หน่วยที่ 6 ทรานซิสเตอร์สวิตซ์

Download Report

Transcript หน่วยที่ 6 ทรานซิสเตอร์สวิตซ์

หน่ วยการสอนที่ 6
เรื่อง
ทรานซิสเตอร์ สวิตช์
หัวข้อที่เรี ยน
6.1
6.2
6.3
6.4
6.5
6.6
6.7
การทางานของทรานซิสเตอร์
สวิตช์ ทรานซิสเตอร์ ทางอุดมคติ
สวิตช์ ทรานซิสเตอร์ ใช้ งานจริง
การทางานของสวิตช์ ทรานซิสเตอร์ ใช้ งานจริง
การเพิม่ ความเร็วในการสวิตช์ ทรานซิสเตอร์
สวิตช์ เฟต
สวิตช์ มอสเฟต
ทรานซิสเตอร์
ทรานซิสเตอร์เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซ่ ึงมีรอยต่อของ
สารกึ่งตัวนา pn จานวน 2 ตาแหน่ง จึงมีชื่อเรี ยกอีกอย่างหนึ่ง
ว่า ทรานซิ สเตอร์รอยต่อไบโพลาร์ (Bipolar Juntion
Transistor(BJT))
6.1 การทางานของทรานซิ สเตอร์
ทรานซิสเตอร์ที่ถูกผลิตขึ้นมาใช้งาน มีมากมายหลาย ชนิด หลาย
เบอร์ หลายลักษณะ และหลายรู ปร่ างทาให้ได้คุณสมบัติต่างๆ เฉพาะตัว
ของทรานซิสเตอร์แตกต่างกันไป เช่น ค่าทนแรงดัน ค่าทนกระแส
อัตราขยาย การตอบสนองความถี่ ค่าอิมพีแดนซ์ และย่านการทางานที่
เหมาะสม เป็ นต้น
เมื่อนาทรานซิสเตอร์ ไปต่อวงจรใช้งาน โดยใช้ค่าส่ วนประกอบ
ต่างๆ ของวงจรเป็ นตัวกาหนดย่านการทางาน ทาให้สามารถกาหนด
ลักษณะเฉพาะของวงจรทางานได้ คือ การกาหนดไบอัสให้วงจรต้องเป็ น
เฉพาะตัวทรานซิสเตอร์และวงจรทางาน
กราฟแสดงคุณลักษณะสมบัติของตัวทรานซิสเตอร์
เป็ นกราฟบอกถึงคุณลักษณะการทางานของตัวทรานซิสเตอร์
ด้วยการกาหนดย่านการทางานเฉพาะตัวไป เลือกจุดทางานที่
เหมาะสมมาใช้งาน ทาให้ตวั ทรานซิสเตอร์ทางานได้ถูกต้อง
สภาวะการทางานของทรานซิ สเตอร์ สามารถแบ่งได้เป็ น
3 สภาวะ แสดงด้วยกราฟคุณสมบัติในทางอุดมคติแสดงดังรู ป
ที่ 6.1
รู ปที่ 6.1 กราฟแสดงสภาวะการทางานของตัวทรานซิสเตอร์อุดมคติ
1. ย่านคัตออฟ (Cut Off Region)
เป็ นย่านที่ทรานซิสเตอร์ไม่ทางาน ไม่มีกระแส
ไหล ด้วยการงดจ่ายแรงดันไบอัสให้ที่ขาเบส (B) ทาให้
ไม่มีกระแสเบส (IB) ไหล ส่ งผลให้กระแสคอลเลก
เตอร์ (Ic) หยุดไหลตามไปด้วย
2. ย่านทางาน (Active Region)
เป็ นย่านที่ทรานซิ สเตอร์ทางาน มีกระแสไหลในตัว
ทรานซิสเตอร์ ค่ากระแสคอลเลกเตอร์ (Ic) ไหลเปลี่ยนแปลง
อย่างเป็ นสัดส่ วน ตามการควบคุมการทางานของกระแสเบส
(IB) กราฟในช่วงนี้เป็ นย่านเส้นตรงหรื อย่านเชิงเส้น (Linear)
ย่านนี้สามารถนาไปใช้งานในวงจรขยายสัญญาณได้โดยเลือก
จุดทางานได้ตามต้องการ
3. ย่านอิ่มตัว (Saturation Region)
เป็ นย่านที่ทรานซิสเตอร์ทางานนากระแส
ถึงจุดอิ่มตัว มีแรงดันคอลเลกเตอร์อิมิตเตอร์
(VcE) คงที่ ถึงแม้มีการเปลี่ยนแปลงค่าแรงดัน
ไบอัส ทาให้กระแสเบส (Ic) เปลี่ยนแปลงก็ตาม
การเลือกย่านการทางานของทรานซิสเตอร์ ต้อง
เลือกให้ถูกต้องกับหน้าที่การทางานของตัว
ทรานซิสเตอร์ เช่น นาทรานซิสเตอร์ไปใช้เป็ นสวิตช์
ต้องเลือกจุดทางานที่ยา่ นคัตออฟและย่านอิ่มตัว หรื อ
นาทรานซิสเตอร์ไปใช้ในวงจรขยายต้องเลือกจุด
ทางานที่ยา่ นทางาน เป็ นต้น
คาถาม
ย่านคัตออฟ ของทรานซิสเตอร์สวิตช์คืออะไร
เป็ นย่านที่ทรานซิสเตอร์ ไม่ทางาน ไม่มีกระแสไหล
ย่านทางานของทรานซิสเตอร์สวิตช์ คืออะไร
เป็ นย่านที่ทรานซิสเตอร์ ทางาน มีกระแสไหลในตัวทรานซิ สเตอร์
ย่านอิ่มตัวของทรานซิสเตอร์คืออะไร
เป็ นย่านที่ทรานซิสเตอร์ ทางานนากระแสถึงจุดอิ่มตัว มีแรงดันคอ
ลเลกเตอร์ อิมิตเตอร์ (VcE) คงที่ ถึงแม้มีการเปลี่ยนแปลงค่าแรงดัน
ไบอัส ทาให้กระแสเบส (Ic) เปลี่ยนแปลงก็ตาม
6.2 สวิตช์ทรานซิ สเตอร์ทางอุดมคติ
สวิตช์ทรานซิสเตอร์ทางอุดมคติ (Ideal Transistor
Switch) เป็ นทรานซิสเตอร์ที่ทางานเหมือนสวิตช์ไฟฟ้ า ขณะ
ทรานซิ สเตอร์ทางานค่าความต้านทานในตัวทรานซิสเตอร์
ต่าสุ ด เหมือนช็อตวงจร เป็ นสวิตช์ในสภาวะต่อวงจร (ON)
และขณะทรานซิ สเตอร์ไม่ทางาน ค่าความต้านทานในตัว
ต้านทานซิสเตอร์ สูงสุ ดเหมือนวงจรขาด เป็ นสวิตช์ในสภาวะ
ตัดวงจร (OFF) วงจรสวิตช์ทรานซิสเตอร์ แสดงดังรู ปที่ 6.2
รู ปที่ 6.2 สวิตช์ทรานซิสเตอร์ชนิด NPN ทางอุดมคติ
รู ปที่ 6.3 การทางานของทรานซิสเตอร์สวิตช์ชนิด NPN
ตามการจ่ายไบอัสที่ขา B
ถ้าทรานซิสเตอร์ที่ใช้ในวงจรเป็ นชนิด
PNP ลักษณะการจัดไบอัสให้วงจร สัญญาณ
ที่ได้ และการทางานจะเป็ นตรงข้าม แสดงได้
ดังรู ปที่ 6.4
รู ปที่ 6.4 แสดงสวิตช์ทรานซิสเตอร์ชนิด PNP ทางอุดมคติ
คาถาม
ในสภาวะต่อวงจร (ON) ทรานซิสเตอร์มีลกั ษณะอย่างไร
ขณะทรานซิสเตอร์ทางานค่าความต้านทานในตัวทรานซิสเตอร์ ต่าสุ ด
เหมือนช็อตวงจร
ถ้าทรานซิสเตอร์ที่ใช้ในวงจรเป็ นชนิด PNP ลักษณะการจัดไบอัสให้วงจร
สัญญาณที่ได้ และการทางานจะเป็ นแบบใด
ลักษณะการจัดไบอัสให้วงจร สัญญาณที่ได้และการทางานจะเป็ นตรง
ข้าม
คุณสมบัติของทรานซิสเตอร์ทางอุดมคติเป็ นแบบใด
ทาหน้าที่เป็ นสวิตช์ต่อวงจร (ON) หรื อตัดวงจร (OFF) โดยไม่คานึงถึง
คุณสมบัติอื่นๆ ที่เกิดขึ้นภายในตัวทรานซิสเตอร์
6.3 สวิตช์ทรานซิ สเตอร์ใช้งานจริ ง
สวิตช์ทรานซิสเตอร์ ทางอุดมคติที่กล่าว ถือว่า ตัวทรานซิ สเตอร์ เป็ น
เสมือนสวิตช์ทางไฟฟ้ า ทาหน้าที่อยู่ 2 สภาวะ คือ
ขณะสวิตช์ต่อวงจร(ON) มีกระแส Ic ไหลสูงสุ ดและแรงดันVcE เป็ น 0V
ขณะสวิตช์ตดั วงจร (OFF) กระแส Ic เป็ น 0mA และแรงดัน VCE มีค่า
เท่ากับแรงดัน Vcc โดยไม่คานึงถึงคุณสมบัติอื่นๆ ของตัว
ทรานซิสเตอร์ เช่น ค่ากระแสรั่วไหลในขณะที่ทรานซิ สเตอร์ หยุด
ทางาน และ ค่าแรงดันตกคร่ อมตัวต้านทานในขณะที่ทรานซิ สเตอร์
ทางาน
ทรานซิสเตอร์ที่ถูกนามาใช้งานจริ งเป็ นสวิตช์
ทรานซิสเตอร์ จาเป็ นต้องคานึงค่ากระแสรั่วไหลและค่า
แรงดันตกคร่ อมตัวทรานซิ สเตอร์ เพราะค่าทั้งสองนี้จะมีผล
ต่อการควบคุมการทางานของวงจรทรานซิ สเตอร์ มีผลต่อ
สภาวะการนากระแสและหยุดนากระแสของตัวทรานซิสเตอร์
การศึกษารายละเอียดของตัวทรานซิสเตอร์ทาได้หลายทาง
เช่น ดูคุณสมบัติของทรานซิสเตอร์แต่ละเบอร์
และดูจากกราฟคุณสมบัติการทางานของตัว
ทรานซิสเตอร์ เป็ นต้น การเลือกจุดทางานจะต้องเลือก
ให้ได้ตาแหน่งที่เหมาะสมถูกต้อง กราฟคุณสมบัติของ
สวิตช์ทรานซิสเตอร์ใช้งานจริ ง แสดงดังรู ปที่ 6.5
รู ปที่ 6.5 กราฟคุณสมบัติของสวิตช์ทรานซิสเตอร์ ใช้งานจริ ง
กราฟแบ่งพื้นที่ออกเป็ น 3 ส่ วน แสดงไว้ดว้ ยอักษร A,B,C
พื้นที่ถูกระบายไว้ในส่ วนอักษร A เป็ นย่านการทางานของ
ทรานซิสเตอร์ในสภาวะอิ่มตัว คือ สภาวะที่ทรานซิสเตอร์ถูกควบคุม
ให้ทางานเต็มที่
พื้นที่สีขาวในส่ วนอักษร B เป็ นย่านการทางานของ
ทรานซิสเตอร์ในสภาวะการทางานตามการกระตุน้ ถูกนาไปใช้เป็ น
ย่านขยายสัญญาณแบบคลาส A
พื้นที่ที่ถูกระบายไว้ในส่ วนอักษร C เป็ นย่านการทางานของ
ทรานซิสเตอร์ในสภาวะคัตออฟ คือ สภาวะที่ทรานซิสเตอร์ถูก
ควบคุมให้หยุดการทางาน
โดยทัว่ ไปจะมีค่าประมาณ 0.1 V ถึง 0.5 V
ขึ้นอยูก่ บั ชนิดของสารกึ่งตัวนา ที่ใช้ผลิต
ทรานซิสเตอร์ เช่น
ทรานซิสเตอร์ชนิดซิลิคอน (Si) VCE(sat) = 0.3 V
ทรานซิสเตอร์ชนิดเจอร์เมเนียม (Ge) VCE(sat) = 0.1 V
เป็ นต้น
ที่จุดทางานในตาแหน่งสวิตช์ตดั วงจร (OFF) ในตาแหน่ง
นี้ ขณะที่ขา B ของทรานซิสเตอร์ได้รับแรงดันไบอัสกลับ ไม่มี
กระแสเบส (IB) ไหล แต่ยงั มีกระแสคอลเลกเตอร์ (Ic) ไหล
ภายในทรานซิ สเตอร์เล็กน้อย เป็ นกระแสที่เกิดจากการจ่าย
ไบอัสกลับที่ขา C กับขา B ของทรานซิสเตอร์ เรี ยกกระแสนี้วา่
กระแสคอลเลกเตอร์คตั ออฟ (Collector Cutoff Current) หรื อ
IcBO
กระแส IcBO นี้ เกิดขึ้นเปลี่ยนแปลงค่าตามความ
ร้อนในตัวทรานซิสเตอร์ เมื่อทรานซิสเตอร์ร้อนขึ้นค่า
IcBO จะไหลมากขึ้นตามไปด้วย วงจรสมมูล
(Equivalent Circuit) ของสวิตช์ทรานซิสเตอร์ใช้งาน
จริ งในสภาวะอิ่มตัว แสดงดังรู ปที่ 5.6
รู ปที่ 6.6 วงจรสมมูลของสวิตช์ทรานซิสเตอร์ใช้งานจริ งในสภาวะอิ่มตัว
คาถาม
สภาวะคัตออฟ คือ ?
สภาวะที่ทรานซิสเตอร์ถูกควบคุมให้หยุดการทางาน
สภาวะอิ่มตัว คือ ?
สภาวะที่ทรานซิสเตอร์ถูกควบคุมให้ทางานเต็มที่
ทรานซิสเตอร์ที่ถูกนามาใช้งานจริ งเป็ นสวิตช์ทรานซิสเตอร์จาเป็ นต้อง
คานึงค่าใด ?
ค่ากระแสรั่วไหลและค่าแรงดันตกคร่ อมตัวทรานซิสเตอร์
กระแสที่เกิดจากการจ่ายไบอัสกลับที่ขา C กับขา B ของทรานซิสเตอร์ เรี ยก
กระแสนี้วา่ ?
กระแสคอลเลกเตอร์คตั ออฟ (Collector Cutoff Current) หรื อ IcBO
6.4 การทางานของสวิตช์
ทรานซิสเตอร์ใช้งานจริ ง
สวิตช์ทรานซิสเตอร์ใช้งานจริ ง ขณะ
ทรานซิสเตอร์ทางาน ไม่วา่ ขณะได้รับไบอัสตรง หรื อ
ขณะได้รับไบอัสกลับก็ตาม จะต้องคานึงถึงคุณสมบัติ
ต่างๆ ของตัวทรานซิสเตอร์ดว้ ยเสมอ เพราะว่าค่า
เหล่านี้ มีผลต่อการทางาน และมีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงการทางานของวงจรด้วย
ในการควบคุมให้ทรานซิสเตอร์เปลี่ยนแปลงการ
ทางาน จะเกิดช่วงเวลาในการเปลี่ยนแปลงการทางานขึ้นมา
เกิดเป็ นช่วงเวลาทางาน (Turn - On Time) หรื อ toN และ
ช่วงเวลาหยุดทางาน (Turn - Off Time) หรื อ toFF ขึ้นมา ทาให้
การเปลี่ยนแปลงการทางานของวงจรสวิตช์ทรานซิสเตอร์ เกิด
ความล่าช้า รู ปวงจรและสัญญาณที่เกิดขึ้นจริ ง แสดงดังรู ป
ที่ 6.7
รู ปที่ 6.7 สวิตช์ทรานซิสเตอร์ใช้งานจริ งพร้อมสัญญาณในจุดต่างๆ
ในช่วงเวลาการทางาน (tON) เป็ นช่วงเวลาที่ทรานซิสเตอร์
เปลี่ยนแปลงการทางาน จากสภาวะหยุดนากระแสเป็ นสภาวะ
นากระแส มีระดับแรงดันตกคร่ อมตัวทรานซิสเตอร์ เปลี่ยนแปลงจาก
100% ลดลงมาเหลือ 10%ในช่วงเวลา tON แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน ได้แก่
ช่ วงเวลาหน่ วง (Delay Time; td) เป็ นช่วงเวลาที่แรงดันตกคร่ อมตัว
ทรานซิสเตอร์ลดลงจาก 100% ลงมาเหลือ 90% (เวลา t0 - t1) และ
ช่ วงเวลาเคลือ่ นขึน้ (tr) เป็ นช่วงเวลาที่แรงดันตกคร่ อมตัว
ทรานซิสเตอร์ลดลงจาก 90% ลงมาเหลือเพียง 10 % (เวลา t1 - t2)
ในช่วงเวลาหยุดทางาน (toff) เป็ นช่วงเวลาที่
ทรานซิสเตอร์เปลี่ยนแปลงการทางานจากสภาวะนากระแสเป็ น
สภาวะหยุดนากระแส มีระดับแรงตกคร่ อมตัวทรานซิสเตอร์จาก
0% เพิ่มขึ้นไปถึง 90%ในช่วงเวลา toff แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน ได้แก่
ช่ วงเวลาสะสม (Storage Time;ts) เป็ นช่วงเวลาที่แรงดัน
ตกคร่ อมตัวทรานซิสเตอร์เพิ่มขึ้นจาก 0% เป็ น 10%
(เวลา t3 - t4) และ
ช่ วงเวลาเคลือ่ นลง (tf) เป็ นเวลาที่แรงดันตกคร่ อมตัว
ทรานซิสเตอร์เพิ่มขึ้นจาก 10 % ถึง 90 % (เวลา t4 - t5)
คุณลักษณะสมบัติของสวิตช์ทรานซิสเตอร์ ทั้งเวลาหน่วง (td) เวลา
สะสม (ts) เวลาเคลื่อนขึ้น (tr) และเวลาเคลื่อนลง (tf) จะถูกบอกไว้
ในคู่มือผูผ้ ลิตของบริ ษทั ผลิตทรานซิสเตอร์ ในรู ปคุณสมบัติทาง
ไฟฟ้ า ค่าเวลาทางาน (tON) และค่าเวลาหยุดทางาน (tOFF) หาได้จาก
สมการ ดังนี้
tON =
td + tr ......... (6-1)
tOFF =
ts + tf ........ (6-2)
6.5 การเพิ่มความเร็ วในการสวิตช์
ของทรานซิสเตอร์
การเพิม่ ความเร็ วในการสวิตช์ทรานซิสเตอร์ สามารถทาได้
โดยการเพิ่มกระแสเบส (IB) ให้ขา B ของทรานซิสเตอร์ เพื่อลดค่า
เวลาคงที่ (tr) ลงให้นอ้ ยที่สุด เพราะสภาวะการเปลี่ยนแปลงการ
ทางานของตัวทรานซิสเตอร์จะขึ้นอยูก่ บั ค่าเวลาคงที่ RC ในวงจร
ระหว่างตัวเก็บประจุตรงรอยต่อขา B กับขา C ของทรานซิสเตอร์
(CBC) และตัวต้านทานโหลด (RL) วงจรและวงจรสมมูลของ
ทรานซิสเตอร์ สวิตช์ในสภาวะต่อวงจร (ON) แสดงดังรู ปที่ 6.8
รู ปที่ 6.8 วงจรสวิตช์ทรานซิสเตอร์ในสภาวะต่อวงจร
จากรู ปที่ 6.8 เป็ นวงจรสวิตช์ทรานซิสเตอร์และวงจรสมมูล
ในสภาวะต่อวงจร ในรู ปที่ 6.8 (ข.) แสดงวงจรสมมูลของวงจร
สวิตช์ทรานซิ สเตอร์ ขณะตัวทรานซิสเตอร์ อยูส่ ภาวะต่อวงจร (ON)
ระหว่างขา C และขา B จะแสดงคุณสมบัติเป็ นตัวเก็บประจุ (CBC)
ส่ วนขา B และขา E แสดงคุณสมบัติเป็ นตัวต้านทาน (RBE) แต่
เนื่องจากขา B และขา E ขณะนี้ได้รับไบอัสตรง ค่าความต้านทาน
RBE มีค่าต่ามากเสมือนเป็ น 0 โอห์ม ทาให้เวลาคงที่ (τ) ในการ
ทางานของตัวทรานซิสเตอร์ ข้ ึนอยูก่ บั ค่า RL และ CBC
เขียนเป็ นสมการได้ ดังนี้
ทาว (τ) = RLCBC ........................... ( 6-3)
เมื่อ
ทาว (τ) = ค่าเวลาคงที่
RL
= ความต้านทานโหลด
CBc
= ความจุระหว่างรอยต่อขา B และขา
C ของทรานซิสเตอร์
ถ้าเพิม่ ค่ากระแส IB ให้มากขึ้นทาให้กระแส Ic
ไหลมากขึ้น มีผลต่อช่วงเวลาเคลื่อนขึ้นของการเปลี่ยน
สภาวะทางานของทรานซิสเตอร์ การเพิ่มกระแส IB
ของวงจร ทาได้โดยการปรับลดค่าความต้านทาน R1
ให้นอ้ ยลง แต่การทาเช่นนี้ มีผลต่อช่วงเวลาสะสม (ts)
ที่มีค่าเพิม่ ขึ้น
มีวิธีการอีกวิธีการหนึ่ง ที่สามารถทาให้สวิตช์
ทรานซิสเตอร์ทางานถึงจุดอิ่มตัวได้เร็ วขึ้นโดยไม่เพิม่
เวลาสะสม (ts) ด้วยการใช้ตวั เก็บประจุต่อคร่ อมขนาน
กับตัว R1 เรี ยกตัวเก็บประจุน้ ีวา่ ตัวเก็บประจุเพิ่ม
ความเร็ ว (Speedup Capacitor) การต่อวงจร แสดงดัง
รู ปที่ 6.9
รู ปที่ 6.9 สวิตช์ทรานซิสเตอร์ต่อเพิม่ ตัวเก็บประจุเพิ่มความเร็ ว
รู ปที่ 6.10 กระแส IB ที่เกิดในวงจรสวิตช์ทรานซิสเตอร์เมื่อใส่ C1
รู ปที่ 6.10 กระแส IB ที่เกิดในวงจรสวิตช์ทรานซิสเตอร์เมื่อใส่ C1
6.6 สวิตช์เฟต
การใช้เฟต (FET) มาทาเป็ นสวิตช์สามารถทาได้คล้ายกับ
สวิตช์ทรานซิสเตอร์ คือ ต้องจ่ายไบอัสให้ถูกต้องเหมาะสม
ควบคุมที่ขาเกต (G) ของเฟต ที่แตกต่างกันแล้วแต่ชนิดของ
เฟต เช่น ชนิดเจเฟต (JFET) ขา G เมื่อได้รับไบอัสกลับ
JFET จะหยุดทากระแสเหมือนสวิตช์ตดั วงจร (OFF) ขา G
เมื่อได้รับไบอัส 0 V หรื องดจ่ายไบอัส JFET จะนากระแส
เหมือนสวิตช์ต่อวงจร (ON)
ชนิดดีมอสเฟต (D-MOSFET) การจ่าย
ไบอัสควบคุมที่ขา G ทาได้เช่นเดียวกับ JFET
ส่ วนอีมอสเฟต (E-MOSFET) ขา G เมื่อได้รับ
ไบอัสตรงจะนากระแสเหมือนสวิตช์ต่อวงจร
(ON) และเมื่อได้รับไบอัสกลับจะหยุดนากระแส
เหมือนสวิตช์ตดั วงจร (OFF) สวิตช์ JFET แสดง
ดังรู ปที่ 6.11
รู ปที่ 6.11 สวิตช์ JFET ชนิด N แชนแนล
6.7 สวิตช์มอสเฟต
สวิตซ์มอสเฟต (MOSFET Switch) เป็ นสวิตช์
อิเล็กทรอนิกส์ อีกชนิดหนึ่ง ใช้ MOSFET เป็ นอุปกรณ์
หลักในการทางาน MOSFET ที่ผลิตมาใช้งานมี 2 ชนิด คือ
ดีพลีชนั่ มอสเฟต (D-MOSFET) และเอนฮานส์เมนมอส
เฟต (E-MOSFET) การจ่ายไบอัสควบคุมการทางานให้กบั
MOSFET ทั้งสองแตกต่างกัน สวิตช์ D-MOSFET แสดงดัง
รู ปที่ 6.12
รู ปที่ 6.12 สวิตช์ D-MOSFET ชนิด N แชนแนล
รู ปที่ 6.13 สวิตช์ E-MOSFET ชนิด N แชนแนล
จากรู ปจงหาค่าความถี่คตั ออฟของวงจร
2.2
จากรู ปจงหาค่าความถี่คตั ออฟของวงจร
39
จากรู ปจงหาค่าความถี่คตั ออฟของวงจร
55
จากรู ปจงหาค่าความถี่คตั ออฟของวงจร
60
แบบฝึ กหัดในชั้นเรียน
1. อธิบายการทางานของทรานซิสเตอร์ จากกราฟคุณสมบัตขิ องทรานซิสเตอร์ ในอุดมคติ
2. สวิตช์ ทรานซิสเตอร์ ใช้ งานจริงเมื่อนาไปใช้ งานจาเป็ นต้ องคานึงถึงส่ วนประกอบ
อะไรบ้ าง
3. สภาวะสวิตช์ ของทรานซิสเตอร์ ใช้ งานจริงในการเปลีย่ นสภาวะการทางานของสวิตช์
ทรานซิสเตอร์ จะเกิดค่ าช่ วงเวลา tONและ t OFF อะไรบ้ าง อธิบาย
4. การเพิม่ ความเร็วให้ สวิตช์ ทรานซิสเตอร์ โดยใช้ ตวั เก็บประจุเพิม่ ความเร็วทาได้ อย่ างไร
อธิบาย
5. สวิตช์ เฟตคืออะไร ทางานได้ อย่างไร อธิบาย