การพัฒนาการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลนาหม่อม

Download Report

Transcript การพัฒนาการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลนาหม่อม

การพัฒนาการดูแลผูต้ ิดเชื้อ HIV และ
ผูป้ ่ วยเอดส์ โรงพยาบาลนาหม่อม
รัชนี จันทร์รอด
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
และทีมดูแลผูป้ ่ วยเอดส์ฯ รพ.นาหม่อม
การพัฒนาการดูแลผูต้ ิดเชื้อ HIV และผูป้ ่ วยเอดส์
โรงพยาบาลนาหม่อม
ตั้งแต่ ปี 2546- 2555
ด ้านโครงสร ้าง และรูปแบบการให ้บริการ
2. ด ้านคุณภาพการให ้บริการ
1.
ข ้อมูลปั จจุบัน
-
ผู ้รับบริการคลินก
ิ จานวนทัง้ หมด 40 คน
เพศชาย 19 คน เพศหญิง 21 คน
-
ผู ้ป่ วยรับยาต ้านไวรัส 36 คน
ผู ้ป่ วยเฝ้ าระวัง
4 คน
-
1. ด้านโครงสร้างและรูปแบบการบริการ
คลินิกยาต้ านไวรัสเริ่มให้ บริการเมื่อปี 2546
โดยมีรูปแบบดาเนินการ ดังนี้
ให้บริ การทุกวันพุธ
ผูป
้ ่ วยเริ่ มแรก 5 ราย
มีพยาบาลวิชาชีพ 4 คน จัดเวรหมุนเวียนมา
ให้บริ การ
จ่ายยาโดยเภสัชกร
 สถานที่ให้บริ การที่
OPD
 ห้องตรวจโรค 3 เป็ นห้องตรวจรักษาพยาบาล
 ห้องใต้บน
ั ได : ให้คาปรึ กษา
: เภสัชกรนายาใส่ ตะกร้าถือไปจ่ายยาให้ผปู ้ ่ วย
ปัญหา
- ไม่มีแพทย์ประจาคลินิก
- ผูป้ ่ วยมารับยาไม่ตรงวันนัด
- ผูป้ ่ วยนัง่ คนละมุม
- กลัวความลับเปิ ดเผย
- ไม่มีกิจกรรมกลุ่ม
-
สถานที่คบั แคบ
พยาบาลหมุนเวียนให้บริ การกระทบกับงานประจา
การดาเนินการ
ึ ษาดูงานการจัดบริการคลินก
 ศก
ิ ยาต ้านไวรัส
ที่
โรงพยาบาลควนเนียง โดยทีม เจ ้าหน ้าที่ และผู ้
ื้
ติดเชอ
- คลินก
ิ รพ.ควนเนียงแยกจาก OPD เป็ น
one stop service
- มีแพทย์ประจา
ื้ ทีเ่ ข ้มแข็ง ดาเนินการใน
- มีกลุม
่ ผู ้ติดเชอ
ลักษณะ เพือ
่ นชว่ ยเพือ
่ น หัวอกเดียวกันพูดกัน
เข ้าใจ
จากการดูงานได ้นาแนวทางมาปรับ
รูปแบบการให ้บริการของ รพ.นาหม่อม

้
จัดรูปแบบเป็ น one stop service ใชศาลา
เอนกประสงค์เป็ นสถานทีใ่ ห ้บริการ
 มีแพทย์ประจาคลินก
ิ
(พ.เชาวรัตน์)
 จัดตัง
้ ทีมให ้การดูแลและทีมให ้คาปรึกษา
 จัดทา flow chart การให ้บริการ
 ให ้บริการทุกวันพุธที่ 3 ของเดือน
ื้ ชอ
ื่ กลุม
 ตัง
้ กลุม
่ ผู ้ติดเชอ
่ ฟ้ าหลังฝน
 จานวนผู ้ป่ วยเพิม
่ ขึน
้ เป็ น 25 ราย
การประเมินผลพบปัญหา
 สถานที่ยงั เป็ นที่โล่ง
- ผูป้ ่ วยไม่มารับยาตามนัด จากแบบสอบถาม กลัว
ความลับเปิ ดเผย 92%
 การจัดตั้งกลุ่มไม่ประสบความสาเร็ จ มีผลกระทบต่อการ
ประกอบอาชีพ
การแก้ไข
 ให้คาปรึ กษาเน้นการเก็บความลับของเพื่อน(ทาสัญญาใจ)
 ประสานเครื อข่ายคนทางานด้านเอดส์จงั หวัดขอทีมหนุน
เสริ มมาเป็ นพี่เลี้ยงในการเริ่ มดาเนินการกิจกรรมกลุ่ม
(ความรู ้สึกนึกคิด หัวอกเดียวกัน พูดคุยกันง่ายกว่า)
 ประสาน อบต พมจ.ช่วยเหลือเงินยังชีพ
ผลการดาเนินงาน
จัดตั้งกลุ่มอีกครั้งชื่อเดิม “กลุ่มฟ้ าหลังฝน”
จัดกิจกรรมนอกสถานที่
ผลการดาเนินงาน
 โรงพยาบาลได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก อบต. 4 แห่ ง
แห่งละ 20,000 บาท รวม 80,000 บาท ใช้ในกิจกรรมกลุ่ม
และรณรงค์ป้องกันในอาเภอ
 ผูต้ ิดเชื้อได้รับเบี้ยยังชีพรายละ 500 บาทต่อเดือน
ตลอดชีวติ
 ผูต้ ิดเชื้อได้รับเงินจาก พมจ. รายละ 2,000 บาทต่อปี
 สถานที่ให้บริ การคลินิกประจาเดือนยังเป็ นศาลา
เอนกประสงค์
(ยังไม่ได้แก้ไขปั ญหา)
กลับมาทบทวนกันอีกครั้งในทีมผูใ้ ห้บริ การ
่
ทาอย่างไรกับปั ญหาที่ยงั มีอยู?
ปั ญหาใหญ่เกินกว่าจะแก้ได้หรื อเปล่า?
เนื่องจากเป็ นเรื่ องของโครงสร้าง
“ปัญหาถ้าเรามองว่าเป็ นเรื่ องใหญ่ การแก้ไขก็จะยาก หมดกาลังใจก่อนที่จะ
ลงมือแก้ไข เพราะฉะนั้นเราต้องมองว่ามันเป็ นเรื่ องเล็กๆ ต้องแก้ได้”
พี่กรองกาญจน์ ซึ่งเป็ นพยาบาลหัวหน้าทีมดูแลผูต้ ิดเชื้อในขณะนั้น
บอกกับทีม
เขียนของบประมาณแผ่นดิน (โดยคุณกรองกาญจน์ อธิ เกิด)
 สร้างตึกผูป
้ ่ วยจานวน 5,000,000 บาท
ตึกใหม่ สร้ างเสร็จและเริ่มใช้ งานแล้ว
-
รู ปแบบการให้บริ การในปัจจุบนั คือ
ให้บริ การทุกวันพุธที่ 3
ของเดือน
นาระบบการบันทึกข้อมูล
ด้วย Hosxp มาใช้ในคลินิกบริ การ
บริ การแบบ one stop service
โดยทีมสหวิชาชีพ
มีกิจกรรมกลุ่มทุกครั้งที่มารับบริ การ
-
ปัญหาเรื่ องสถานที่ได้รับการแก้ไข
ผลการพัฒนา

จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผูม้ ารับบริ การที่คลินิก ด้านต่างๆ มีดงั นี้
ความพึงพอใจด้าน
1.ความสะดวกรวดเร็ วในการให้บริ การ
ระดับ
สูง
ร้อยละ
90.17
2.อัธยาศัย การช่วยเหลือ การแต่งกายของ
เจ้าหน้าที่
สูง
97.67
3.สถานที่ให้บริ การ
สูง
96.33
4.ความรู ้เพิ่มเติมที่ได้รับ
สูง
98.24
5.ความสบายใจและความพอใจในการมารับ
บริ การ
สูง
94.67
2. ด ้านคุณภาพการให ้บริการ
โครงการพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลผู ้ติด
ื้ HIV/ เอดส ์ ผู ้ใหญ่และเด็กประเทศ
เชอ
ไทย(HIVQUAL-T) ได ้กาหนดตัวชวี้ ด
ั หลัก
คุณภาพการให ้บริการของสถานบริการไว ้
11 ข ้อ
ปั ญหา
ปั ญหาตัง้ แต่เริม
่ ให ้บริการ
ี้ ด
- การดูแลไม่ครอบคลุมประเด็นตัวชว
ั ที่
หน่วยบริการควรให ้การดูแล
- การจัดเก็บข ้อมูลไม่เป็ นระบบ
แผนการปรับปรุ งคุณภาพการดูแลผูต้ ิดเชื้อ/ผูป้ ่ วยเอดส์
โรงพยาบาลนาหม่อม
การจัดเก็บข้อมูล
- บันทึกข้อมูลออนไลน์ระบบโปรแกรม NAPของ สปสช ให้ครบถ้วน
ถูกต้อง ทันเวลา
- ใช้โปรแกรม HIVQUAL-T เป็ นหลักในการพัฒนาคุณภาพการ
ให้บริ การ
- กาหนดแบบฟอร์มในการรวบรวมข้อมูลที่ชดั เจนก่อนการลงข้อมูลใน
โปรแกรม HIVQUAL-T
การดาเนินงาน
 บันทึกข้อมูลการให้บริ การในโปรแกรม HIVQUAL-T และทา
การประเมินผล
ผลการวัด HIVQUAL-T ปี 2552
ตัวชวี้ ัด
1.ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV รายใหม่ที่ได้รับการ
ตรวจ CD4 baseline
2. ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ที่รับยาต้านไวรัส
ครบ 6 เดือนขึ้นไปได้รับการตรวจติดตาม CD4 ทุก 6
เดือน
3. ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ที่มีขอ้ บ่งชี้ได้รับยา
ต้านไวรัส
4. ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ที่กินยาต้านไวรัส
นานมากกว่า 6 เดือนได้รับการตรวจ VL อย่างน้อย 1
ครั้งต่อปี
เป้ าหมาย ผลลัพธ์
100
100
90
75
100
100
90
26.9
ตัวชวี้ ัด
เป้ าหมาย
ผลลัพธ์
5. ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ที่ได้รับยาต้าน
ไวรัสได้รับการติดตาม adherence สม่าเสมอ
6.ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ที่มีขอ้ บ่งชี้ได้รับ
ยาป้ องกัน PCP
7.ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ที่มีขอ้ บ่งชี้ได้รับ
ยาป้ องกัน crypto.
8.ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ได้รับการตรวจ
คัดกรอง TB
100
100
90
90
90
80
90
100
ตัวชวี้ ัด
เป้ าหมาย
ผลลัพธ์
9.ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV รายใหม่ได้รับ
การตรวจคัดกรอง VDRL
100
0
10.ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV เพศหญิง
ได้รับการคัดกรองมะเร็ งปากมดลูก
70
5
11.ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ได้รับข้อมูล
คาแนะนาเรื่ องการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
100
100
จากการวัด HIVQUAL-T ปี 2552
พบว่าตัวชี้วดั หลักที่ไม่ได้ตามเป้ าหมายคือ
ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ที่รับยาต้านไวรัสครบ 6
เดือนขึ้นไปได้รับการตรวจติดตาม CD4 ทุก 6 เดือน (75%)
ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV ที่กินยาต้านไวรัสนาน
มากกว่า 6 เดือนได้รับการตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี
(26.9%)
ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV รายใหม่ได้รับการตรวจคัด
กรอง VDRL (0%)
 ร้อยละของผูป้ ่ วย/ผูต้ ิดเชื้อ HIV เพศหญิงได้รับการคัดกรอง
สาเหตุของปั ญหา
 การวางแผนการตรวจทาง
ห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารของผู ้ป่ วยแต่ละรายไม่
ครอบคลุม
การแก ้ไข
จัดทารายการการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการที่ผปู้ ่ วย
แต่ละรายต้องได้รับตามสิ ทธิ สปสช. และ
มาตรฐานคุณภาพการบริ การ HIVQUAL-T ได้แก่
ผูป้ ่ วยรายใหม่ ประกอบด้วย BUN/Creatinine,
1.
LFT, CBC, HBsAg, Lipid profile, VDRL,
FBS, Chest X-ray, HCV, AFB 3 วัน, CD4
Lab ชุดเล็ก ประกอบด้วย BUN/Creatinine, LFT,
CBC, Lipid profile, FBS, CD4
Lab ชุดใหญ่ ประกอบด้วย Lab ชุดเล็ก+Viral Load,
pap smear, VDRL
2. จัดทาแผ่นป้ ายติดหน้า OPD
card
แจ้งเจ้าหน้าที่ผใู้ ห้บริ การทราบว่าผูป้ ่ วยแต่ละรายที่มา
รับบริ การต้องเจาะเลือดหรื อไม่? ชุดใหญ่หรื อชุด
เล็ก?
3. ผูป้ ่ วยแต่ละรายต้องทราบแผนการเจาะเลือดของ
ตนเอง
4. มีระบบการเตือนย้าก่อนการตรวจเลือดโดยสมาชิก
แกนนาผูต้ ิดเชื้อ
ผลการวัด HIVQUAL-T ปี 2555
ตัวชี้วดั
เป้ าหมาย ปี งบ 2552
ปี งบ 2553
ปี งบ 2554
ปี งบ2555
1.ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV รายใหม่ ที่
ได้ รับการตรวจCD4 Baseline
100
100
100
100
100
2. ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV ที่รับยา
ต้ านไวรัสครบ 6เดือนขึน้ ไปได้ รับการตรวจ
CD4 ทุก 6 เดือน
90
75
80
93.33
100
3. ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV ที่มีข้อ
บ่ งชี้ได้ รับยาต้ านไวรัส
100
100
100
100
100
4 ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV ที่กนิ ยา
ต้ านไวรัสนานมากกว่า 6 เดือน ได้ รับการ
ตรวจ VLอย่ างน้ อย1 ครั้ง/ปี
90
26.9
96
100
100
5. ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV ที่ได้ รับ
ยาต้ านไวรัส ได้ รับการประเมินติดตาม
Drug Adherene
100
100
100
100
100
6. ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV ที่มีข้อ
บ่ งชี้ได้ รับยาป้ องกัน pcp
90
90
100
100
100
ตัวชี้วดั
เป้ าหมาย
ปี งบ 2552
ปี งบ 2553
ปี งบ 2554
ปี งบ2555
7.ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV ที่มีข้อ
บ่ งชี้ได้ รับยาป้ องกัน CRYPTO
90
80
100
100
100
8. ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV ได้ รับ
การตรวจคัดกรอง TB
90
100
100
100
100
9. ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV ราย
ใหม่ ได้ รับการตรวจ VDRL
100
0
100
100
100
10. ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV เพศ
หญิงได้ รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปาก
มดลูก
70
5
66.67
100
100
11. ร้ อยละของผู้ป่วย/ผู้ตดิ เชื้อHIV ที่
ได้ รับข้ อมูลคาแนะนาเรื่องการมี
เพศสัมพันธ์ อย่ างปลอดภัย
100
100
100
100
100
12. ร้ อยละหญิงคลอดที่ตดิ เชื้อ HIV
<3
2.5
2.27
0
0
ปั จจุบน
ั
-
-
-
ผูป้ ่ วยที่ CD4 น้อยกว่า 200 มีจานวน 3 คน ได้รับยา Bactrim
วันละ 2 เม็ด ป้ องกัน PCP
ผูป้ ่ วยที่ CD4 น้อยกว่า 100 มีจานวน 1 คน ได้รับยา
Fluconazole 200 mg. สัปดาห์ละ 2 เม็ด ป้ องกัน
Cryptococcus maningitis
มีผปู ้ ่ วยรับเชื้อดื้อยา มา 1 คน ได้เปลี่ยนเป็ นสูตรดื้อยา ปัจจุบนั VL <20
การพัฒนาที่ทาต่อเนื่อง
 มีการวางแผนนัดทา pap
smear เดือนกรกฎาคม ทุกปี
นัดทาวันเสาร์ เพื่อป้ องกันการเปิ ดเผยตัว
 จัดตั้ง”ศูนย์องค์รวม” เพื่อให้แกนผูต้ ิดเชื้อมีส่วนร่ วมในการดูแล
และติดตามสมาชิก ตั้งแต่ กรกฎาคม 2554 จนถึงปัจจุบนั
 ให้บริ การตามมาตรฐานระบบ HIVQUAL-T
 เก็บข้อมูลเพื่อลงโปรแกรม HIVQUAL-T ทุกปี
ความภาคภูมิใจ
- รางวัลดีเด่นด้านมาตรฐานการดูแลรักษาผูต้ ิดเชื้อเอชไอวีและผูป้ ่ วยเอดส์
และการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ในเขต 12 ปี 2553
-
เข้าร่ วมการนาเสนอผลงานการพัฒนาคุณภาพการดูแลผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี/
ผูป้ ่ วยเอดส์ ในการประชุมวิชาการทีมสหวิชาชีพระดับเขต 2554
- รางวัลดีเด่น อันดับ 1 ด้านมาตรฐานการดูแลรักษาผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี
และผูป้ ่ วยเอดส์ และการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ในเขต 12 ปี 2555
ขอบคุณค่ะ