลในรู ปแผนภาพและแผนภูมิหรื อการนาเสนอข้อมูล
ในรู ปกราฟ
 การนาเสนอขอมูลอย่ างไม่ เป็ นแบบแผน (informal presentation)
• การนาเสนอขอมูลในรู ปบทความ (Text Presentation)
• การนาเสนอขอมูลในรู ปขอความกึง่ ตาราง (Semi - tabular arrangement)
 การนาเสนอขอมูลอย่ างเป็ นแบบแผน (formal presentation)
• การนาเสนอขอมูลในรู ปตาราง (Tabular Presentation)
– ตารางทางเดียว (one - way table)
– ตารางสองทาง (two - way table)
– ตารางหลายทาง (multi - way table)
• การเสนอขอมูลในรูปกราฟ
– แผนภูมิแท่ ง (Bar Chart)
– แผนภูมริ ูปวงกลม (pie chart)
– แผนภูมริ ูปภาพ (pictogram)
 การนาเสนอขอมูลโจดยใชกราฟเสน
• กราฟเสนเชิงเดีย่ ว (simple line graph)
• กราฟเสนเชิงซอน (multiple line graph)
การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่ หมายถึง วิธีการนาข้อมูลหรื อคะแนนที่ มีอยู่
มาจัดหมวดหมู่เป็ นกลุ่ม แล้วนับจานวนความถี่ (frequency) ของแต่ละ
กลุ่มข้อมูลนั้น จาแนกได้ 2 ประเภท คือการแจกแจงความถี่ดวยตาราง
และการแจกแจงความถี่ดวยกราฟหรือแผนภูมิ
การแจกแจงความถี่ดวยตาราง
ตามปกติตารางแจกแจงความถี่จะประกอบไปด้วย ข้อมูล รอยขีด
และจานวนความถี่ ตารางแจกแจงความถี่จาแนกได้ 2 ประเภท คือ
ตารางแจกแจงความถี่ที่ไม่จดั เป็ นอันตรภาคชั้น (ตารางที่ 1) และตาราง
แจกแจงความถี่ที่จดั เป็ นอันตรภาคชั้น (ตารางที่ 2)
ตารางที่ 1
ตารางแจกแจงความถี่แสดงคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ทั่วไป
ของนักศึกษาชั้นปี ที่ 1 จานวน 40 คน
คะแนนสอบ
(เต็ม 30 คะแนน)
20
21
22
23
24
25
26
รอยขีด


 
 
 


จานวน
4
5
8
10
6
5
2
40
ตารางที่ 2
ตารางแจกแจงความถี่แสดงรายไดของประชาชนจังหวัดนครสวรรค์ จานวน 100 คน
รายได (บาท)
3000 – 5999
6000 – 8999
9000 – 11999
12000 – 14999
15000 - 17999
รอยขีด










  
   
 


จานวน
25
30
18
15
12
100
ศัพท์ ต่างๆที่เกีย่ วของกับการแจกแจงความถี่
1.
2.
3.
4.
5.
อันตรภาคชั้น (class Interval) หมายถึง ช่ วงกวางของขอมูลในแต่ ละช่ วงชั้น
ความถี่ (frequency) หมายถึง จานวนความถี่ของขอมูลในแต่ ละอันตรภาคชั้น
ขีดจากัดล่ าง (lower class limits) หมายถึง ขอมูลทีม่ คี ่ าต่าสุ ดในแต่ ละอันตรภาคชั้น
ขีดจากัดบน (upper class limits) หมายถึง ขอมูลทีม่ คี ่ าสู งสุ ดในแต่ ละอันตรภาคชั้น
ขีดจากัดล่ างทีแ่ ทจริง (lower boundary) หมายถึง ค่ ากึง่ กลางระหว่ างค่ าทีน่ อยทีส่ ุ ดของอันตรภาคชั้น
นั้น กับค่ าทีม่ ากทีส่ ุ ดของอันตรภาคชั้นทีต่ ่ากว่ าหนึ่งชั้น ถาขอมูลดิบเป็ นจานวนจากัด ขีดจากัดล่ าง
ทีแ่ ทจริงหาไดจาก ขีดจากัดล่ างลบดวย 0.5
6. ขีดจากัดบนทีแ่ ทจริง (upper boundary) หมายถึง ค่ ากึง่ กลางระหว่ างค่ าทีส่ ู งทีส่ ุ ดของอันตรภาคชั้น
นั้น กับค่ าทีน่ อยทีส่ ุ ดของอันตรภาคชั้นทีส่ ู งกว่ าหนึ่งชั้น ถาขอมูลดิบเป็ นจานวนจากัด ขีดจากัดบน
ทีแ่ ทจริงหาไดจาก ขีดจากัดบนบวกดวย 0.5
7. จุดกลางชั้น (middle point) หมายถึง ค่ ากึง่ กลางระหว่ างขีดจากัดล่ างและขีดจากัดบนของอันตรภาค
ชั้นนั้น หาไดจาก
จุดกลางชั้ น 
ขีดจากัดล่ าง  ขีดจาดักบน
2
วิธีการสรางตารางแจกแจงความถี่
1. หาค่ าต่าสุ ดและ ค่ าสู งสุ ด
2. หาค่ าพิสัย(Range)
พิสัย = ค่ าสู งสุ ด – ค่ าต่าสุ ด
3. หาอันตรภาคชั้น (class interval) และจานวนชั้น
ปกติแลว โจจทย์ จะกาหนดมาใหสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ส่ วนที่ไม่ บอกมาใหหาเองโจดยใชสู ตรดังนี้
อันตรภาคชั้น =
พิสัย
จานวนชั้น
4. สรางตารางแจกแจงความถี่
จานวนชั้น =
พิสัย
อันตรภาคชั้น
ความถี่สะสม (cumulative frequency) หมายถึง ผลรวมของความถี่ที่นบั จานวน
ข้อมูล จากอันตรภาคชั้นน้อยไปหามาก หรื อจากอันตรภาคชั้นมากไปหาน้อย
ความถี่สัมพัทธ์ (relative frequency) หมายถึง อัตราส่ วนระหว่างความถี่ กับ
จานวนข้อมูลทั้งหมด
ความถี่สัมพัทธ์ สะสม (cumulative relative frequency) หมายถึง ผลรวมของ
ความถี่สัมพัทธ์ที่นบั จากอันตรภาคชั้นน้อยไปหามาก หรื อจากอันตรภาคชั้นมาก
ไปหาน้อย
การแจกแจงความถี่ดวยกราฟหรือแผนภูมิ
ฮิสโจตแกรม (Histogram) เป็ นการแจกแจงความถี่ดว้ ยแผนภูมิแท่ง โดยให้ความ
สู งของแต่ละแท่งแทนขนาดของความถี่ของคะแนนแต่ละชั้น และความกว้างของ
แท่งแทนขีดจากัดที่แท้จริ ง
 รู ปหลายเหลีย่ มความถี่ (Frequency polygon) คือ แผนภูมิเส้นที่แสดงการแจก
แจงความถี่ของคะแนนแต่ละชั้น วิธีสร้างอาจจะสร้าง Histogram ขึ้นก่อนแล้ว
เขียนรู ปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่ได้ โดยลากเส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางของกราฟ
แท่งตามลาดับหรื ออาจจะไม่สร้าง Histogram ขึ้นก่อนก็เขียนรู ปหลายเหลี่ยม
ความถี่ได้โดยลากเส้นตรงเชื่อจุดทุกจุดที่ประกอบด้วยความถี่และจุดกลางของ
คะแนนแต่ละชั้น
การแจกแจงความถี่ดวยกราฟหรือแผนภูมิ
โจคงแห่ งความถี่ (Curve of frequency distribution) มีลกั ษณะคล้ายรู ปหลาย
เหลี่ยมแห่งความถี่ แต่ปรับรู ปหลายเหลี่ยมให้เป็ นเส้นโค้ง การปรับต้องพยายาม
ทาให้พ้นื ที่ส่วนที่เกินมาเท่ากับพื้นที่ส่วนที่หายไป
โจคงแห่ งความถี่สะสม (Ogive) คือแผนภูมิเส้นที่แสดงความถี่สะสมของคะแนน
ตั้งแต่คะแนนต่าสุ ดไปจนถึงคะแนนสู งสุ ด แผนภูมิชนิดนี้มีประโยชน์ในเรื่ องการ
หาตาแหน่งของคะแนนและการเปรี ยบเทียบต่างๆ การสร้างโค้งความถี่สะสมควร
สร้างตารางแจกแจงความถี่สะสมก่อน แล้วสร้างฮิสโตแกรมของความถี่สะสมแล้ว
ลากเส้นโค้งให้ผา่ นจุดปลายของแต่ละแท่ง
การแจกแจงความถี่ดวยกราฟหรือแผนภูมิ
ลักษณะการแจกแจงความถี่ คือ การแจกแจงของข้อมูลจะมีลกั ษณะเป็ นรู ปโค้ง
อย่างไรนั้น ขึ้นอยูก่ บั ขนาดและจานวนของข้อมูลลักษณะของการแจกแจงความถี่
โดยกราฟหรื อแผนภูมิ จาแนกตามรู ปร่ างได้ดงั นี้
ลักษณะการแจกแจงความถี่
Add your company slogan