128730-02 ประเภทของนโยบายสาธารณะ

Download Report

Transcript 128730-02 ประเภทของนโยบายสาธารณะ

1
การจาแนกของทีโอดอร์ โลวี (Theodore J. Lowi)
1.Regulatory Policy (นโยบายเชิงการจัดระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ)
2.Distributive Policy (นโยบายเชิงการจัดสรรทรัพยากรของ
ประเทศ)
3.Redistributive Policy (นโยบายเชิงการกระจายทรัพยากรของ
ประเทศ)
4.Symbolic Policy (นโยบายเชิงสัญลักษณ์)
2
การจาแนกของอลัน วาลเตอร์ สเตสส์ (Alan Walter Steiss)
เสนอประเภทนโยบาย 4 ประเภทในรูปของมาทริคนโยบาย
(policy matrix) โดยเกณฑ์ในการจาแนกแบ่งเป็ นเกณฑ์ดา้ น
เนื้อหานโยบาย (policy content) และระดับนโยบาย (policy
level)
3
เนื้ อหานโยบายมี 5 มิติ
(1) ตอบคาถามอะไร (what) คือ วัตถุประสงค์ของนโยบาย
(2) จะทาเมือ่ ไร (when) นันคื
่ อ การลาดับความสาคัญของ
นโยบาย (priorities)
(3) จะทาทีไ่ หน (where) นันคื
่ อ พืน้ ทีท่ ม่ี งุ่ เน้น (locus)
(4) จะทาอย่างไร (how) คือ วิธกี าร (means)
(5) มีมาตรฐานอะไร (standards) คือ กาหนดเพือ่ การประเมิน
4
ระดับนโยบายมี 5 ระดับ
(1) นโยบายทัวไป
่ (general policy)
(2) แผนนโยบาย (plan policy)
(3) แผนงานนโยบาย (program policy)
(4) นโยบายในแง่ปฏิบตั ิ (implementing policy)
(5) นโยบายในแง่ของการควบคุม (control policy)
5
general
policy
plan
policy
program Implementing
policy
policy
Control
policy
objectives
priorities
Basic Policy
Administrative Policy
locus
means
standards
Executive Policy
Technical Policy
6
จากแผนภาพสามารถจาแนกนโยบายเป็ น 4 ประเภท
1.นโยบายพืน้ ฐาน (basic policy)
2.นโยบายการบริหาร (executive policy)
3.นโยบายการดาเนินการ (administrative policy)
(4) นโยบายว่าด้วยวิธกี ารทางาน (technical policy)
7
1.นโยบายมุง่ เน้นขอบเขตเฉพาะด้าน และนโยบายมุง่ เน้นสถาบันทีก่ าหนด
นโยบาย
1.1 นโยบายมุง่ เน้นขอบเขตเฉพาะด้าน (sectoral policies)
เช่น นโยบายด้านการเมือง นโยบายด้านการบริหาร นโยบาย
ด้านเศรษฐกิจ
(1) ความครอบคลุมของนโยบาย
(2) ความชัดเจนของนโยบาย
(3) การแสดงเจตจานงเพือ่ นาไปสูก่ ารปฏิบตั ิ
(4) มีองค์การทีร่ บั ผิดชอบในการนานโยบายไปปฏิบตั โิ ดยตรง
8
คาแถลงนโยบายโดยนายกรัฐมนตรีอภิสิทธ์ ิ เวชชาชีวะ
1.นโยบายเร่งด่วนทีจ่ ะเริม่ ดาเนินการในปีแรก
1.1 การสร้างความเชื่อมันและกระตุ
่
น้ เศรษฐกิจมนภาพรวมเพื่อให้
เกิดความเชื่อมันแก่
่ ภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการ
บริโภค
1.1.1 เสริมสร้างความสมานฉันท์และความสามัคคีของคน
ในชาติให้เกิดขึน้ โดยเร็ว
1.1.2 จัดให้มสี านักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดน
ภาคใต้เป็ นองค์กรถาวร
1.1.3 ปฏิรปู การเมือง
9
3.นโยบายสังคมและคุณภาพชีวติ
3.1 นโยบายการศึกษา
3.1.1 ปฏิรปู การศึกษาทัง้ ระบบ
3.1.2 ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีสว่ นร่วมในการพัฒนา
การศึกษาทัง้ ระบบ
3.1.3 พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
เพือ่ ให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรม
3.1.4 จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รบั การศึกษาฟรี 15 ปี
10
1.2 นโยบายมุง่ เน้นสถาบันทีก่ าหนดนโยบาย (institutional policies)
1.สถาบันนิตบิ ญ
ั ญัติ
(1) เป็ นนโยบายทีม่ ผี ลบังคับใช้โดยนิตนิ ยั
(2) การละเมิดกฎหมายเป็ นความผิด
(3) มีความมันคงถาวร
่
(4) ผลการพิจารณา พ.ร.บ. ของสถาบันนิตบิ ญ
ั ญัตอิ าจ
ส่งผลกระทบต่อความอยูร่ อดของรัฐบาล
11
2.สถาบันบริหาร นโยบายของสถาบันบริหาร อาทิ มติ
คณะรัฐมนตรี กฎกระทรวง
3.สถาบันตุลาการ นโยบายของสถาบันตุลาการ ได้แก่ คา
พิพากษาของศาลฎีกา
12
2.นโยบายมุง่ เน้นเนื้อหาสาระ และนโยบายมุง่ เน้นขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ
2.1นโยบายมุง่ เน้นเนื้อหาสาระ (substantive policies) เช่น
นโยบายการสร้างรถไฟฟ้า และรถไฟฟ้าใต้ดนิ ใน กทม. นโยบาย
การสร้างเขือ่ น
13
2.2 นโยบายมุง่ เน้นขัน้ ตอนปฏิบตั ิ (procedural policies) เช่น นโยบาย
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม
พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ.2535 ได้กาหนดให้โครงการของส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ ซึ่ง
เป็ นผูร้ บั ผิดชอบโครงการทีเ่ ข้าข่ายต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA) มีขนั ้ ตอนดังนี้
14
15
16
3.นโยบายมุง่ เน้นการควบคุมกากับโดยรัฐ และนโยบายมุง่ เน้นการ
ควบคุมกากับตนเอง
3.1 นโยบายมุง่ เน้นการควบคุมกากับโดยรัฐ (regulatory policies)
เช่น นโยบายควบคุมอาวุธปืน ตามพระราชบัญญัตอิ าวุธปืน เครือ่ ง
กระสุนปืน วัตถุระเบิด และสิง่ เทียมอาวุธปืน พ.ศ.2490
นโยบายควบคุมการพนัน ตามพระราชบัญญัตกิ ารพนัน พ.ศ.๒๔๗๘
นโยบายลดความรุนแรงจากอุบตั เิ หตุการขับขีร่ ถจักรยานยนต์
17
3.2 นโยบายมุง่ เน้นการควบคุมกากับตนเอง (self-regulatory
policies) เช่น พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2537
พระราชบัญญัตทิ นายความ พ.ศ.2528
18
4.นโยบายมุง่ เน้นการกระจายผลประโยชน์ และนโยบายมุง่ เน้นการ
กระจายความเป็ นธรรม
4.1 นโยบายมุง่ เน้นการกระจายผลประโยชน์ (distributive
policies) เป็ นนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับการอุดหนุนแก่กลุ่มที่
ได้เปรียบอยูแ่ ล้วในสังคม มีลกั ษณะของการนาเงินของรัฐบาลไป
ช่วยเหลือประชาชนบางกลุ่ม(directed at aiding the
disadvantaged)
เช่น นโยบายการแก้ไขปญั หาการผลิตทางการเกษตร
19
4.2 นโยบายมุง่ เน้นการกระจายความเป็ นธรรม (redistributive
policies) เป็ นความพยายามทีจ่ ะจัดสรรความมังคั
่ ง่ รายได้ และสิทธิ
ต่างๆ ให้ประชาชนอย่างเป็ นธรรม โดยทัวไปประชาชนที
่
ไ่ ด้รบั
ประโยชน์จากนโยบายนี้คอื คนทีเ่ สียเปรียบในสังคม (the
disadvantaged)
เช่น นโยบายเรียนฟรี 15 ปี
นโยบายกองทุนเงินกูย้ มื เพือ่ การศึกษา
นโยบายการจัดตัง้ ธนาคารเพือ่ ให้สนิ เชื่อแก่เกษตรกรและ
สหกรณ์การเกษตร
20
5.นโยบายมุง่ เน้นเชิงวัตถุ และนโยบายมุง่ เน้นเชิงสัญลักษณ์
5.1 นโยบายมุง่ เน้นเชิงวัตถุ (material policies)
เช่น นโยบายช่วยเหลือเกษตรกรทีป่ ระสบอุทกภัย
นโยบายการปรับปรุงชุมชนแออัด
5.2 นโยบายมุง่ เน้นเชิงสัญลักษณ์ (symbolic policies)
เช่น นโยบายรณรงค์รกั ษาสิง่ แวดล้อม
นโยบายส่งเสริมเอกลักษณ์ไทย
21
6.นโยบายมุง่ เน้นลักษณะเสรีนิยม และนโยบายมุง่ เน้นลักษณะอนุรกั ษ์
นิยม
6.1 นโยบายมุง่ เน้นลักษณะเสรีนิยม (liberal policies)
เช่น นโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
นโยบายการกระจายอานาจการปกครองสูอ่ งค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน่
6.2 นโยบายมุง่ เน้นลักษณะอนุรกั ษ์นิยม (conservative policies)
22
7.นโยบายมุง่ เน้นลักษณะสินค้าสาธารณะและนโยบายมุง่ เน้นลักษณะ
สินค้าเอกชน
7.1 นโยบายมุง่ เน้นลักษณะสินค้าสาธารณะ (policies involving
public goods)
7.2 นโยบายมุง่ เน้นลักษณะสินค้าเอกชน (policies involving private
goods)
23