Transcript Document

การประปาส่วนภูมภิ าค
ระบบประปา ข้อกาหนดในการออกแบบ และ
ข้อควรคานึ งถึง ในการปรับปรุงขยายระบบฯ
นางสาวธิตมิ า พลพินิจ
หนง.วิศวกรรมสุขาภิบาล/สิง่ แวดล้อม
กองออกแบบวิศวกรรม ฝา่ ยวิศวกรรม
ื้ โรคขัน
สารฆ่าเชอ
้ ต ้น
สารเคมีเพือ
่ สร้างตะกอน
กระบวนการกวนเร็ว
นา้ ดิบ
กระบวนการกวนชา้
ถ ังตกตะกอน
ื้ โรคขัน
สารฆ่าเชอ
้ สุดท ้าย
ระบบสูบจ่าย
่ ุมชน
นา้ เข้าสูช
ถ ังเก็บนา้ ใส
ถ ังกรอง
คุณภาพน้าประปาขึน้ อยู่กบั
1. คุณภาพของน้าดิบ และการปรับอัตราการจ่ายสารเคมี
เช่น ปญั หาสาหร่าย ทาให้เกิดตะกอนลอยในถัง, ปญั หา Fe และ Mn ทาให้น้า
ทีป่ ลายท่อผูใ้ ช้น้าเกิดสีได้, การปรับอัตราการจ่ายสารเคมี ขึน้ อยู่กบั คุณภาพน้าดิบ
และการทดลองทา Jar Test
1. ประสิทธิภาพของระบบผลิต
ออกแบบได้ตาม Criteria และจัดวางองค์ประกอบภายในถังได้อย่างเหมาะสม
3. สภาพแวดล้อม
อุณหภูม ิ ช่วงหน้าร้อนจะทาให้เกิดตะกอนลอย หรือกระแสลม ทาให้น้าทีผ่ วิ ของ
ั ่ ว่ น
ถังตกตะกอนปนป
3
การปรับอัตราการจ่ายสารเคมี
คานวณค่า G และ t ของถังกวนเร็ว และถังกวนช้า
นาค่าทีไ่ ด้ไปคานวณหาความเร็วรอบของใบพัดเครือ่ ง Jar Test
ทา Jar Test หาปริมาณการเติมสารเคมี
ปรับอัตราการจ่ายสารเคมีของเครือ่ งจ่ายสารเคมี
4
การคานวณหาความเร็วรอบของใบพัด Jar Test
จากค่า G ของระบบผลิต
กวนช้า ช่วงที่ 1
G,sec-1
T
GT
กวนช้า ช่วงที่ 2
กวนช้า ช่วงที่ 3
72
30
15
4 นาที (240 วินาที) 6 นาที (360 วินาที) 6 นาที (360 วินาที)
1.73x104
1.1x104
0.54x104
ปริมาตรบีกเกอร์,
1 L(V),m3
1x10-3
1x10-3
1x10-3
Pพลังงาน,watt
4.640x10-3
0.805x10-3
0.201x10-3
U = Dynamic Viscosity @25oC
P = G2 VU
= 0.895x10-3 Ns/m2
5
การคานวณหาความเร็วรอบของใบพัด
โดยที่
 N
 n
 Cd
 
 A
 K2
 R
ความเร็วรอบใบพัด ,รอบต่อวินาที
จานวนของใบพัด
Drag Force Coefficient ใบพัดสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ชนิดใบพัดเดียว Cd=1.16
density of water , 1,000 กก./ลบ.ม.
พืน้ ทีใ่ บพัด 1 ใบ , ตร.ม.
Velocity Comparison Constant กรณีใบพัดสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า K2 = 0.3
รัศมีของการหมุน = ระยะจากปลายใบพัดถึงปลายใบพัด = D , เมตร
2
2
6
ขนาดใบพัดของเครื่อง Jar Test
R=0.0375
0.025 ม.
D = 0.075






n
Cd

A
K2
R
จานวนของใบพัด = 2
Drag Force Coefficient ใบพัดสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ชนิดใบพัดเดียว Cd=1.16
density of water , 1,000 กก./ลบ.ม.
พืน้ ทีใ่ บพัด 1 ใบ = 0.025 x 0.0375 ตร.ม.
Velocity Comparison Constant กรณีใบพัดสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า K2 = 0.3
รัศมีของการหมุน = ระยะจากปลายใบพัดถึงปลายใบพัด = D , เมตร
2
2
7
ขนาดใบพัดของเครื่องจาร์เทสต์
R=0.0375
0.025 ม.
D = 0.075
แทนค่าในสูตร
ความเร็วรอบ
กวนช้า ช่วงที่ 1
กวนช้า ช่วงที่ 2
กวนช้า ช่วงที่ 3
N (รอบ/วินาที)
0.983
0.549
0.345
n (รอบ/นาที)
59
33
20
8
การคานวณอัตราจ่ายสารเคมี
C
Q
 Qp
P
หาอัตราจ่ ายสารเคมีใน
ระบบผลิตจริง
= ปริมาณสารเคมีจากการทดลองจาร์เทสต์ (มก./ลิตร)
= อัตราสูบน้าดิบ (ลบ.ม./ชม.)
= อัตราสูบจ่ายสารละลาย (ลิตร/ชม.)
= ความเข้มข้นของสารเคมีในถังจ่าย (%)
9
การคาดการณ์ปริมาณสารส้มที่ใช้

10
การคาดการณ์ปริมาณสารส้มที่ใช้ (ต่อ)
 กรณีใช้สารส้มเป็ นโคแอกกูแลนท์ในปริมาณไม่สงู กว่า 50 มก./ล.
 C =
ความเข้มข้นของสารส้ม
=
0 – 50 มก./ล.
ถ้าเป็ น Tapered เลือกค่า G* ทีช่ ว่ งกลาง
11
การสร้างตะกอน (Coagulation)
การกวนเร็ว
1. การกวนเร็วในเส้นท่อ (In line static mixer)
2. การกวนเร็วแบบใช้ใบพัดกวน
12
การสร้างตะกอน (Coagulation)
1. การกวนเร็วในเส้นท่อ (In line static mixer)
Criteria
ระยะเวลาทีน่ ้าอยูใ่ นท่อกวนเร็ว (t)
Velocity Gradient (G)
Gt
= 1 – 3 วินาที
= 500 – 1,000 (วินาที)-1
= 350 – 1,500
13
Static Mixer
มี 4 รูปแบบ
1. 2 Element แบบวางสอดกัน
2. 3 Element แบบวางสอดกัน
(ไม่ดี เกิด headloss สูง)
เมือ่ D2 = เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ (ม.)
14
Static Mixer
3. 3 Element แบบวางชนกัน
4. 4 Element แบบวางชนกัน (ยังไม่เคยใช้)
15
Static Mixer (ต่อ)

16
การหาค่า hl จาก กราฟ ระหว่าง velocity (ม./วท.) กับ
headloss across mixer (ม.)
3-element mixer สอดกัน
2-element mixer สอดกัน
PWA 3-element mixer ชนกัน
PWA 4-element mixer ชนกัน
17
การหาค่า hl จาก กราฟ ระหว่าง velocity (ม./วท.) กับ
headloss across mixer (ม.) (ต่อ)
v
= ความเร็วของน้ าผ่านท่อ (velocity) (ม./วท.)
= Q/A
Q
A
=
=
=
=
=
=
โดย
d
V
อัตราการไหลของน้ า (ลบ.ม./วท.)
พืน้ ทีห่ น้าตัดของท่อ (ตร.ม.)
3.143 x d2 / 4
เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ (ม.)
ปริมาตรของน้ าในเส้นท่อ (ลบ.ม)
AxL
โดย
A
= พืน้ ทีห่ น้าตัดของท่อ (ตร.ม.)
L
= ความยาวของ Mixing Chamber (ม.)
18
Static Mixer (ต่อ)

19
การสร้างตะกอน (Coagulation)
2. การกวนเร็วแบบใช้ใบพัดกวน
Criteria
ระยะเวลาทีน่ ้ าอยูใ่ นถังผสม (t)
Velocity Gradient (G)
Gt
กาลังงานทีต่ อ้ งใช้,วัตต์/ลบ.ม.ของถังผสมเร็ว
=
=
=
=
20-60 วินาที
300– 1,500 (วินาที)-1
30,000-60,000
4-8
20
การสร้างตะกอน (Coagulation)
2. การกวนเร็วแบบใช้ใบพัดกวน
หาขนาดของถังผสม
ปริมาตรของถังผสม (v) = อัตราการผลิต (ลบ.ม./ชม.) x เวลา (วินาที) / 3600
หากาลังงานของมอเตอร์ทต่ี อ้ งการใช้
P =
G =
u =
eff =
v =
กาลังงานของมอเตอร์ทต่ี อ้ งการใช้ ,วัตต์
-1
Velocity Gradient
P =, วินาทีuVG2
viscosity = 0.898x10-6 ม2/วท. ที่ 25o
eff/100
ประสิทธิภาพของมอเตอร์กวน , %
ปริมาตรของถังผสม , ลบ.ม.
21
การสร้างตะกอน (Coagulation)
หาความเร็วรอบการหมุนของใบพัดกวน
P =
P =
CD =
A =
 =
1CDAn3
2
กาลังงานของมอเตอร์ทต่ี อ้ งการใช้ ,วัตต์
ค่าสัมประสิทธิ ์ของการถ่วง, สาหรับแผ่นกวนแบบสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า = 1.8
พืน้ ทีร่ วมทุกใบของแผ่นกวน , ตร.ม.
ความหนาแน่นของน้า = 1,000 กก./ลบ.ม.
n = ความเร็วสัมพันธ์ของแผ่นกวน , ม./วินาที = 0.7 เท่าของความเร็วหมุน
n = 0.7 np = 0.7 x 2prN
60
nP = ความเร็วหมุน , ม./วินาที
r = รัศมีของการกวน = ระยะจากกึง่ กลางแกนหมุนถึงปลายใบพัดกวน , เมตร
N = ความเร็วรอบของใบพัดกวน , รอบ/นาที
22
การรวมตะกอน (Flocculation)

23
แบบแผงกัน้ ไหลในแนวระนาบ
24
แบบแผงกัน้ ไหลในแนวระนาบ
25
แบบแผงกัน้ ไหลขึน้ บน-ลงล่าง
26
ถังกวนช้าชนิดท่อแนวดิ่ง
รูปตัด (ตามยาว)
แปลน
รูปตัด (ตามขวาง)
27
ถังกวนช้าชนิดท่อแนวดิ่ง
28
กรณี 1 ถังกวนช้าแบบไหลในแนวระนาบ (around – the – end baffle)
X = ความกวางของแต
ละช
้
่
่ อง
(ม.)
Y = ความยาวของแตละช
่
่ อง (ม.)
แปล
น
รูป
ตัด
h = การสูญเสี ยเฮดแตละช
้ ว
่
่ องเลีย
(ม.)
D = ความลึกของน้าแตละช
่
่ อง
(ม.)
29
กรณี 2 ถังกวนช้าแบบไหลขึน้ บน - ลงล่าง (over – the – under baffle)
แปล
น
X =
ช่อง
Y =
ช่อง
ความกวางของแต
ละ
้
่
(ม.)
ความยาวของแตละ
่
(ม.)
รูป
ตัด
h = การสูญเสี ยเฮดแตละ
่
ช่องเลีย
้ ว (ม.)
D = ความลึกของน้าแตละ
่
ช่อง (ม.)
30
ความปัน่ ป่ วน (G) ในถังกวนช้า

31
การปรับปรุงถังกวนช้าชนิดแผงกัน้
1. ชนิดไหลในแนวระนาบ แคบ และยาว (Plug Flow)
G = 20 – 50 (วท.)-1
2. ชนิดไหลในแนวขึน้ บน – ลงล่าง
3. ชนิดไหลในแนวระนาบ ค่า G ลดลงตามความยาวของถัง (Tapered)
ให้ลดค่า G ในอัตราประมาณ 2 : 1
G
=
10 – 70 (วท.)-1 (เช่น 50, 30, 10 หรือ 60, 40, 20)
Gavg
=
30 – 40 (วท.)-1
ถ้า
G มากเกินไป ให้ลดค่า hl
G น้อยเกินไป ให้เพิม่ ค่า hl
32
การปรับปรุงถังกวนช้าชนิดแผงกัน้ (ต่อ)
1. ชนิดไหลในแนวระนาบ แคบ และยาว (Plug Flow) K = 3.2
2. ชนิดไหลในแนวขึน้ บน – ลงล่าง
K = 3.2
3. ชนิดไหลในแนวระนาบ
ค่า K
=
สาหรับการไหลในช่องทางตรง = 1.0
K
=
สาหรับการไหลในช่องทางวกกลับ = 1.4
33
การปรับปรุงถังกวนช้าชนิดแผงกัน้ (ต่อ)
โดยที่
= ความเร็วของน้าผ่านช่องเปิด (ม./วท.)
w = ความกว้างของช่องเปิด (ม.)
D = ความลึกของน้า (ม.)
Q = อัตราการผลิต (ลบ.ม./วท.)
การปรับเปลีย่ นความกว้างของช่องเปิดจะมีผลต่อการเกิด headloss (hl)
ถ้า ช่องเปิด กว้าง v ผ่านช่องเปิดจะน้อย
hl จะน้อย G จะน้อย
34
ถังกวนช้าชนิดท่อแนวดิ่ง (ต่อ)

35
ถังกวนช้าชนิดท่อแนวดิ่ง (ต่อ)
การหา headloss (hl) และปริมาตรของน้าในถังช่วงกวนช้า (V)
Volume
แปลน
รูปตัด
36
การปรับปรุงถังกวนช้าชนิดท่อแนวดิ่ง

37
การหา hl ภายในเส้นท่อ
โดยที่
K = สัมประสิทธิการสู
์ ญเสีย
K เข้า = 0.50, K ออก = 1.00
v = ความเร็วของน้ าในท่อ = Q/A (ม./วินาที)
Q = อัตราการไหล (ลบ.ม./วินาที)
A = พืน้ ทีห่ น้าตัดท่อ = 3.143 x d2 / 4
D = ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ (ม.)
g = 9.81 ม./วินาที2
38
การหา hl ภายในเส้นท่อ (ต่อ)
โดยที่ Q
=
อัตราการไหล
(ลบ.ม./ชม.)
C
=
สัมประสิทธิความเสี
ยดทานในท่อ ขึน้ กับชนิดท่อ
์
เมือ่ C = ท่อเหล็ก = 100 – 110 , ท่อ PVC = 130 - 140
D
=
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ (ม.)
L
=
ความยาวของท่อ (ม.)
39
ถังตกตะกอน (sedimentation)
ชนิดของถังตกตะกอน
1. ถังตกตะกอนแบบไม่ตดิ ตัง้ tube settler
2. ถังตกตะกอนแบบติดตัง้ tube settler
Criteria








ลักษณะของถังตกตะกอน
: ถังตกตะกอนสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ไหลทางเดียวตามแนวนอน
จานวนของถังตกตะกอน
: ไม่น้อยกว่า 2 หน่วย
ความยาวต่อความกว้าง (ต่าสุด)
: 4:1
ความยาวต่อความลึก (ต่าสุด)
: 15 : 1
ความลึกของถัง
: ไม่น้อยกว่า 3 เมตร (ไม่รวมความลึกของชัน้ ตะกอนสะสม)
ระยะเวลาทีน่ ้ าอยูใ่ นถังตกตะกอน
: 1.5 – 3.0 ชัวโมง
่
อัตราน้ าล้นผิว (surface loading)
: 1.0 – 2.0 เมตร/ชัวโมง
่
ความเร็วของน้ าในแนวนอน
: 0.3 – 1.0 เมตร/นาที
(mean flow velocity : area  = กว้าง x ลึก)
 อัตราน้ าล้นฝาย (weir loading)
: ไม่มากกว่า 12 ลูกบาศก์เมตร/เมตร/ชัวโมง
่
40
1. ถังตกตะกอนแบบไม่ติดตัง้ Tube Settler

v0
41
1. ถังตกตะกอนแบบไม่ติดตัง้ Tube Settler (ต่อ)

42
Reynolds Number (Re)

v0
43
Froude Number (Fr)

44
1. ถังตกตะกอนแบบไม่ติดตัง้ Tube Settler (ต่อ)

45
2. ถังตกตะกอนแบบติดตัง้ Tube Settler
Figure 3.2.5-11 Requiredtank depth for tube settler installation p.168
Susamu Kawamura, Integrated design and operation of water treatment facilities - 2nd ed.
1.ระยะการติดตัง้ tube settler ไมเกิ
ง
่ น 75% จากทายถั
้
เพือ
่ ให้หัวถังมีระยะ
การตกตะกอนของ floc หนัก และมีช่องให้ลงไป
ทาความสะอาดถัง
2.การติดตัง้ รางรับน้า ต้องติดตัง้ ให้คลุมความยาวของ
tube settler
46
2. ถังตกตะกอนแบบติดตัง้ Tube Settler (ต่อ)
Figure 3.2.5-15 Element of tube settler p.181
Susamu Kawamura, Integrated design and
operation of water treatment facilities - 2nd ed.
โดยที่ S0
=
ความเร็วใน
การตกตะกอน (ม./ชม.) (1-2)
Q = อัตราการไหล (ลบ.ม./ชม.)
A = พืน
้ ทีต
่ ด
ิ ตัง้ Tube Settler
ตามแนวพืน
้ ทีผ
่ วิ ของถัง
(ตร.ม.)
W = ความกวางของช
้
่ อง Tube
Settler
h = ความลึกของ Tube
Settler
47
2. ถังตกตะกอนแบบติดตัง้ Tube Settler (ต่อ)
Table 3.2.5-1 Setting Velocities of Particles (at 10 oC) and Compatible Hydraulic Surface Loading Rates of Sedimentation Tanks
Compatible Tank Surface
Particle Size
Settling Rate
Loading
Approximate
Specific Gravity
Mesh
mm
mm/s
fpm
m/h
gpm/ft2
Sand
2.65
18
1.0
100
19.7
360
144
Sand
2.65
20
0.85
73
14.3
263
105
Sand
2.65
30
0.6
62
12.2
223
89
Sand
2.65
40
0.4
42
8.2
151
60
silt
2.65
70
0.2
2
4.1
76
30
Silt
2.65
100
0.15
15
3.0
54
22
Silt
2.65
140
0.10
8
1.6
29
12
Silt and clay
2.65
200
0.03
6
1.2
22
9
Silt and clay
2.65
230
0.06
3.8
0.75
14
5.6
Silt and clay
2.65
400
0.04
2.1
0.41
7.5
3
Clay
2.65
-
0.02
0.62
0.12
2.3
0.9
Clay
2.65
-
0.01
0.154
0.03
0.54
0.2
Alum floc
1.001
-
1–4
0.2 – 0.9
0.04 – 0.18
0.71 – 3.3
0.3 – 1.3
Lime floc
1.002
-
1-3
0.4 – 1.2
0.8 – 0.23
1.5 – 4.3
0.6 – 1.7
Type of Particle
48
Reynolds Number (Re)

49
Reynolds Number (Re) (ต่อ)

50
Froude Number (Fr)

51
องค์ประกอบของถังตกตะกอน
1.
ทางน้ าเข้า
กระจายน้ าให้ไหลเข้าสูถ่ งั ตกตะกอนด้วย v สม่าเสมอทุกจุด ป้องกันการเกิด
Density Current ควรให้ถงั กวนช้า และถังตกตะกอนเป็ นถังร่วมกัน โดยออกแบบเป็ น
Diffuser Wall และเจาะรูกระจายน้ า โดยให้ v น้ าผ่านรู น้อยกว่า 0.15 ม./วท.
2. ทางน้ าออก
กระจายน้ าให้ออกจากถังตกตะกอนด้วย v สม่าเสมอ ไม่ดงึ น้ าออกจากถังบริเวณใด
มากเกินไป จะทาให้ v บริเวณนัน้ สูง และควบคุมระดับน้ าในถังตกตะกอน โดย weir loading
rate ไม่ควรเกิน 12 ลบ.ม./เมตร-ชม.
3. ระบบระบายตะกอน
3.1 พืน้ ถังตกตะกอนเป็ นพืน้ ราบ มีความลาดเอียงประมาณ 1% กวาดตะกอนลงไปหา
หลุมตะกอนบริเวณหัวถัง โดยใช้เครือ่ งกวาดตะกอน
3.2 พืน้ ถังตกตะกอนเป็ นหลุมตะกอน มีความลาดเอียง (slope) ของผนังหลุมไม่น้อยกว่า
45 – 60o เพือ่ ให้ตะกอนไหลลงไปทีก่ น้ หลุม และระบายออกทางท่อ ทีต่ ดิ ตัง้ ที่
ก้นหลุม โดยการเปิดประตูน้ า
52
องค์ประกอบของถังตกตะกอน
เครื่องกวาดตะกอน
1. แบบไฮโดรลิค (Hydraulic Sludge Collector )
2. แบบไซฟ่ อน (Siphon Sludge Collector)
3. แบบโซ่ (Chain Sludge Collector)
53
เครื่องกวาดแบบไฮโดรลิค
54
เครื่องกวาดแบบไซฟ่ อน
55
เครื่องกวาดแบบไซฟ่ อน
56
เครื่องกวาดแบบโซ่
57
ถังกรองน้า (Filtration)
Criteria
ลักษณะการกรองน้ า :
ถังทรายกรองเร็วด้วยแรงโน้มถ่วง
จานวนของถังกรองน้า :
ไม่น้อยกว่า 2 หน่วย
อัตราการกรอง
:
ไม่มากกว่า 7 ลบ.ม./ตร.ม.-ชม.
วัสดุทรายกรอง (Filter sand)
 ขนาดของทรายกรอง (Effective size)
:
0.55 – 0.75 มม.
สัมประสิทธิ ์ความสม่าเสมอ
(Uniformity Coefficient)
:
ไม่มากกว่า 1.5
ความหนาของชัน้ กรอง
:
ไม่น้อยกว่า 600 มิลลิเมตร
การทาความสะอาดวัสดุกรอง (Filter Cleaning)
อัตราการล้างย้อน (Backwash)
:
ไม่น้อยกว่า 40 ม./ชม.
อัตราการล้างผิวหน้าทราย (Surfacewash)
:
ไม่น้อยกว่า 7.5 ม./ชม.
Jet Velocity
:
6 – 7 ม./วท.
58
อัตราการกรองน้า
คิดจากพืน้ ทีก่ ารกรองบริเวณทรายกรอง
อัตราการกรอง (Filtration Rate) =
Q/A
(ลบ.ม./ตร.ม.-ชม.)
Q
=
อัตราการผลิต (ลบ.ม./ชม.)
A
=
พืน้ ทีท่ รายกรองรวมทุกถัง (ตร.ม.)
ชัน้ ทรายกรอง
ชัน้ ทรายกรอง
59
Table 5.2.7-1 Types of Medium and Applications
Filter Medium
Type of Filter
Medium Design Criteria
Fine sand
Slow sand filter 0.13 – 0.42 m/h Effective size : 0.25 – 0.35mm.
Uniformity coefficient : 2 – 3
(filtration rate)
Depth : 1.0 – 1.2 m
S.G. > 2.63
Medium sand
Rapid sand filters 5 – 7.5 m/h
(filtration rate)
Effective size : 0.45 – 0.65mm.
Uniformity coefficient : 1.4 –1.7
Depth : 0.6 – 0.75 m
S.G. > 2.63
Coarse sand
High – rate filters 10 – 30 m/h
(filtration rate)
Effective size : 0.8 – 2.0 mm.
Uniformity coefficient : 1.4 –2.0
Depth : 0.8 – 2.0 m
S.G. > 2.63
60
Table 5.2.7-1 Types of Medium and Applications (ต่อ)
Filter Medium
Multimedia
coal sand
dual or coalsand-garnet
trimedia
Type of Filter
High rate filters 10 – 25 m/h
(filtration rate)
Medium Design Criteria
Sand
Effective size : 0.45 – 0.65 mm.
Uniformity coefficient : 1.4 –1.7
Depth : 0.3 m
Anthracite coal
Effective size : 0.9 – 1.4 mm.
Uniformity coefficient : 1.4 –1.7
Depth : 0.45 m
S.G. > 1.5 to 1.6
Garnet
Effective size : 0.25 – 0.3 mm.
Uniformity coefficient : 1.2 –1.5
Depth : 0.0075 m
S.G. > 4.0 – 4.1
61
การหาความหนาของชัน้ ทราย
l/de
1000
1250
1250 to 1500
1500 to 2000
for ordinary monosand and dual-media beds
for regular trimedia (coal, sand, and granet) beds
for most coarse deep monomedium beds
(de is 1.2 to 1.4 mm)
for very coarse monomedium beds
(de is 1.5 to 2.0 mm)
l = ความหนาของชัน้ ทราย (มม.)
de = ขนาดของเม็ดทราย (effective size) (มม.)
62
การหาตาแหน่ งของรางรับน้า
S
S
P
L =
ความลึกของชัน้ สารกรอง
P =
ความลึ
H0 กราง
H0 =
ความสูงจากผิวทรายกรองถึงขอบบนของราง
ชัน้ สารกรอง
S = (ทราย)
ระยะระหว่างกึง่ กลางรางถึLงกึง่ กลางราง
กรวดกรอง
63
ถังกรองน้า (Filtration) (ต่อ)
h2c Hc
h1c
h1c
h2c
=
initial headloss ภายในถังกรอง
=
=
headloss ผ่านชัน้ ทราย + กรวด + underdrain +ท่อน้ าใส+ประตูน้ าใส
0.30 – 0.45 ม. (ทีท่ รายกรองเร็ว อัตราการกรอง 5 – 7.5 ม./ชม.)
(ดูตาราง)
Available headloos
2.5 – 3.0 ม.
=
~
64
Table : Initial headloss across the common filter bed at 60 oF
Filtration Rate
Headloss
gpm/ft2
m/h
ft
m
2
5
1.0
0.3
Regular rapid sand
3
7.5
1.45
0.45
Regular rapid sand
4
10
1.0
0.3
Standard dual media
6
12.5
1.45
0.45
Standard dual media
8
20
1.9
0.58
Standard dual media
10
25
2.45
0.75
Standard dual media
Type of Filter Bed
65
ถังกรองน้า (Filtration) (ต่อ)
ถ้า h1c มากเกินไป จะทาให้ระยะเวลาการกรองน้าสัน้ ลง เกิดจาก
1. ทรายกรองมีขนาดเล็กเกินไป
ทีอ่ ตั ราการกรอง ~ 5 – 7.5 ม./ชม. ES. = 0.45 – 0.65 มม.
2. Underdrain มีการตันเกิดขึน้ หรือเพิม่ กาลังการผลิตโดยไม่ได้ปรับปรุง
ขนาดรูเจาะของ Underdrain
3. ท่อน้าใสมีการอุดตัน หรือประตูน้าใสชารุดเปิดได้บางส่วน
* ถ้า weir ท้ายน้ายกสูงเกินไป จะทาให้ระยะเวลาการกรองน้าลดลง
เนื่องจาก available headloss เหลือน้อย ปกติจะกาหนดระดับสัน weir อยูท่ ร่ี ะดับ
หน้าทราย
66
อัตราการล้างย้อนที่เหมาะสม (Backwash)
1. หาจากกราฟ ขนาดสารกรอง (d 60%) และ อัตราการล้างย้อน (ม./นาที)
d 60% = ES x Uc
2. สารกรองเป็ นทรายขนาด (Effective Size) ES = 0.45 – 0.65 มม.
อัตราการล้างย้อน ~ 40 – 60 ลบ.ม./ตร.ม.-ชม.
อัตราการล้างย้อน (ลบ.ม./ชม.) =อัตราการล้างย้อน (จากข้อ 1 หรือ 2 ) (ลบ.ม./ตร.ม.-ชม.)
x พืน้ ทีท่ รายกรอง 1 ถัง (ตร.ม.)
โดยใช้
1. หอถังสูง สูงไม่น้อยกว่า 15 ม.
2. เครือ่ งสูบน้า head ~ 15 ม.
67
Backwash rate (m/min) . Rise rate
Appropriate filter backwash rate at water temperature of 20 oC (68 oF)
68
การล้างหน้ าทราย
อัตราการล้างหน้าทราย
=
7.2 – 9.6 ลบ.ม./ตร.ม.-ชม.
อัตราการล้างหน้าทราย (ลบ.ม./ชม.) = อัตราการล้างหน้าทราย (ลบ.ม./ตร.ม.-ชม.)
x พื้นทีท่ รายกรอง 1 ถัง (ตร.ม.)
โดยใช้
1. หอถังสูง
2. เครือ่ งสูบน้า
สูงไม่น้อยกว่า 25 ม.
head ~ 25 ม.
69
อายุของชัน้ กรอง (Filter Run)
 อายุของการกรองน้า ~ 18 – 36 ชม.
 สัน้ เกินไป
 นานเกินไป
- เสียเวลา เปลืองน้ าล้าง
- เกิดปฎิกริ ยิ าเคมี และชีวะบนผิวกรอง
การตกผลึกของหินปูน, เหล็กเฟอร์รคิ สลายตัวเป็ นเหล็กเฟอรัส
โดยแบคทีเรียทีใ่ ช้ O2 , การเกิดสาหร่ายสีเขียว
- ผลิตน้ าได้น้อยกว่าเครือ่ งกรองทีล่ า้ งวันละครัง้
70
การหมดอายุของชัน้ กรอง
1. น้าทีผ่ า่ นกรองขุน่ เกินกว่าเกณฑ์ (> 5 NTU)
2. ระดับน้าในถังกรองสูงจนถึงระดับสูงสุด
(สูงเกินเส้น Available Head)
71
การหมดอายุของชัน้ กรอง (ต่อ)

Effluent
Solids
concentration
72
การเก็บตัวอย่างทรายที่ความลึกต่างๆ
Depth from top of bed (cm)
เก็บตัวอย่างทรายทีค่ วามลึกต่างๆ
5, 10, 20, 30, 40, 50, 60 cm จากผิวทราย เพือ่ วัดค่าความขุน่ ก่อน และหลังล้างย้อน
เพือ่ ดูประสิทธิภาพการล้างย้อน
73
Negative Pressure
74
อาการ สาเหตุ และการแก้ไข
อาการ
สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ ได้
การแก้ไข
ถังตกตะกอน (Sedimentation Tank)
1. เกิดการลอยตัวของตะกอนบนผิวน้ า
1. pH ของน้ าต่าเกินไป
อาการ
ลักษณะเป็ นตะกอนเม็
ดใหญ่สาเหตุ
แตกกระจายและการแก้ไข
ทัวไป
่ ชัน้ ตะกอนลอย
(sludge blanket rise)
1. ตรวจวัดค่า pH ของน้ าดิบ ถ้า < 6 ต้องเพิม่
ค่า pH โดยกรเติมปูนขาวในน้ าจนได้ค่า pH
ประมาณ 7.2
2. อัตราการไหลของน้ าดิบเข้าถังตกตะกอนสูง 1. ปรับวาล์วก่อนเข้าถังตกตะกอนไม่ให้ เกิน
เกินไป
กว่าทีอ่ อกแบบไว้
3. ตะกอนเกินขึน้ เร็วมากเกินไป คืออัตราการ
ระบายตะกอน (sludge draw off flow rate)
ไม่เพียงพอ
1. เพิม่ อัตราการระบายตะกอนออกจากถังให้
น า น ขึ้ น แ ล ะ ถี่ ขึ้ น ด้ ว ย มื อ (manual)
เพือ่ ทีจ่ ะได้กาจัดตะกอนเร็วขึน้
4. ร ะ บ า ย ต ะ ก อ น อ อ กจ า ก ถั ง ไ ด้ ไ ม่ ห ม ด 1. ซ่อมแซมอุปกรณ์ของเครื่องกวาด
เนื่องจาก
ตะกอนให้สามารถใช้งานได้
- เครื่องกวาดตะกอนเสีย
2. ปรับปรุงความลาดชันของหลุมตะกอนให้มี
- หลุมตะกอนมีความลาดชันน้อย
ความลาดชันไม่น้อยกว่า 45 – 60 องศา
3. หากตะกอนมีการสะสมมากเกินกว่าครึ่งถัง
ให้ทาการปิดล้างถัง
75
อาการ สาเหตุ และการแก้ไข
อาการ
สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ ได้
การแก้ไข
1. เกิดการลอยตัวของตะกอนบนผิวน้ า
5. ทีร่ วมตะกอน (Concentrator) เต็ม เนื่องจาก 1. ให้ตรวจดูอตั ราการไหลของวาล์วแต่ละตัว
ลักษณะเป็ นตะกอนเม็ดใหญ่แตกกระจาย
- ท่อน้ าทิง้ (draw off pipe) อุดตัน
ถ้าจาเป็ นให้ระบายน้ าใน
ทัวไป
่ ชัน้ ตะกอนลอย
- วาล์วน้ าทิง้ (draw off valve) ทางาน
ถังตกตะกอนจากท่อทีไ่ ม่มกี ารอุดตัน
(sludge blanket rise) (ต่อ)
ผิดปกติ
2. ให้ตรวจสอบระบบควบคุมอัตโนมัตแิ ละ
ตรวจดูการทางานของวาล์ว
6. ค่า pH ของน้ าในถังตกตะกอนในแต่ละโซน
แตกต่างกัน
1. ตรวจดูการเติมสารเคมี
2. ให้ตรวจว่าไม่มกี ารรวมตัวของตะกอนใน
โซนใดมากกว่ากัน ถ้ามีให้ทาการระบายทิง้
และทาความสะอาดถัง
2. ลักษณะตะกอนเม็ดเล็กๆกระจายทัวไป
่
1. ปริมาณการเติมสารส้ม หรือ PACl น้อย
เกินไป
1. เพิม่ อัตราการสูบจ่ายสารส้ม หรือ PACl ให้
มากขึน้ ตามผลการทา Jar Test หรือ
2. เพิม่ ความเข้มข้นของสารส้ม หรือ PACl ให้
มากขึน้
3. เกิดตะกอนลอยบริเวณด้านขอบถัง
1. ขอบถังตกตะกอนดูดความร้อนจากแสงแดด 1. อาการจะหายไปเองเมื่อแสงแดดเปลีย่ น
ทาให้อุณหภูมขิ องน้ าในถังตกตะกอนทีร่ ะดับ
ทิศทาง หรือป้องกันโดยใช้สที าทีต่ วั ถังด้วย
ต่างๆแตกต่างกันทาให้ตะกอนเกิดการ
สีออ่ นๆ เพือ่ ลดการดูดความร้อน
ขยายตัว
76
อาการ สาเหตุ และการแก้ไข
อาการ
สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ ได้
การแก้ไข
4. ลัก ษณะตะกอนลอย มีฟ องอากาศปนอยู่ 1.น้ าดิบมีปริมาณและชนิดสาหร่ายทีก่ ่อให้เกิด 1. เพิม่ อุปกรณ์จา่ ยดินตะกอนเพือ่ สร้างความ
ด้วย
การสังเคราะห์แสงและผลิตก๊าซออกซิเจน
ขุน่ ให้กบั น้ าดิบ
5. น้ าในถังตกตะกอนมีสเี ขียวของสาหร่าย
เกิดขึน้
6. คุณภาพน้ าทีอ่ อกจากถังเปลีย่ นแปลงไป
- ความขุน่
- pH
- ความเป็ นด่าง
- อุณหภูมิ
1. น้ าดิบทีเ่ ข้าถังตกตะกอนมีปริมาณคลอรีน
ไม่เพียงพอ เนื่องจาก
- ปริมาณคลอรีนทีใ่ ส่ น้อยเกินไป
1. ปิดวาล์วไม่ให้น้ าเข้าถังกรองทรายแล้ว
ปรับปริมาณคลอรีนให้เพิม่ มากขึน้ จนกว่า
น้ าจากถังตกตะกอนจะไม่มสี ี
- เครื่องจ่ายคลอรีนเสีย
1. หาทีม่ าของสาเหตุ แล้วแก้ไขตามสาเหตุ
1. คุณภาพน้ าดิบทีเ่ ปลีย่ นแปลง
2. อัตราการจ่ายสารเคมีผดิ พลาด หรือไม่
เหมาะสม
1. ทา Jar Test เพือ่ หาค่า Optimum dose ที่
เหมาะสม
2. ปรับอัตราการจ่ายสารเคมีใหม่ โดยการ
สอบเทียบ (Calibrate) metering pump
ใหม่
77
อาการ สาเหตุ และการแก้ไข
อาการ
สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ ได้
การแก้ไข
7. ค่า pH ของถังตกตะกอนในแต่ละโซน
แตกต่างกัน
1. เกิดจากการรวมตัวของตะกอนในโซนใดโซน 1. ให้ตรวจสอบปริมาณการเติมและจ่าย
หนึ่งในถังมากกว่ากัน
สารเคมี
2. ระบายน้ าทิง้ และทาความสะอาดถัง
8. การไหลลัดทาง (short circuit) คือ
น้ ามีเวลาอยูใ่ นถังตกตะกอนน้อยเกินไป
ส่งผลให้น้ าพาเอาตะกอนแขวนลอยหลุด
ออกไปจากถัง ปจั จัยสาคัญทีท่ าให้เกิด
การไหลลัดทาง ได้แก่ เกิดกระแสความ
หนาแน่น (Density Current) หมายถึง
การไหลในน้ าทีม่ คี วามหนาแน่นแตกต่าง
กัน เกิดจากอุณหภูม,ิ ความขุน่ ,
สารละลาย และกระแสลม
1. อุณหภูมิ
1. ติดตัง้ รางน้ าล้นให้คลุมพืน้ ทีถ่ งั
- น้ าอุน่ มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ าเย็น
- น้ าทีไ่ หลลัดทางจะพาตะกอนให้ฟ้ ุง
น้ าอุน่ จะไหลลัดไปตามผิวน้ าและไหลผ่าน
กระจายออกไปบริเวณปลายถัง
รางรับน้ าท้ายถัง จนออกจากถังไป มักเกิดใน
ควรติดตัง้ รางน้ าล้นเพือ่ รับน้ าใสตรงกลาง
ฤดูรอ้ น เป็ นรุนแรงในเวลาเทีย่ ง
ถัง เนื่องจากเป็ นช่วงทีค่ วามขุน่ ฟุ้งไม่ถงึ
2. ความขุน่
2. ปรับปรุงทางน้ าเข้า
- น้ าทีม่ คี วามขุน่ สูงจะมีความหนาแน่นมาก
- เพือ่ ให้มกี ารกระจายน้ าเข้าถังอย่าง
เมื่อไหลเข้ามาในถังตกตะกอน จะจมลงก้น
สม่าเสมอ (แก้ปญั หาน้ าไหลลัดทางผ่านผิว
ถัง พัดเอาตะกอนฟุ้งขึน้ มา มักเกิดในช่วงฝน
น้ าออกไป โดยติดตัง้ แผ่นกัน้ น้ าเพือ่ บังคับ
ตกหนัก หรือน้ าหลากกระทันหัน
ให้น้ าไหลลงด้านล่าง และกระจายเข้าถัง
3. กระแสลม
อย่างสม่าเสมอ ทัวทั
่ ง้ หน้าตัดถัง
- ถังทีม่ พี น้ื ทีผ่ วิ มาก กระแสลมจะทาให้น้ า 3. ติดตัง้ แผ่นช่วยตกตะกอน เพือ่ ทาให้
ั ่ ว่ น และ
บริเวณผิวถังเคลื่อนที่ เกิดความปนป
การไหลของน้ ามีความหนืดเพิม่ มากขึน้ และ
ไหลลัดออกจากถังเร็วกว่าปกติ
บังคับทิศทางการไหลของน้ าให้ไหลลง
ด้านล่างผ่าน Tube settler แล้วไหลขึน้
ด้านบนถัง
78
อาการ สาเหตุ และการแก้ไข
อาการ
สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ ได้
การแก้ไข
4. ความเค็มหรือสารละลายในน้ า
- น้ าทีม่ สี ารละลายหรือความเค็มในน้ ามาก
จะมีความหนาแน่นสูง ทาให้จมลงก้นถัง และ
พัดเอาตะกอนให้ฟ้ ุงขึน้ มา
ถังกรอง (Filtration Tank)
1. ความขุน่ ของน้ าทีผ่ า่ นถังกรอง มีมากกว่า 1. ถังกรองเริม่ อุดตัน
ทีผ่ า่ นถังตกตะกอน
1. ทาการล้างย้อน
2. ตรวจดูคุณภาพน้ าก่อนเข้าถังกรองและปรับ
สารเคมีให้เหมาะสม
2. อัตราการไหลของน้ าเข้าถังกรองในถังใดถัง
หนึ่ง สูงกว่าทีอ่ อกแบบไว้
1. ปรับอัตราไหลของน้ าเข้าให้เหมาะสม
2. ปรับ/เฉลีย่ น้ าเข้าถังกรองแต่ละถังให้
เท่าๆกัน
3. เกิดการรวมตัวกันเป็ นก้อน (Mud ball) ของ
เม็ดทราย คล้ายลูกบอล
1. เกิดจากการล้างทรายกรองไม่สะอาด ให้
ปรับปรุงขัน้ ตอนการล้างย้อนให้ถูกต้อง
2. อัตราไหลของน้ าในการล้างย้อนน้อยเกินไป
ให้ปรับอัตราการล้างย้อนให้เหมาะสม
79
อาการ สาเหตุ และการแก้ไข
อาการ
สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ ได้
1. ความขุน่ ของน้ าทีผ่ า่ นถังกรอง มีมากกว่า 3. เกิดการรวมตัวกันเป็ นก้อน (Mud ball) ของ
ทีผ่ า่ นถังตกตะกอน (ต่อ)
เม็ดทราย คล้ายลูกบอล (ต่อ)
การแก้ไข
3. ติดตัง้ เครื่องฉีดน้ าล้างหน้าทรายกรอง หรือ
ระบบลม เพือ่ ช่วยให้การล้างย้อนมี
ประสิทธิภาพมากขึน้
4. เลือกขนาดและความสูงของชัน้ กรอง
ผิดพลาด
1. หาอัตราการกรองผ่านถังกรองแต่ละถัง และ
เลือกขนาดของสารกรองให้สอดคล้องกับ
อัตราการกรอง แล้วหาความสูงของสาร
กรองตามขนาดของสารกรองใหม่
5. ความสูงของชัน้ สารกรองลดลงเนื่องจากการ
ล้างย้อน
1. คานวนหาความสูงทีเ่ หมาะสมของชัน้
สารกรอง ตามขนาดสารกรอง และเติมสาร
กรองให้ได้ความสูงตามทีอ่ อกแบบไว้
6. เม็ดตะกอน (Flog) ทีเ่ ข้ากรองมีขนาดเล็ก
มาก ทาให้ลอดผ่านชัน้ กรองได้
1. เตรียมน้ าก่อนเข้ากรอง โดยปรับปริมาณ
การเติมสารเคมีให้เหมาะสม
7. เกิดฟองอากาศอุดตันบริเวณช่องว่างของเม็ด 1. ล้างย้อนให้บอ่ ยกว่าปกติ
ทราย (Air Binding)
2. ออกแบบทางน้ าออกทีส่ ามารถควบคุม
ระดับน้ าในถังกรองให้อยูส่ งู กว่าผิวหน้า
ทรายตลอดเวลา โดยทาเวียร์ (weir) น้ า
ออก หรือทาท่องอรูปตัวยู (goosneck) 80
อาการ สาเหตุ และการแก้ไข
อาการ
2. เกิด headloss ภายในชัน้ กรองมาก
เกินไป หรือระยะเวลาการกรองสัน้ ลง
สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ ได้
การแก้ไข
1. อัตราการไหลของน้ าเข้าถังกรองในถังใดถัง
หนึ่ง สูงกว่าทีอ่ อกแบบไว้
1. ปรับอัตราการไหลของน้ าเข้าถังให้
เหมาะสม
2. ปรับ/เฉลีย่ น้ าเข้าถังกรองแต่ละถังให้
เท่าๆกัน
2. เกิดการรวมตัวกันเป็ นก้อน (Mud ball) ของ
เม็ดทราย คล้ายลูกบอล
1. เกิดจากการล้างทรายกรองไม่สะอาด ให้
ปรับปรุงขัน้ ตอนการล้างย้อนให้ถูกต้อง
2. อัตราไหลของน้ าในการล้างย้อนน้อยเกินไป
ให้ปรับอัตราการล้างย้อนให้เหมาะสม
3. ติดตัง้ เครื่องฉีดน้ าล้างหน้าทรายกรอง หรือ
ระบบลม เพือ่ ช่วยให้การล้างย้อนมี
ประสิทธิภาพมากขึน้
3. เลือกขนาดและความสูงของชัน้ กรอง
ผิดพลาด
1. หาอัตราการกรองผ่านถังกรองแต่ละถัง และ
เลือกขนาดของสารกรองให้สอดคล้องกับ
อัตราการกรอง แล้วหาความสูงของสาร
กรองตามขนาดของสารกรองใหม่
81
อาการ สาเหตุ และการแก้ไข
อาการ
สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ ได้
การแก้ไข
4. เกิดฟองอากาศอุดตันบริเวณช่องว่างของเม็ด 1. ล้างย้อนให้บอ่ ยกว่าปกติ
ทราย (Air Binding)
2. ออกแบบทางน้ าออกทีส่ ามารถควบคุม
ระดับน้ าในถังกรองให้อยูส่ งู กว่าผิวหน้า
ทรายตลอดเวลา โดยทาเวียร์ (weir) น้ า
ออก หรือทาท่องอรูปตัวยู (goosneck)
5. เกิดการอุดตันบริเวณท่อรับน้ าสะอาดใต้ถงั
กรอง (underdrain)
1. ตรวจสอบและปรับปรุงระบบ underdrain
ใหม่
3. ถังกรองไม่สามารถกรองน้ าได้ โดยมีน้ า
ไหลออกทาง over flow ของ
ถังตกตะกอน
1. ชัน้ กรองตัน เนื่องจากมีสงิ่ สกปรกไปอุดตัน
หน้าผิวสารกรองมากเกินไป
1. ล้างถังกรอง
4. ขัน้ ตอนการล้างทาความสะอาด
ถังกรองด้วยน้ าล้างไม่ขน้ึ และมีน้ าไหล
ออกจากถังตกตะกอนทาง over flow
1. ชัน้ กรองตัน เนื่องจากมีสงิ่ สกปรกไปอุดตัน
หน้าผิวสารกรองมากเกินไป
1. ล้างทาความสะอาดให้ถข่ี น้ึ
2. ใช้คราดทาความสะอาด พร้อมกับเปิดน้ า
ล้าง (ในกรณีทว่ี กิ ฤติจริงๆ)
5. การกรองได้แค่ระยะสัน้ ๆ
(short filtration cycle)
1. มีปริมาณสารแขวนลอยในน้ าทีก่ รองแล้วมาก 1. ตรวจดูคุณภาพและปริมาณน้ าทีจ่ ะกรองให้
เกินไป
เหมาะสม
2. เกิดสาหร่ายในถังกรอง
1. ให้ดู Pre-chlorination และตัง้ อัตราการจ่าย
คลอรีนใหม่
82
อาการ สาเหตุ และการแก้ไข
อาการ
สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ ได้
การแก้ไข
3. การล้าง (washing) ไม่เพียงพอ
1. ให้ทาการล้างซ้าหลายๆครัง้ จนสะอาด
6. การสูญเสียทรายระหว่างการล้าง
1. อัตราการไหลของน้ าล้างมากเกินไป
1. ลดอัตราการไหลของน้ าล้าง
2. ตรวจดูวา่ มีการยุบตัวของพืน้ ดินหรือไม่
ถ้ามีให้ปรับระดับพืน้ จนมีระดับทีเ่ ท่ากัน
ก่อน เพือ่ ไม่ให้ถงั กรองเอียงไปด้านใดด้าน
หนึ่ง
7. การสูญเสียทรายระหว่างการกรอง
1. Underdrain เสียหาย (เกิดโพรงระหว่างการ 1. ตรวจดูสภาพ Underdrain และทาการ
ล้าง หรือเกิดฟองอากาศมากกว่าปกติใน
ปรับปรุง
ระหว่างการล้าง)
8. การเปลีย่ นแปลง headloss เมื่อเริม่ เดิน 1. ความเร็วในการกรองเปลีย่ นแปลง
ระบบ
1. ตรวจดูการจ่ายน้ าดิบหรือน้ าหลังการ
ตกตะกอนบนถังกรอง
2. ทรายกรองสกปรก โดยอาจเกิดจากสาหร่าย 1. ล้างย้อนอย่างแรง และเติมคลอรีน ถ้า
หรือสารอินทรีย์
สาหร่ายยังคงปรากฏอยู่
9. เกิดสาหร่ายอุดตันในถังกรอง
1. เกิดจากสาหร่ายทีห่ ลุดออกมาจากถัง
ตกตะกอน
1. ให้ตรวจดูระบบ Pre-chlorination และตัง้
อัตราการจ่ายคลอรีนใหม่
83
84