Balancel Scorecard

Download Report

Transcript Balancel Scorecard

Balanced Scorecard
( BSC )
พ.ท.สิ ทธิพฒ
ั น์ พงศ์ สุวรรณ
หน.แผนก ขส.ทบ.
ประวัติ
- เตรียมทหาร ร่ ุ นที่ 33
- จปร. ร่ ุนที่ 44
- เสธ.ทบ. ชุดที่ 85
เอกสารอ้ างอิง : BSC
- BSC ของ ผศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์
- การจัดทา BSC ของ ทบ. โดย
คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ของ ทบ. (กบท.สปช.ทบ.)
Balanced Scorecard
คืออะไร
กลยุทธ์
การปฏิบัติ
BSC มีจุดเริ่มต้ นอย่างไร
- Professor Robert Kaplan
- Dr.David Norton
USA
4 มุมมอง
- การเงิน (งบประมาณ)
- ลูกค้ า (ผู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ องกับองค์ กร)
- กระบวนการภายในองค์ กร
- การเรียนรู้ และการพัฒนา
- 1992 Harvard Business Review
- 1996 Balanced Scorecard
- 2000 The Strategy-Focused
Organization
ข้ อจากัดของตัวชี้วดั ทางการเงิน
- ไม่ สามารถประเมินในสิ่ งทีจ่ ับต้ องไม่ ได้
- บอกให้ ทราบถึงเหตุการณ์ ทเี่ กิดขึน้ ในอดีต
ด้ านการเงิน
วัตถุ ตัวชี้ ข้ อมูล
แผน
ประสงค์ วัด ปัจจุบัน เป้าหมาย งาน
กระบวนการภายใน
ด้ านลูกค้ า
Vision and
Strategy
การเรียนรู้ และพัฒนา
มุมมองทั้ง 4 ด้ าน
1. ด้ านการเงิน
2. ด้ านลูกค้ า
3. กระบวนการภายใน
4. การเรียนรู้ และพัฒนา
ภายใต้ แต่ ละมุมมองประกอบด้ วย
ช่ อง 5 ช่ อง
1. วัตถุประสงค์
2. ตัวชี้วดั
3.ข้ อมูลปัจุบัน
4. เป้ าหมาย
5. แผนงาน
กลยุทธ์ คือ อะไร
- วิธีการในการแข่ งขันที่จะทาให้ องค์ กร
สามารถเอาชนะคู่แข่ งได้
- แนวทางในการทาให้ องค์ กรประสบความสาเร็จ
- คาถาม 3 คาถาม
1. อยู่จุดใด
2. ต้ องการไปจุดใด
3. ไปถึงจุดนั้นได้ อย่ างไร
BSC ของ ทบ.
- แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย
- การปรับเปลีย่ นกระบวนการและวิธีการทางาน
- ระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
- การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ และแผนดาเนินงาน
- กาหนดตัวชี้วดั ผลสั มฤทธิ์ที่ชัดเจนและวัดได้
- เครื่องมือการบริหาร คือ BSC
ทบ.
คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการของ ทบ.
BSC
แนวคิดพืน้ ฐาน BSC
เครื่องมือ
- นากลยุทธ์ ไปสู่ การปฏิบัติ
- วัดและประเมินผลองค์ กร
- ช่ วยให้ องค์ กรเกิดความสอดคล้อง
- มุ่งเน้ นในสิ่ งทีม่ คี วามสาคัญต่ อความสาเร็จ
ขององค์ กร
การจัดทา BSC ของ ทบ.
คณะอนุกรรมการฯ
ชุดทางาน
ผช.ปช.ทบ. (หน.ชุด)
ผู้แทน
กรม ฝสธ. สบ.ทบ. กง.ทบ. สตน.ทบ. สบส.
ชุดทางานฯ
BSC ทบ. ประกอบด้ วย
1. วิสัยทัศน์
2. พันธกิจ ทบ.
3. จุดมุ่งหมาย
4. กลยุทธ์
5. แผนทีท่ างกลยุทธ์
6. วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ ในแต่ ละมุมมอง
1. วิสัยทัศน์
- มีศักยภาพ
- พร้ อมรบทั้งในด้ าน กาลังพล, ยุทโธปกรณ์ , ฝึ ก,
ศึกษา และแผนการปฏิบัติ
- ระบบบริหารงานที่ทันสมัย มีประสิ ทธิภาพ
- ปฏิบัตติ ามภารกิจตามทีก่ าหนดไว้ ในรัฐธรรมนูญ
2. พันธกิจ ทบ.
- เตรียมกาลังทางบก
- การป้ องกันราชอาณาจักร
3. จุดม่ ุงหมาย
- สามารถปฏิบัติภารกิจที่ได้ รับมอบหมาย
อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
- ความขัดแย้ งระดับต่า สภาวะสงคราม
และการปฏิบัติอนื่ ๆ ที่มิใช่ สงคราม
4. กลยุทธ์
- พัฒนาเสริมสร้ างความพร้ อมรบให้ กบั หน่ วยต่ าง ๆ
- พัฒนาองค์ กรการควบคุมบังคับบัญชาให้ เข้ มแข็ง
- เสริมสร้ างความสั มพันธ์ และประสานความร่ วมมือ
กับประเทศเพือ่ นบ้ าน และมิตรประเทศ
- ถวายความปลอดภัยและถวายพระเกียรติสถาบัน
พระมหากษัตริย์
- จัดเตรียมความพร้ อมของหน่ วยในส่ วนช่ วยการ
พัฒนาประเทศ
5. แผนทีท่ างกลยุทธ์ ประกอบด้ วย
- ประสิ ทธิผลตามพันธกิจ
- คุณภาพการให้ บริการ
- ประสิ ทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
- การพัฒนาองค์ กร
6. วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์
ในแต่ ละมุมมอง
- มุมมองแต่ ละด้ านของแผนทีก่ ลยุทธ์