Document 1567304
Download
Report
Transcript Document 1567304
แนวทางการรณรงค์ให้วคั ซีน dT
ในจังหวัดนครราชสีมา
ยุภาพร ราชวงศ์
งานโรคติดต่อทั ่วไปและโรคอุบตั ใิ หม่
กลุ่มงานควบคุมโรค
กาหนดการรณรงค์
กาหนดช่วงเวลาการรณรงค์
วันที่ 1 ตุลาคม ถึง 30 พฤศจิกายน 2557
โดย สับดาห์ที่ 1-5 เป็ นช่วงที่มีการรณรงค์แบบเข้มข้น ในเชิงรุก และ
4 สัปดาห์หลังเป็ นช่วงเก็บตก
โดยกำหนดเป้ำหมำยควำมครอบคลุม 5 ระยะ
ในเดือนตค.
ั
สปดำห์
ท1
ี่ กำหนดเป้ำหมำยควำมครอบคลุมร้อยละ 10
ั
สปดำห์
ท ี่ 2 ร้อยละ 30
ั
สปดำห์
ท ี่ 3 ร้อยละ 50
ั
สปดำห์
ท ี่ 4 ร้อยละ 70
ั
้ ไป
สปดำห์
ท ี่ 5 ร้อยละ 85 ขึน
ในเดือนพฤศจิกำยน เก็บตก
ั
ิ้ สุดกำรรณรงค์
รำยงำนผลกำรดำเนินงำนทุก 3 สปดำห์
จนกว่ำจะสน
เป้าหมายโครงการ และประชากรกลุม่ เป้าหมาย
เป้าหมายของโครงการ
Coverage > 85 % (ในระดับตาบล)
ในประชากรอายุ ๒๐ ถึง ๕๐ ปี
(ผูท
้ ี่เกิดระหว่าง1มกราคม 2507 ถึง 31ธันวาคม 2537)
วิธีการคานวณ
ตัวตั้ง ใช้จานวนประชาชนที่ได้รบั วัคซีนตามกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ตาม
ทะเบียนสารวจ
ตัวหารตามทะเบียนสารวจ
*ในการนี้ไม่นบั รวมประชาชนที่ได้รบั dT ที่ใช้ทดแทน TT,
ไม่นบั รวมหญิงตั้งครรภ์ และคนที่เคยได้วคั ซีนช่วงที่มีการระบาด ที่ได้รบั
วัคซีนตั้งแต่ ๒ เข็มขึ้นไป/หรือ ได้รบั ๑ เข็มมาในระยะเวลา ๑ ปี
เป้าหมายโครงการ และประชากรกลุม่ เป้าหมาย
ประชากรเป้าหมาย
ประชากรที่มีอายุ 20 ถึง 50 ปี ที่มารับบริการ
ในจังหวัดนครราชสีมาทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติและเพื่อ
เป็ นการกระตุน้ ภูมิคมุ ้ กันต่อโรคคอตีบในชุมชนให้ครอบคลุม
มากที่สุด
ให้ฉีดวัคซีน dT แก่กลุม่ เป้าหมายทุกคน ๆ ละ 1 ครั้ง
บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การเตรี
ยมการก่อนการรณรงค์
กรมควบคุ
มโรค
สสจ.
สคร.
เขตบริการ
สุขภาพ
สปสช.
รพศ/รพท./รพช
เทศบาล/อบต
ชุมชน
สสอ./รพสต.
ชุมชน
ชุมชน
ชุมชน
ชุมชน
การดาเนินงาน
ก่อนการรณรงค์
ช่วงที่มีการรณรงค์
หลังการรณรงค์
• การสารวจประชากรเป้าหมาย • จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอ/พร้อมใช้งาน• การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
•การติดตามให้วคั ซีนแก่กลุ่มเป้าหมายท
• การจัดทาแผนปฏิบตั ิงานและ •กาหนดผังจุดบริการ
พลาดในวันรณรงค์
กลไกการติดตามการดาเนินงาน •กิจกรรม
-การให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์
•การเฝ้ าระวังอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
•สถานที่ให้บริการวัคซีน
•การจัดเตรียมวัคซีน/อุปกรณ์ตา่ งๆ -ชี้ แจงประชาชนให้ทราบถึงประโยชน์ • แนวทางการตอบสนองและประสานงา
-อาการข้างเคียงจากวัคซีน/แนวทางการดูแกรณี
ล AEFI ร้ายแรง
และระบบลูกโซ่ความเย็น
•After Action Review
•การระดมความร่วมมืออาสาสมัคร •แจกเอกสารแผ่นพับ
•การให้วคั ซีน
•การอบรมอาสาสมัคร
•บันทึกการให้วคั ซีนในแบบฟอร์ม
•การประชาสัมพันธ์
•การสังเกตอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
•After Action Review
การเตรียมการก่อนการรณรงค์
๑. การสารวจประชากรเป้าหมาย
ใช้ขอ้ มูลจากฐานข้อมูลประชากรของจังหวัด และให้ผรู ้ บั ผิดชอบ
ตรวจสอบประชากรที่อาศัยอยูใ่ นพื้นที่จริงอีกครั้ง เพื่อสรุปเป็ นรายชื่อ
ทั้งหมดในทะเบียนที่จะใช้รณรงค์
ในกรณีที่มีการขอรับวัคซีนในหน่วยบริการนอกพื้นที่ แต่ละพื้นที่ที่
รับผิดชอบต้องประสานตรวจสอบ ยืนยันการได้รบั วัคซีน ตามทะเบียน
สารวจของเขตพื้นที่ที่รบั ผิดชอบ
สาหรับในบางอาเภอที่เคยมีการรณรงค์ไปแล้ว ในช่วงที่มีการระบาด
ของโรคคอตีบ ต้องสารวจรายชื่อคนที่ได้รบั แล้ว เพื่อจะได้ทราบข้อมูล
ที่เป็ นปั จจุบนั และสามารถให้การรณรงค์ได้ครอบคลุม ครบถ้วน
การเตรียมการก่อนการรณรงค์
2. จัดทาแผนการรณรงค์
ควรจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารรณรงค์ให้วคั ซีนให้ชดั เจน โดยมีรายละเอียด
ในเรื่องพื้นทีท่ ี่ดาเนินการ จานวนกลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาปฏิบตั งิ าน
ผูร้ บั ผิดชอบ การควบคุมกากับ ตลอดจนวิธีบริการแต่ละพื้นที่
โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เข้าถึงยาก และประชากรที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการ
ได้ง่าย
ควรมีกลไกประสานการดาเนินงานรณรงค์ โดยอาจเป็ นรูปแบบ
คณะทางานเฉพาะกิจ หรือคณะกรรมการที่มีอยูแ่ ล้ว
การเตรียมการก่อนการรณรงค์
3.สถานที่ให้บริการวัคซีน กรณี เป็ นหน่วยบริการเคลื่อน
ควรเป็ นที่มีอากาศถ่ายเทดี เป็ นบริเวณที่รม่ มีบริเวณกว้างขวางเพียง
พอที่จะรองรับผูม้ ารับบริการและอาสาสมัครที่มาให้บริการ และควรมี
การจัดบริเวณสาหรับปฐมพยาบาลกรณีมีเหตุฉุกเฉิน และบริเวณสังเกต
อาการสาหรับผูม้ ารับบริการภายหลังรับวัคซีน การคมนาคมสะดวกต่อผู ้
มารับบริการและสะดวกต่อการส่งต่อผูป้ ่ วยในกรณีฉุกเฉิน มีอุปกรณ์ที่
จาเป็ นพร้อม ตามมาตรฐานการดาเนินงานสร้างเสริมภูมิคมุ ้ กันโรค
การเตรียมการก่อนการรณรงค์
4. การจัดเตรียมวัคซีน ระบบลูกโซ่ความเย็นและวัสดุอุปกรณ์
การเบิกและการรับวัคซีน การเตรียมอุปกรณ์ระบบลูกโซ่ความเย็นให้ปฏิบตั ิ
ตามแนวปฏิบตั ปิ กติ ตามมาตรฐานการดาเนินงานสร้างเสริมภูมิคมุ ้ กันโรค
องค์การเภสัชกรรมจะส่งวัคซีนให้แก่หน่วยบริการภายใน ๑๕ กันยายน
๒๕๕๗
อุปกรณ์ เช่น เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา พลาสเตอร์ กระติกสาหรับใส่
วัคซีน สาลี แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวดลดไข้ ที่เก็บเข็มเข็มฉีดยา กระบอก
ฉีดยาที่ใช้แล้ว เป็ นต้น
การเตรียมการก่อนการรณรงค์
5.การระดมความร่วมมือของอาสาสมัครก่อนการรณรงค์
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผูร้ บั ผิดชอบในแต่ละพื้นที่ ควรประสานงานกับ
หน่วยงานองค์กร และกลุ่มบุคคลในท้องถิ่น เพื่อขอความร่วมมือในการ
ร่วมสนับสนุนกิจกรรมในวันรณรงค์
บทบาทสาคัญของอาสาสมัครในช่วงที่มีการรณรงค์คือ การให้
คาแนะนาชักชวนประชาชนให้มารับบริการวัคซีนและเป็ นทีมงานช่วย
ในการให้บริการวัคซีน
การเตรียมการก่อนการรณรงค์
6. การประชาสัมพันธ์โครงการ
ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่เกี่ยวข้องอย่างทั ่วถึงในประเด็น
รายละเอียดเกี่ยวกับการรณรงค์
ประชาสัมพันธ์กบั ประชาชนประมาณ 1 เดือนก่อนการรณรงค์ ควร
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรูเ้ รื่องการรณณรงค์และให้ความร่วมมือใน
การรับบริการ โดยผ่านทางสื่อมวลชน สื่อชุมชน และสื่อบุคคลทุก
ช่องทาง
อาจพิจารณาให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีอายุ 20 ถึง 50 ปี รับ
วัคซีนก่อนเริ่มการรณรงค์ จะทาให้สามารถอธิบายแก่กลุ่มเป้าหมายได้
ดี และเป็ นปั จจัยสาคัญในการยอมรับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย
กรอบเนื้อหาที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์
ความสาคัญของปั ญหาคอตีบ ที่มีอยูใ่ นประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การระบาดใหญ่ของโรคคอตีบในพื้นที่ภาคอีสานตอนล่าง
ผูใ้ หญ่สามารถติดเชื้อได้และมีความเสี่ยงเนื่องจากส่วนใหญ่ไม่เคยได้รบั ภูมิคมุ ้ กัน
โรคคอตีบเป็ นโรคที่ป้องกันได้ดว้ ยวัคซีน
การให้วคั ซีนคอตีบ-บาดทะยักจะเป็ นประโยชน์ตอ่ ผูร้ บั วัคซีน (ป้องกันโรคคอตีบ
และบาดทะยัก)และการป้องกันโรคแก่ส่วนรวมในวงกว้าง
จะมีการรณรงค์ในระหว่างวันที่
1 ตุลาคม ถึง ๓๐ พฤศจิกายน สามารถไป
รับบริการได้ตามจุดบริการต่างๆ
สาหรับผูท้ ี่เคยได้รบั วัคซีนป้องกันบาดทะยักแล้ว จะต้องมารับวัคซีนในวันรณรงค์
ด้วยเช่นกัน เพื่อกระตุน้ ภูมิคมุ ้ กันโรคคอตีบ
การปฏิบตั งิ านในวันรณรงค์
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เพียงพอและพร้อมใช้งาน
กาหนดผังจุดบริการให้มีพ้ ืนที่เพียงพอและสะดวกต่อการปฏิบตั งิ าน
กิจกรรมประกอบด้วย
การให้สุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ แจกเอกสารแผ่นพับ ชี้แจงประชาชนให้
ทราบถึงประโยชน์ของการรณรงค์ อาการข้างเคียงและแนวทางการดูแล
การให้วคั ซีน
บันทึกการให้วคั ซีนในแบบฟอร์ม
การสังเกตอาการภายหลังได้รบั วัคซีนอย่างน้อย ๓๐ นาที
ให้ยาแก้ปวดลดไข้ สาหรับบรรเทาอาการปวดและลดไข้
การแนะนาล่วงหน้า
การแนะนาล่วงหน้ามีลกั ษณะคล้ายกับการให้ความรูห้ รือการแนะนา
โดยตรง แต่ขอ้ มูลที่ใช้สื่อสารเป็ นข้อมูลที่คาดว่าอาจเกิดขึ้นกับ
ผูร้ บั บริการในอนาคต
ตัวอย่างการแนะนาล่วงหน้า
หลังฉีดวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก คุณอาจมีไข้ได้นะคะ ส่วนใหญ่ไข้จะ
ขึ้นหลังได้รบั วัคซีน ๑ ถึง ๒ ชั ่วโมงและเป็ นอยูไ่ ม่เกิน ๒ วัน ให้
รับประทานยาลดไข้ บางคนอาจมีอาการปวดบวม แดงร้อน บริเวณที่
ฉีดวัคซีน ซึ่งส่วนใหญ่มกั เกิดอาการภายใน ๒ ถึง ๖ ชั ่วโมง ให้ประคบ
เย็นและรับประทานยาบรรเทาอาการปวด
ลักษณะทั ่วไปของวัคซีน/รูปแบบการบรรจุ
รูปแบบหลายโด๊ส ต่อ ๑ ขวด (๑๐ โด๊ส, ๕ ซีซี) วัคซีนมีลกั ษณะเป็ น
ของเหลวแขวนตะกอนสีเทาขาว (Greyish-white suspension)
ขนาดและวิธีใช้ : 0.5 ซีซี ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ข้อห้ามใช้
ผูท้ ี่มีประวัตกิ ารแพ้รุนแรง หรือมีปฏิกิรยิ ารุนแรงภายหลังได้รบั
วัคซีนชนิดนี้ หรือวัคซีนที่มีสว่ นประกอบของท็อกซินบาดทะยัก
หรือคอตีบมาก่อน
ผูท้ ี่มีประวัตแิ พ้ตอ่ สารชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งเป็ นส่วนประกอบของ
วัคซีนนี้
การเตรียมวัคซีนและเทคนิคการฉีด
กระบอกฉีดยาขนาด ๑ ซีซี หรือ ๓ ซีซี
ขนาดเข็มฉีดขนาด 23-26 G ยาว ๑-๒ นิ้ว (ในผูใ้ หญ่
ควรใช้เข็มที่ยาวเพียงพอที่จะลงลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ
โดยเฉพาะผูร้ บั วัคซีนที่มีภาวะน้ าหนักเกินหรืออ้วน)
การฉีดวัคซีน
ดึงผิวหนังให้ตงึ เฉียงลง เป็ น Z-track จะช่วยลดความเจ็บปวด
ขณะฉีดได้
เข็มตั้งตรง 90 องศา
สังเกตอาการภายหลังได้รบั วัคซีน
อย่างน้อย 30 นาที
การดูแลรักษาวัคซีนในขณะให้บริการ
ควรให้บริการในที่รม่
เก็บวัคซีนในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิอยูใ่ นช่วง +2 ถึง
+8 องศาเซลเซียส
วางขวดวัคซีนให้ตง้ั ตรง
ห้ามวางขวดวัคซีนสัมผัสกับ icepack หรือน้ าแข็งโดยตรง
ห้ามปั กเข็มคาขวดวัคซีน ในระหว่างรอบริการ
หลังเปิ ดใช้แล้วไม่ควรเก็บไว้นานเกิน ๘ ชั ่วโมง
เปิ ดกระติกเท่าที่จาเป็ นเท่านั้นและปิ ดฝาให้สนิท
การลงบันทึกและรายงานผลการปฏิบตั งิ าน
บ ันทึกข้อมูลในโปรแกรม Hos-xp ของหน่วยบริกำรโดยจะมีกำร
อบรมกำรบ ันทึกข้อมูลในว ันที่ 6 /7 ตค./2557
ั
รำยงำนผลกำรดำเนินงำนทุก 3 สปดำห์
ครงที
ั้ 1
่ 20 ตค.57 / ครงที
ั้ 2
่ 10 พย.57 / ครงที
ั้ ่ 3 25 พย.57
ทำง flu_report@hot mail.com
้ บบรำยงำน dTc3)
(ใชแ
ี ำจะรวบรวมและ
สำน ักงำนสำธำรณสุขจ ังหว ัดนครรำชสม
รำยงำนผลกำรดำเนินทุกเดือนในทีป
่ ระชุมประจำเดือนของ
ผูบ
้ ริหำร
่ แบบรำยงำนของหน่วยงำนแต่ละระด ับ
กำรจ ัดทำและกำรสง
จ ัดทำ dTC1 และ dTC2
สถำนบริกำร
dTC2
ว ันที่ 8 ธ.ค. 57
สสอ.
จ ัดทำ dTC3
dTC3
ว ันที่ 15 ธ.ค. 57
สสจ.
จ ัดทำ dTC4
dTC4
ว ันที่ 22 ธ.ค. 57
สคร. 5 , 6 ,
7
ว ันที่ 29 ธ.ค. 57
dTC4
สำน ัก ต.
วิเครำะห์ /สรุปข้อมูลภำยใน 10 ม.ค. 58
After Action Review (AAR)
ควรมีการทา AAR ทุกครั้งหลังออกปฏิบตั งิ าน เพื่อทบทวนการ
ปฏิบตั งิ านในแต่ละครั้ง รวบรวมปั ญหาอุปสรรคและแนวทางการ
แก้ไขปั ญหาสาหรับครั้งต่อไป และบันทึกสรุปประเด็นสาคัญเพื่อ
เป็ นประโยชน์กบั การรณรงค์หรือการทางานอื่นๆ ต่อไป
นามาแลกเปลี่ยนใน AAR ที่จะจัดในระดับจังหวัด 2 ครั้ง
ครั้งที่1ในวันที่ 27 ตค. 57 ครั้งที่ 2 ในวันที่ 2 ธันวาคม 57
การปฏิบตั งิ านหลังวันรณรงค์
รายงานผลการปฏิบตั งิ าน
การติดตามให้วคั ซีนแก่กลุม่ เป้าหมายที่พลาดวัคซีนในวัน
รณรงค์
ผูร้ บั ผิดชอบเขตพื้นที่บริการควรตรวจสอบประชากร
กลุม่ เป้าหมายที่มีรายชื่อตามทะเบียนสารวจและยังไม่ได้รบั
บริการ วางแผนติดตามและดาเนินการเก็บตกให้วคั ซีน
ภายใน ๑ สัปดาห์หลังช่วงที่มีการรณรงค์แบบเข้มข้น หรือ
ตามแผนปฏิบตั กิ ารของแต่ละพื้นที่
สงิ่ สน ับสนุน
ลำด ับที่
กิจกรรม
งบประมำณ
สำน ักต.
สคร.
สสจ.
24,950 บาท
-
-
218.25
ล ้านบาท
-
-
700,000
บาท
-
-
ี้ จง สสจ. / สสอ. / รพศ.
3.2 สคร. ชแ
รพท.รพช. รพสต. เทศบาล
ศูนย์บริการสาธารณสุข
-
40,000
บาท/
จังหวัด
-
4.
สนับสนุนงบดาเนินการให ้ สสจ.
-
-
15,000
บำท/
อำเภอ
5.
นิเทศติดตาม / ประเมินผล
100,000
บาท
7,000
บาท/
จังหวัด
-
1.
ประชุมคณะกรรมการดาเนินโครงการฯ
2.
ื้ วัคซน
ี MR เพือ
จัดซอ
่ ปิ ด GAP
3.
ประชุมเชงิ ปฏิบต
ั ก
ิ ารเพือ
่ ถ่ายทอด
แนวทางการรณรงค์ฯ
ี้ จง สคร. / สสจ.
3.1 สว่ นกลางชแ
Coming together is a beginning.
Keeping together is progress.
Working together is success.
"I can do things you cannot, you can
do things I cannot; together we can do
great things.”