เอกสารประกอบคำบรรยาย

Download Report

Transcript เอกสารประกอบคำบรรยาย

การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
นพ.พิเชฐ บัญญัติ
นายแพทย์ (ด้ านเวชกรรมป้องกัน) เชี่ยวชาญ สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดตาก
Copyright © 12 Jan 2012 by Phichet Banyati All Rights Reserved. Presentation at Maejo University
Tel. 055-591435-6, 548066 http://www.practicallykm.gotoknow.org , e-mail : [email protected]
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
แนวคิดเบือ้ งต้ นของการจัดการความรู้ (Concept)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
วิวฒ
ั นาการของสั งคมยุคต่ างๆ
การจัดการองค์ การสมัยใหม่
ความหมาย ประเภท ชนิด ยุคสมัยของความรู้
ความหมาย แนวทาง หลักการ กฎหลักของการจัดการความรู้
ทศปฏิบัติและทศวิบัติของการจัดการความรู้ในหน่ วยราชการ
กลยุทธ์ 10 ประการสู่ ความสาเร็จในการจัดการความรู้
ตัวแบบ SECI-Knowledge Conversion Process Model
ตัวแบบ The Cynefin Framework of Knowledge Management
ตัวแบบการจัดการตามโมเดลปลาทูหรือTUNA Model
ตัวแบบการจัดการความรู้แบบบูรณาการ LKASA (Bantak) Model
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
วิวฒ
ั นาการของสั งคมยุคต่ างๆ
•
•
•
•
•
Hunter : นักล่ า = กาลัง , ทีอ่ ยู่
Agriculture : เกษตรกรรม = ที่ดนิ , แรงงาน
Industry : อุตสาหกรรม = ทุน , เครื่องจักร
Information : ข่ าวสาร = ข้ อมูลข่ าวสาร , ICT
Knowledge : ความรู้ = ความรู้ (ทรัพย์ สินทาง
ปัญญา) , คน(Knowledge Worker)
• Wisdom : ปัญญา = ความฉลาด(จิตวิญญาณ) , ระบบ
สั งคม(ประชาคม) : การแลกเปลีย่ นเรียนรู้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
วิวฒ
ั นาการองค์ การสมัยใหม่
องค์การ
แห่งการ
เรียนรู้
องค์การแบบเครื่องจักร
องค์การแบบสิ่งมีชีวิต
วัฒนธรรมองค์การ
องค์การ
คุณภาพ
องค์การบริหารตนเอง
ที่มา : ดัดแปลงจากพิเชฐ บัญญัติและคณะ, 2549
องค์การ
เคออร์
ดิกส์
องค์การ
อัจฉริยะ
Intelligent
Organization
องค์การ
สมรรถนะสูง
4
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
แนวคิดองค์ กรคุณภาพทีน่ ามาเป็ นแนวทางการพัฒนา
องค์ กรเปรียบเสมือนคนทีม่ ี Head - Hand - Heart
องค์ การบริหารตนเอง
การวางแผนกลยุทธ์
การตัดสิ นใจ
การเรียนรู้
ระบบสารสนเทศ
องค์ กรแบบเครื่องจักร
ประสิ ทธิภาพ/มาตรฐาน
เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ สถิติ
การจัดการปฏิบตั ิการ
วัฒนธรรมองค์ การ
จิตวิญญาณ
ความผูกพันต่ อคุณภาพ
สานึกต่ อลูกค้ าและสั งคม
องค์ กรแบบสิ่ งมีชีวติ
การมีส่วนร่ วม
การทางานเป็ นทีม
ความต้ องการของพนักงาน
ดร.ทิพวรรณ หล่ อสุ วรรณรัตน์ (นิด้า)
การจัดการความรู้สู่ องค์ กรคุณภาพ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ข้ อมูล สารสนเทศ ความรู้ ปัญญา
การเรียนรู้
ประยุกต์ ใช้ ได้
ตัดสิ นใจถูกต้ อง
สนับสนุนการตัดสิ นใจ
แปลงให้ มีความหมาย
ข้ อมูล(Data)
สารสนเทศ
Information
ความรู้
Knowledge
ปัญญา
Wisdom
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ความรู้ 5 ชนิด Snowden(ASHEN)
1.
2.
3.
4.
5.
Artefact เป็ นวัตถุซึ่งห่ อหุ้มความรู้และเทคโนโลยีไว้
Skill เป็ นทักษะในการปฏิบัติงานหรือหรือทางานจนเกิดเป็ นทักษะ
Heuristics เป็ นกฎแห่ งสามัญสานึกหรือเหตุผลพืน้ ๆทัว่ ไป
Experiences เป็ นประสบการณ์ จากการได้ ผ่านงานนั้นมาก่อน
Natural Talent เป็ นพรสวรรค์ เฉพาะตัวที่มีมาแต่ กาเนิด
Tacit Knowledge
Explicit Knowledge
1
2
ความรู้ ชัดแจ้ ง/ฝังรู ป
3
4
5
ความรู้ ฝังลึก/ฝังหัว
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การสร้ างความรู้ 2 แนวทาง
วิ
จ
ั
ย
ปัญหา
ความร้ ู
KM ความ
สาเร็จ
เป้าหมายของการจัดการความรู้
1. เพือ่ พัฒนางานให้ มีคุณภาพและผลสั มฤทธิ์ยงิ่ ขึน้
2. เพือ่ พัฒนาคนหรือผู้ปฏิบัตงิ าน
3. เพือ่ พัฒนาฐานความรู้ ขององค์ การเป็ นการเพิม่ พูนทุน
ทางปัญญาขององค์ การ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
หลักการสาคัญของการจัดการความรู้
1. ให้ คนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคดิ ทางานร่ วมกันได้ อย่ าง
สร้ างสรรค์ ที่ยดึ เหนี่ยวกันด้ วยเป้าหมายเดียวกัน
2. ร่ วมกันพัฒนาวิธีทางานในรูปแบบใหม่ ๆเพือ่ บรรลุประสิ ทธิผลที่
กาหนดไว้ (Responsiveness ,Innovation ,Competency , Efficiency)
3. ทดลองและเรียนรู้เพราะเป็ นกิจกรรมสร้ างสรรค์ ถ้ าได้ ผลดีกข็ ยายผล
มากขึน้ จนได้ เป็ นวิธีการทางานแบบใหม่ หรือBest practice
4. นาเข้ าความรู้จากภายนอกอย่ างเหมาะสม โดยเอาความรู้จากภายนอก
มาทาให้ พร้ อมใช้ ในบริบทของเรา(มองหา/ดูดซับ/ส่ งเสริม)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
What’s Knowledge management
คือเครื่องมือหรือกระบวนการที่ทาให้ องค์การสามารถเก็บรับ สร้ างและต่ อ
ยอดองค์ ความรู้ทนี่ ามาใช้ ในการพัฒนาองค์การให้ สามารถทางาน
ตอบสนองต่ อความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่ างมีคุณภาพ ประสิ ทธิภาพ
และประหยัด เพือ่ ให้ องค์ การสามารถอยู่รอดและเติบโตได้ โดยสามารถ
สร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขันได้ ทาให้ องค์ การสร้ างผลงานที่ดีกว่ า
ถูกกว่ า เร็วกว่ า โดยอาศัยพลังปัญญาหรือสิ นทรัพย์ ทางปัญญาของคนใน
องค์ การเป็ นหลักและสามารถรวบรวมความรู้ทใี่ ช้ ได้ เหล่านั้นเอาไว้ ให้
บุคคลอืน่ ๆในองค์ การได้ นาไปใช้ ต่อได้ ง่ายจนกลายเป็ นความฉลาดของ
องค์ การทีแ่ สดงให้ เห็นในรูปของสมรรถนะหลักขององค์ การ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
องค์ การแห่ งการเรียนรู้ กบั การจัดการความรู้ (LO & KM)
องค์ การแห่ งการเรียนรู้คือสถานที่ซ่ งึ ผู้คนขยายขีดความสามารถ
เพื่อที่จะบรรลุในสิ่งที่พวกเขาต้ องการอย่ างแท้ จริงและต่ อเนื่อง
เป็ นสถานที่ท่ รี ะบบทางความคิดใหม่ และการขยายตัวทางความคิด
ได้ รับการสนับสนุน ที่ซ่ งึ ผู้คนมีความทะเยอทะยานนอกกรอบและ
เป็ นที่ๆผู้คนเรียนรู้ท่ จี ะเรียนไปด้ วยกันอย่ างต่ อเนื่อง
Knowledge management is a connective
tissue of a learning organization.
เปรียบ LO เหมือนทีน่ า KMเหมือนต้ นข้ าว รวงข้ าวเป็ นResultที่มี
ข้ าวเปลือกเป็ นOutcomeและข้ าวสารเป็ นImpact เราต้ องการข้ าวสาร
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
3 กฎหลักของการจัดการความรู้ ทลี่ มื ไม่ ได้ (Snowden)
1.Knowledge can only be volunteered,it
can not be conscripted. สมัครใจไม่ ใช่ กะ
เกณฑ์ บังคับ ข่ มขู่ สั่ งไม่ ได้
2.I only know what I know when I need
to know it. การเรียนรู้ เกิดเมื่อต้ องการใช้
3.We always know more than we can
say,and we will always say more than
we can write down. รู้ มากกว่ าทีพ่ ูดได้ เขียนได้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
LKASA (Bantak)Model
การจัดการความรู้ 5 ขั้นตอน
1.การจัดการให้ เกิดการเรียนรู้ (Learning Management)
2.การจัดการให้ เกิดองค์ ความรู้ (Knowledge Organizing)
3.การจัดการให้ เกิดการใช้ ความรู้ (Knowledge Acting)
4.การจัดการให้ เกิดการแบ่ งปันความรู้ (Knowledge Sharing)
5.การจัดการให้ เกิดการจัดเก็บองค์ ความรู้ (Knowledge Assets)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
LKASA EGG ( Bantak ) Model
1.Learning Mg
4. K Sharing
3.K Acting
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การจัดการให้ เกิดการเรียนรู้ (Learning Management)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
บทบาทหน้ าทีข่ องCEO & CKO กับการจัดการความรู้
การสร้ างวิสัยทัศน์ ความรู้ (Knowledge Vision)
คนและทีม บนความแตกต่ างอย่ างสร้ างสรรค์
การเตรียมคนในองค์ การให้ พร้ อมกับการการเรียนรู้ (Fifth Disciplines)
การเตรียมทีมให้ พร้ อมต่ อการเรียนรู้ (Learning Disability)
การจัดกิจกรรมเพือ่ ส่ งเสริมให้ คนเกิดการเรียนรู้
วิธีการเรียนรู้แบบFour Learning
ความคิดสร้ างสรรค์เพือ่ ส่ งเสริมการเรียนรู้ (Four Thinking)
ระดับของการเรียนรู้
การกระตุ้นการเรียนรู้ด้วยการเขย่ าองค์ กร
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
บทบาทหน้ าที่ของCEO & CKO กับ KM
1.System:Knowledge vision ,Shared vision
2.Simplify : สอดคล้ องกับงานประจา ไม่ ตดิ รู ปแบบ
3.Surrounding : จัดสภาพแวดล้ อมให้ เอือ้ ต่ อการเรียนรู้
- แนวคิด575สร้ าง 5 ลด7เสริม5 เน้ นคน ทีมงาน เครื่องมือ
เทคโนโลยี กิจกรรม
- จตุรภาคแห่ งการจัดการความรู้ : เขย่ าองค์ กรอย่ างเหมาะสม
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
BIG PICTURE
มองเห็นป่ า อย่ าเห็นแค่ เพียงต้ นไม้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การวางแผนกลยุทธ์ เพือ่ บรรลุผลสั มฤทธิ์ขององค์ กร
วิสัยทัศน์
SWOT Analysis
พันธกิจ
จุดมุ่งหมาย
วัตถุประสงค์
ผลสัมฤทธิ์ 4 มิติ
(customer,internal
process,Learning&
Growth,Finance
ตัวชี้วดั
ประเมินผล
กระบวนการ ผลผลิต
ผลลัพธ์ ผลกระทบ
Internal&External
ยุทธศาสตร์
Monitoring
แผนปฏิบตั ิการ
Balanced
scorecard
งานประจา
แผนงาน
ปฏิบตั ิจริง
โครงการ
Six sigma
Benchmarking
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Knowledge vision
เป้าหมายสู งสุ ดของโรงพยาบาลบ้ านตากคือประชาชนมีสุขภาพดี
เจ้ าหน้ าทีม่ ีความสุ ขและโรงพยาบาลอยู่ได้ โดยเน้ นพัฒนาอย่ าง
เรียบง่ ายสู่ เป้าหมายอย่ างสมดุล
จัดหาความรู้ แล้ วนาความรู้ มาจัดการองค์ กร(โรงพยาบาล)เพือ่ ให้
เอือ้ อานวยต่ อการเกิดความรู้ แล้ วนาความรู้ ทไี่ ด้ มาจัดการให้
ทางานได้ อย่ างมีคุณภาพ
มองไกล แต่ ทาใกล้ -Think Globally , Act Locally
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
เป้าหมายสู งสุ ดของโรงพยาบาลบ้ านตาก(Shared Vision)
มุ่งสู่ ความพอเพียง(พอดี)ไม่ ใช่ เป็ นเลิศ นั่นคือความสมดุล = ดุลยภาพ = สุ ขภาพ
ร่ างกาย
ประชาชน
ปัญญา
ดุลยภาพ
ตนเอง
สั งคม
ครอบครัว
เจ้ าหน้ าที่
จิตใจ
สั งคม
องค์ กร
ลูกค้ า
งาน
การเงิน
กระบวนการ
เรียนรู้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
2
E = mC
“Quality is never an accident , it is always the
result of intelligent effort” : John Ruskin
Intellectual Capital = Competency X Commitment
ศีลที่แท้ จริงคือวินัยที่สะท้อนการประพฤติปฏิบัตอิ ย่างสม่าเสมอต่ อเนื่องเป็ นเรื่องปกติ
สมาธิที่แท้ จริงคือสมาธิที่เกิดขณะทางานหรือจิตที่ม่ ุงมัน่ อยู่กบั งาน
ความรู้ ทแี่ ท้ จริง(ปัญญา)คือความรู้ ทถี่ งึ พร้ อมด้ วยการปฏิบัติ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
HR &Team &Empowerment &Consensus
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
HR &Team &Empowerment &Consensus
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
HR &Team &Empowerment &Consensus
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
วินัย5ประการ(FD)ของ Peter M. Senge : คน
Personal Mastery มีวนิ ัยในตัวเอง ควบคุมตนเอง
ปรับปรุงตนเองสม่าเสมอ กระตือรือร้ นทีจ่ ะเรียนรู้ ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน
Mental Model มีจติ ใจที่มีพลังในการสร้ างสรรค์ ฟังคนอืน่
Shared Vision สร้ างความฝันร่ วมกัน
Team Learning มีการเรียนรู้ ร่วมกันของทีม
Systemic Thinking คิดเป็ นระบบ มองเห็นภาพรวม
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Learning Disability = LD : ทีม
สภาพความไร้ ความสามารถในการเรี ยนรู้ขององค์ การ
สภาพการยึดถือว่ า “ฉันคือตาแหน่ งของฉัน”
การหาผู้กระทาผิดหรื อแก้ ตัว หรื อหาแพะรั บบาป
ภาพลวงตาคิดว่ าตัวเองแก้ ปัญหาเชิงรุ ก แก้ ปัญหาที่อาการ ยึดติดเหตุการณ์
การยึดติดในความสาเร็จในอดีต ไม่ กล้ าคิดกล้ าทาสิ่งใหม่ เพราะกลัวล้ มเหลว
ไม่ สามารถรั บรู้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ที่ละน้ อย ๆ และอย่ างช้ า ๆ
การเข้ าใจว่ าการเรี ยนรู้ ท่ มี ีพลังที่สุดคือการเรี ยนรู้ จากประสบการณ์ โดยตรง
ทีมงานไม่ สามารถเรี ยนรู้ จากสมาชิกทีมและประสบการณ์ ของทุกคนในทีมได้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Learning Technique for LO : กิจกรรม
เทคนิคทีส่ นับสนุนให้ คนในองค์ กรมีการเรียนรู้
Action Learning การเรียนรู้ โดยการปฏิบัต(ิ อริยสั จ4=
ทุกข์ -สมุทยั -นิโรธ-มรรค)
Benchmarking มาตรฐานเปรียบเทียบ(Sharing)
Coaching การสอนงาน
Mentoring การเป็ นพีเ่ ลีย้ ง
Portfolio แฟ้ มงานเพือ่ การพัฒนา (Assets)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
วิธีการเรียนรู้ 4 วิธี(จากในและนอกองค์ กร)
1.Learning by Seeing การเรียนรู้จากการศึกษาดูงาน
2.Learning by Training การเรียนรู้จากการฝึ กอบรม
3.Learning by Reading การเรียนรู้จากการอ่าน
4.Learning by Doing การเรียนรู้จากการปฏิบัติ
ความคิดสร้ างสรรค์ : สิ่ งที่ขาดไม่ ได้ เมื่อเรียนรู้
1.Integrated Thinking คิดเชิงบูรณาการ มองเป้าหมายเดียวกัน
2.System Thinking คิดเชิงระบบ เห็นความเชื่อมโยงของทุกสิ่ ง
3.Positive Thinking คิดเชิงบวก มองคนในแง่ บวก
4.Lateral Thinking คิดเชิงบุก/คิดนอกกรอบ/คิดทางขวาง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Integrated Thinking
ไม่ คดิ แยกส่ วน คิดอย่ างเป็ นกลาง รู้ สภาพตามความเป็ นจริง คิดกว้ าง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Positive Thinking (คิดเชิงบวก)
คิดอย่ างเข้ าใจ ให้ อภัย ให้ โอกาสตนเอง ผู้อนื่ มีทศั นคติเชิงบวกในการดารงชีวติ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Lateral Thinking คิดเชิงบุก
จงคิดแบบเด็ก
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
The Cynefin Framework of Knowledge Management
ขีดความสามารถสู ง
Complex
Knowable
ก้ าวกระโดด
ปรับปรุ ง
รู้ไม่ ชัด
รู้ บ้าง
ประคองตัว
งานประจา
Chaos
Known
ขีดความสามารถไม่
สู งนัก
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การจัดการให้ เกิดองค์ ความรู้ (Knowledge Organizing)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ความรู้ (Knowledge)และองค์ ความรู้ (Body of Knowledge)
บริบทหรือรูปแบบ(Context)และเนือ้ หาหรือแนวคิด(Content)
การระบุหรือกาหนดความรู้ทตี่ ้ องการใช้ (Knowledge Identification)
การแสวงหาความรู้ขององค์ กร(Knowledge Acquisition)
การสั งเคราะห์ องค์ ความรู้ (Knowledge Combination)
การสร้ างองค์ ความรู้โดยการหมุนเกลียวความรู้ SECI (Knowledge
spiral)
7. บทบาทของวิศวกรความรู้หรือคุณประกอบ(Knowledge Engineer)
8. ตัวอย่ างความรู้และองค์ ความรู้ของโรงพยาบาลบ้ านตาก
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การระบุหรือจาแนกความรู้ ขององค์ กร(Knowledge Identification)
1.
2.
3.
4.
5.
ศึกษาทิศทางกลยุทธ์ : วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญา จุดมุ่งหมาย
วิเคราะห์ สภาพองค์ การ(External & Internal Analysis)
ศึกษาความต้ องการผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย(Stakeholder)
ศึกษากระบวนการหลัก(Core process)ตามโซ่ ร้อยค่ านิยม
ศึกษาบริการหลัก(Core products)และบริการสุ ดท้ าย(End
products)
6. กาหนดความสามารถหลัก(Core Competency)ขององค์การ
7. กาหนดปัจจัยหลักแห่ งความสาเร็จ(Critical Success Factors)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
นโยบายหลัก 4 C ของโรงพยาบาลบ้ านตาก
Clean
Care Cooperation Community
พันธกิจของโรงพยาบาลบ้ านตาก
“เราให้ บริการสุ ขภาพแบบผสมผสานและองค์ รวมเพือ่ คุณภาพชีวิตทีด่ ขี องชุ มชน”
วิสัยทัศน์ ของโรงพยาบาลบ้ านตาก
LOGO
“โรงพยาบาลบ้ านตาก สะอาดและสวย ดีพร้ อมด้ วยการบริการ
พนักงานสามัคคี เป็ นโรงพยาบาลทีด่ ขี องชุ มชน”
BH : BANTAK HOSPITAL
มาตรฐานสากล บนพืน้ ฐานของความเป็ นไทย
Internationnal Standard Based On Thai Being
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Five Competitive Forces Model of Micheal E. Porter
โรงพยาบาลเอกชน
Potential Entrants
บริษัทยา/พัสดุต่างๆ
Suppliers
โรงพยาบาลใกล้ เคียง
Industry Competition
คลินิก/ร้ านขายยา/ร้ านนวด
Substitutions
ประชาชน/สปสช.
Buyers
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การจัดการกระบวนการ กิจกรรมสนับสนุน
การบริหารงบประมาณ(FM)
การบริหารสิ่งแวดล้ อมและความปลอดภัย(ENV)
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM)
การบริหารระบบสารสนเทศและเวชระเบียน(IM)
Quality
การบริหารพัสดุ(MIM)
of life
การรั บ
การ
ประเมิน
-ระบุสิทธิ
-จัดทาประวัติ -ปกติ
-แนะนา
-เร่ งด่ วน
-ส่ งจุดบริการ -วิกฤติ
การดูแล
การ
จาหน่ าย
-ส่ งเสริม
-ป้องกัน
- กลับบ้ าน
-รั กษาในนอก - ส่ งต่ อ
-ฟื ้ นฟู
การติดตาม
-ที่บ้าน
-ในชุมชน
-ส่ งต่ อ
กิจกรรมพืน้ ฐาน
ร่ างกาย
จิตใจ
สั งคม
ปัญญา
ประชาชน
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ปัจจัยหลักแห่ งความสาเร็จ(Critical Success Factors)
1.ระบบบริการทีส่ ะดวก รวดเร็ว เข้ าถึงง่ าย เป็ นที่ประทับใจและ
เหมาะสมตามศักยภาพ
2. บริการทางคลินิกที่ปลอดภัย มีประสิ ทธิผล ถูกต้ องตามหลักวิชาจรรยา
วิชาชีพและสิ ทธิผู้ป่วย
3. บริการเพือ่ นาไปสู่ การมีสุขภาพดีถ้วนหน้ าของประชาชน
4. สิ่ งแวดล้อมในโรงพยาบาลและชุ มชนทีเ่ อือ้ ต่ อการมีสุขภาพดี
5. เจ้ าหน้ าทีท่ างานร่ วมกันเป็ นทีมอย่ างมีความสุ ข
6. การบริหารแบบมีส่วนร่ วมอย่ างโปร่ งใส เป็ นธรรมและมีประสิ ทธิภาพ
7. การส่ งเสริมและพัฒนาองค์ กรอย่ างต่ อเนื่อง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ผังความสามารถหลักขององค์ การ(Competency Map)
Ultimate
Outcomes
End
product
ทัว่ ไป
รถรับส่ ง
Core
Business การรับ
Core
product
เจ้ าหน้ าทีม่ คี วามสุ ข
ประชาชนมีสุขภาพดี
แพทย์แผนไทย
ส่ งเสริมป้ องกัน
ประเมิน
ส่ งเสริม
โรงพยาบาลอยู่รอด
ตรวจสุ ขภาพ
วางแผน
ป้ องกัน
Core
competency ดูแลแบบผสมผสาน/องค์ รวม
ทันตกรรม
สมุนไพร
ดูแล
รักษา
การบริหารจัดการ
ตรวจรักษา
จาหน่ าย
ติดตาม
ฟื้ นฟู
การสร้ างเครือข่ าย
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การแสวงหาความรู้ ขององค์ กร(Knowledge Acquisition)
1. การคว้ าความรู้ (Knowledge Capturing) เสาะหา ยึดกุม
ความรู้ จากภายนอกแล้ วคว้ าเอามาใช้ อย่ างเหมาะสม
2. การสร้ างความรู้ จากการปฏิบัต(ิ Knowledge Creation)
สร้ างจากทุกจุดของการทางานโดยทุกคนทีท่ างาน ทั้งก่ อน
การลงมือทา ระหว่ างการทางานและสรุ ปประมวล
ประสบการณ์ หลังการทางาน
3. การควักความรู้ ในองค์ การ(Knowledge Tracking) เป็ นการ
ลงไปหาความรู้ ทเี่ กิดขึน้ ทุกจุดของการทางานเพือ่ สกัด
ออกมาใช้ ประโยชน์ หรือดึงความรู้ ในคนมาใช้ ประโยชน์
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การสร้ างความรู้ และองค์ ความรู้ (Organizing)
Capture
Combination
Creation
Define
Distill
Practice
Combine
Tracking
Standardize
Innovation
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การจัดทาให้ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร:Documentation
Document
1. Quality Manual
2. Quality Procedure
3. Work Instruction
Record
4. Quality Plane/CPG
5. Supportive Document
6. Temporary Document
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ตัวแบบบ้ านคุณภาพสร้ างสุ ข
10.เดินสู่ จุดหมาย
9.จัดการประเมิน
8.สานสู่ การปฏิบัติ
CE
O
1.เริ่มต้ นทีฐ่ าน
HPH
2.สร้ างบ้ านน่ าอยู่
Public Health Standard
HA,ISO,PSO,TQA
7.ค้ นหาหลักการ
O
D
T
Q
M
Plan
Do
Act Check
CQI&SS
T EE
H SS
M BB
55ส.ส.
6.ตั้งทีมพัฒนา
4.นาสู่ เจ้ าหน้ าที่
5.สามัคคีคือพลัง
3.ผู้บริหารต้ องรู้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
แนวคิดการจัดการสร้ างสุ ขภาพโดยรวม(THM)
Focus on Health
Sustainability
Participation
Teamwork &
Commitment
Creativity &
Innovation
Strategic driven
THM
Empowerment
Citizen &Community
focus
Service &process
management
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Hospital based & Community based
ผป.นอก
ผป.ใน
Host
ทีมใน
โรงพยาบาล
Information
HHC
ทีมในชุ มชน
Agent
Teamwork
ระบาด
Enviro
ชุมชน
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ตัวแบบ“รวบ”บูรณาการเพือ่ สร้ างสุ ขภาพอย่ างยัง่ ยืน(STHH integr.)
ถ้ าเรา
ทุกข์ เรา
จะสร้ าง
ภาคราชการ
สุ ขให้
คนอืน่
ได้
อย่ างไร
โรงเรียน
ภาคเอกชน
ประชาชน
บ้ าน
ร.พ.
5 ส.
ประชา
สั งคม
วัด
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
องค์ ความรู้ ด้านบริการ
•การดูแลผู้ป่วยโดยสหสาขาวิชาชีพ
•คลินิกอดบุหรี่ (Team Motivating Psycho-supportive Therapy)
•การดูแลCOPDแบบครบวงจร
•การติดตามดูแลผู้ป่วยทีบ่ ้ านและชุมชน(HHC)
•การดูแลผู้ป่วยเอดส์ แบบครบวงจร(AIDS)
แค่ คดิ ได้ ไม่ พอ ต้ องทาได้ ด้วย จะเกิดประโยชน์ ต้องมีปัญญา
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การจัดการให้ เกิดการใช้ ความรู้ (Knowledge Acting)
1. คณะผู้ก่อการดีในการจัดการความรู้
2. หัวใจสาคัญของการจัดการให้ เกิดการใช้ ความรู้
3. วัฒนธรรมองค์ การ 5 ประการ: ทบทวน-ประกัน-คุณภาพ-สร้ าง
สุ ขภาพ-เรียนรู้ (Organizational culture)
4. การนาความรู้ และองค์ ความรู้ ไปปฏิบัตจิ ริง (Knowledge utilization)
5. หน้ าทีข่ องผู้ปฏิบัตจิ ดั การความรู้ (Knowledge Practitioner)
6. ตัวอย่ างการปฏิบัตติ ามตัวแบบบ้ านคุณภาพสร้ างสุ ข : ตัวแบบสู่
องค์ การแห่ งการเรียนรู้ ของโรงพยาบาลบ้ านตาก
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
คณะผู้ก่อการดีในการจัดการความรู้
1. คุณเอือ้ หรือคุณเกือ้ หนุนหรือผู้บริหารจัดการความรู้ (CKO) สร้ าง
สิ่ งแวดล้อมการเรียนรู้และเปิ ดโอกาสให้ ใช้ ความรู้
2. คุณอานวยหรือผู้ส่งเสริมการจัดการความรู้(K Facilitator) กระตุ้นให้
คนกล้าเอาสิ่ งทีร่ ู้มาเล่าบอก จัดเวที มีเวลา หาไมตรี : คุณลิขิต/ประสาน
3. คุณกิจหรือผู้ปฏิบัติจัดการความรู้ (K Practitioner) หมั่นเรียนรู้จาก
ทางานแล้วนามาใช้ ปฏิบัติ เมื่อใช้ ดีจึงบอกเพือ่ น
4. คุณประกอบหรือวิศวกรความรู้ (K engineer) ตีความและแปลง
สั งเคราะห์ ยกระดับองค์ ความรู้ให้ จับต้ องได้ และนาไปปฏิบัติได้ ง่าย
5. คุณเก็บหรือผู้เชี่ยวชาญความรู้ (K specialist)หรือบรรณารักษ์ ความรู้(K
Librarian) นาความรู้ทชี่ ัดแจ้ งมาสั งเคราะห์ จัดหมวดหมู่ สั่ งสม
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
วัฒนธรรมการปฏิบัตจิ ดั การความรู้
ขั้นวัฒนธรรมทบทวนความเสี่ ยง
ขั้นวัฒนธรรมประกันคุณภาพ
ขั้นวัฒนธรรมคุณภาพ
ขั้นวัฒนธรรมการสร้ างเสริมสุ ขภาพ
วัฒนธรรมการเรียนรู้
มีวิสัยทัศน์ แต่ ไม่ ลงมือทา ก็
เท่ ากับฝั นไป
ขยันทาแต่ ไม่ มีวิสัยทัศน์ ก็
เท่ ากับว่ าเสียเวลาเปล่ า
มีวิสัยทัศน์ และขยันทาด้ วยจะ
สร้ างความเปลี่ยนแปลงให้
เกิดขึน้ ในโลกก็ย่อมได้
Joel Barker
The Power of Vision
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
วัฒนธรรมการเรียนรู้
1. Participation ให้ ทุกคนมีส่วนร่ วมอย่ างแท้ จริงในงานทีเ่ ขา
รับผิดชอบ
2. Empowerment เปิ ดโอกาสให้ ทุกคนได้ ตดั สิ นใจในสิ่ งทีเ่ ขา
รับผิดชอบ
3. Opened mind เปิ ดใจให้ กว้ าง ให้ โอกาสได้ เสนอความคิดเห็น
โดยไม่ ถูกขัดขวางหรือโจมตีแม้ ว่าจะดูไร้ สาระก็ตามเพือ่ กระตุ้น
ให้ ทุกคนรู้ จกั คิด กล้ าเสนอความคิดเห็น เกิดความคิด
สร้ างสรรค์ ได้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การนาความรู้ และองค์ ความรู้ ลงไปปฏิบัตจิ ริง
1. การนาองค์ ความรู้ทไี่ ด้ ไปปฏิบัตจิ ริง โดยการยอมรับของคนในองค์กรให้
นาไปใช้ (Using) รู้จักประยุกต์ ใช้ (Knowledge Application) เพือ่ ให้ เกิด
ประโยชน์ ต่อองค์ กร(Utilization)
2. การประเมินและต่ อยอดองค์ ความรู้เดิมสู่ องค์ ความรู้ใหม่ ทเี่ หมาะสมกับ
องค์ กรมากขึน้ โดยตัวผู้ปฏิบัตเิ อง เป็ นการเรียนรู้จากการใช้ ความรู้
- การทบทวนหลังปฏิบัติ(After Action Review : AAR)
- การเรียนรู้บทเรียนจากความผิดพลาดหรือล้มเหลว(Lesson Learned)
ในลักษณะผิดเป็ นครู
3. หน้ าทีข่ องผู้ปฏิบัตจิ ดั การความรู้ : ทางานประจาให้ ด(ี อัปปมา
ทะ)-มีอะไรให้ คุยกัน(กัลยาณมิตตา)-ขยันทบทวน (โยนิโสมนสิ การ)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
SECI-Knowledge Conversion Process Model
Tacit
Tacit
Socialization
Internalization
Externalization
Combination
Explicit
แลกเปลีย่ นได้
ถอดใส่ รหัส
จัดผสมผสาน
ฝังหัวคนงาน
Explicit
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การจัดการให้ เกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (Knowledge sharing)
1. คุณลักษณะและบทบาทหน้ าทีข่ องKM Facilitators
2. เวลา-เวที-ไมตรี-เอือ้ อาทรในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
3. รู ปแบบหรือเทคนิคในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
4. Community of Practiceชุมชนนักปฏิบัติ
5. Benchmarking มาตรฐานเปรียบเทียบ
6. เครื่องมือชุดธารปัญญา
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
หัวใจสาคัญของKnowledge sharing
1. เน้ นการจัดการความสั มพันธ์ ระหว่ างคน ยิง่ ดียงิ่ แลกง่ าย
2. เน้ นเอาสิ่ งที่ปฏิบัติจริงแล้ วได้ ผลดีจงึ นามาแลกเปลีย่ น ทานองใช้
ดีจงึ บอกเพือ่ น ไม่ ใช่ ไปฟังเขามาว่ าดีแล้ วเอามาเล่ าต่ อเลย
3. ใช้ ลูกล่ อลูกชนเฉพาะรายดึงเอาความรู้ ฝังลึก (Tacit) จากผู้
ปฏิบัติออกมาให้ เห็นชัด (Explicit)
4. ต้ องมีการเปรียบเทียบผลทีช่ ัดเจนถ้ าจะต้ องแลกเปลีย่ นระหว่ าง
หน่ วยงานเพือ่ สร้ างการยอมรับระหว่ างผู้ให้ และผู้รับ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
หน้ าทีข่ องKM Facilitators : ช่ วยให้ เกิด 4 เอือ้
Learn เอือ้ โอกาสให้ เกิดเรียนรู้ /อยากเรียนรู้ /ใฝ่ รู้ (เวลา/เวที)
Care เอือ้ อาทรให้ เกิดความห่ วงใยใส่ ใจกัน/ช่ วยเหลือกัน
Share เอือ้ อารีให้ เกิดการแบ่ งปันความรู้ /เล่ าสู่ กนั ฟัง
Shine เอือ้ เอ็นดูให้ เกิดความภาคภูมิใจ/ยกย่ อง/กาลังใจ/มีไฟ
Knowledge is not power ,but Knowledge sharing is power.
Human is important , but Human relationship is more important
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
คุณลักษณะทีด่ ขี องKM Facilitators
1. มีความสามารถในการสื่ อสาร การแสวงหาความร่ วมมือ
2. มีมนุษยสั มพันธ์ คุยกับคนรู้ เรื่อง เข้ ากับคนง่ าย เห็นคุณค่ าคนอืน่
3. มีความอดทนและความมุ่งมั่นสู ง ไม่ ขบี้ ่ น ไม่ สั่งการ ไม่ บ้าอานาจ
4. ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน เรียนรู้ อยู่ตลอดเวลา
5. ไม่ ขใี้ จน้ อย ไม่ ขงี้ อน ไม่ เบื่อง่ าย มีความยืดหยุ่น ไม่ ติดกรอบ
6. จับประเด็นเก่ ง วิเคราะห์ บรรยากาศทีมและองค์ กรได้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ใช้ พลังของการเคลือ่ นความรู้ ข้ามแดน
Top
S E
I C
คน
Middle
Front line
คน
อาวุโส
Inter-departmental
เยาว์
แลกเปลีย่ นความรู้ ทใี่ ช้ ดที แี่ นบแน่ นอยู่กบั งาน
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
เวทีเล่ าสู่ กนั ฟัง
1. เวทีจริง(Reality) : Face to Face
1.1 ในองค์ การทั้งทางการและไม่ เป็ นทางการ ทั้งในแผนกและ
ระหว่ างแผนก เช่ นประชุ มกลุ่ม,เสี ยงตามสาย,เคเบิลทีว,ี เวทีสัมมนา
ผู้ป่วย,การเชื่อมสั มพันธ์ คร่ อมสายงาน,บอร์ ด,ศูนย์ สารสนเทศ
โรงพยาบาล,การจัดมหกรรม CQI Story,สรุปผลงาน
1.2 ระหว่ างองค์ การเช่ นศึกษาดูงาน,ร่ วมกิจกรรมเครือข่ าย
1.3 กับชุ มชนหรือสถาบันภายนอกเช่ นรับดูงาน,ประชุ มร่ วมกับกลุ่ม
ต่ างๆ(อสม./ผู้นาชุ มชน/กพร./หัวหน้ าส่ วนอาเภอ),เรียนรู้ จากหมู่บ้าน
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
เวทีเล่ าสู่ กนั ฟัง
2. เวทีเสมือน(Virtual) ใช้ ICT
2.1 ในองค์ การเช่ น,เว็บไซต์ ,Intranet
2.2 นอกองค์ การผ่ านเว็บไซต์ www เช่ น
bantakhospital.com,kmi.or.th,
ha.or.th,tpa.or.th,portal web
TKC,etc.
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
รูปแบบหรือเทคนิคในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
1. ชุ มชนนักปฏิบัติ Community of practice : Co P
2. เพือ่ นช่ วยเพือ่ น Peer Assist : เชิญทีมอืน่ มาแบ่ งปันประสบการณ์
3. การทบทวนหลังปฏิบัติการหรือการถอดบทเรียน AAR
4. การเรียนรู้ร่วมกันหลังงานสาเร็จ Retrospect
5. เรื่องเล่าเร้ าพลัง Springboard Storytelling
6. การค้ นหาสิ่ งดีๆรอบๆตัว Appreciative Inquiring
7. เวทีเสวนา Dialogue : สุ นทรียสนทนา สานเสวนา
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Community of Practice : CoP
CoPเป็ นกลุ่มคนทีม่ ีแรงปรารถนาทีจ่ ะพัฒนาความรู้ ในเรื่องใด
เรื่องหนึ่งหรือแก้ ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งร่ วมกัน โดยCoPจะ
ประกอบด้ วยสมาชิกทีม่ ีความสนิทสนมกลมเกลียวไว้ วางใจซึ่งกัน
และกันรวมทั้งคุ้นเคยในฝี ไม้ ลายมือและความชอบของกันและกัน
จนถึงจุดหนึ่งสมาชิกในCoPจะร่ วมกันพัฒนาแนวปฏิบัติขนึ้ มา
ซึ่งแนวปฏิบัตเิ หล่ านีเ้ ป็ นองค์ ความรู้ ทเี่ กิดจากการรวมตัวกันของ
ชุมชน : พูลลาภ อุทยั เลิศอรุณ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
องค์ ประกอบของCoP
ในความหมายของEtienne Wenger ประกอบด้ วย
• หัวข้ อเรื่องทีส่ มาชิกชุมชนมีความปรารถนาร่ วมกัน
(Domain)
• พันธะทางสั งคมทีย่ ดึ เหนี่ยวสมาชิกเข้ าด้ วยกัน
(Community)
• มีแนวปฏิบัตเิ ป็ นองค์ ความรู้ ทเี่ ป็ นผลผลิตของชุมชน
(Practice)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ชุมชนนักปฏิบัต(ิ Community of practice)
โรงพยาบาล
ENV
RM
HRM
PCT
create
share
Learn
capture use
IC
ESB
IM
AIDS
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ตัวอย่ างชุมชนนักปฏิบัตแิ บบสหสาขาวิชาชีพ
แพทย์
พยาบาล
Best
Practice
กายภาพ
Capture
&
Create
เภสั ช
ทันตะ
COPD
ชันสู ตร
KM Fa
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
จุดเริ่มต้ นของการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
1. การค้ นหาสิ่ งดีรอบๆตัว (Appreciative Inquiry) โดย
ให้ ผ้ ูเข้ าร่ วมกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ค้นหาสิ่ งดีๆในงานของ
ตนเองแล้ วนามาแลกเปลีย่ นเรียนรู้ กบั ผู้อนื่
2. การเปรียบเทียบมาตรฐานการปฏิบัติ (Benchmarking) เป็ นการ
นาเอาผลงานของแต่ ละคนมาเปรียบเทียบกันด้ วยความเต็มใจ
ของทั้งสองฝ่ าย มีการตกลงกฎเกณฑ์ ของการเปรียบเทียบกัน
ด้ วยความเข้ าใจกัน เปรียบเทียบกันเพือ่ นาเอาสิ่ งดีๆของแต่ ละ
ฝ่ ายมายกระดับผลงานหรือพัฒนางานของตนเอง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Benchmarking, Benchmark ,Best practice
Best practice วิธีการปฏิบัตทิ ดี่ ที สี่ ุ ด = วิธีการปฏิบัตทิ ี่ดี
ทีส่ ุ ดของผู้ทปี่ ฏิบัตไิ ด้ ดที สี่ ุ ด
Benchmark ระดับเทียบเคียง = ผู้ทปี่ ฏิบัตไิ ด้ ดที สี่ ุ ด
Benchmarking การจัดระดับเทียบเคียง = วิธีการในการ
วัดและเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ บริการและวิธีปฏิบัติกบั องค์ กร
ที่สามารถทาได้ ดกี ว่ า เพือ่ นาผลของการเปรียบเทียบมาใช้ ใน
การปรับปรุงองค์ กรของตนเองเพือ่ มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Benchmarking มาตรฐานเปรียบเทียบ
1. สรุปผลงานเปรียบเทียบกับผลงานขององค์ การในปี ทีผ่ ่ านมา
2. สรุปผลงานเปรียบเทียบกับองค์ การประเภทเดียวกันในจังหวัด
3. สรุปผลงานเปรียบเทียบกับองค์ การประเภทเดียวกันใน
ต่ างจังหวัด
4. สรุปผลงานเปรียบเทียบกับองค์ การอืน่ ๆทั้งในประเทศและ
ต่ างประเทศ
หาว่ าใครทาได้ ดที สี่ ุ ดและดูว่าเขาทาอย่ างไร แล้ วนามาปรับใช้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
TUNA Model
Knowledge
Sharing (KS) ส่ วนกลางลาตัว ส่ วนที่เป็ น “หัวใจ”
(Thai –UNAIDS Model)
ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด
Knowledge
Vision (KV)
ส่ วนหัว ส่ วนตา
มองว่ ากาลังจะไปทางไหน
ต้ องตอบได้ ว่า “ทา KM ไปเพื่ออะไร”
ให้ ความสาคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ช่ วยเหลือ เกือ้ กูลซึ่งกันและกัน
(Share & Learn)
Knowledge
Assets (KA)
ส่ วนหาง สร้ างคลังความรู้
เชื่อมโยงเครือข่ าย ประยุกต์ ใช้ ICT
“สะบัดหาง” สร้ างพลังจาก CoPs
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
เครื่องมือชุดธารปัญญา
1. ตารางแห่ งอิสรภาพ เป็ นตารางที่แสดงขีดความสามารถหลักใน
ด้ านต่ างๆและช่ องคะแนนประเมินในระดับตั้งแต่ 1(พืน้ ฐาน)ถึง
5(ดีเยีย่ ม)
2. แผนภูมิแม่ นา้ (River diagram) นาตารางอิสรภาพของแต่ ละ
องค์ การทีม่ าแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ได้ ประเมินขีดความสามารถไว้
โดยนาค่ าระดับจุดเป็ นเส้ นกราฟเพือ่ สร้ างเป็ นแผนภูมิแม่ นา้
โดยให้ แกนนอน(x)เป็ นแกนทีร่ ะบุขดี ความสามารถหลัก แกน
ตั้ง(Y)เป็ นแกนที่แสดงค่ าระดับจาก 1-5
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
เครื่องมือชุดธารปัญญา
3. แผนภูมิข้นั บันได(Stair diagram)มีบทบาทต่ อการจัดพืน้ ที่
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ มาก โดยแกนตั้งเป็ นค่ าระดับ 1-5 ส่ วนแกน
นอนเป็ นตัวแสดงค่ าช่ องว่ าง จะมีกลุ่มพร้ อมให้ และกลุ่มใฝ่ รู้
4. ขุมความรู้ (Knowledge assets) เก็บรวบรวมสิ่ งที่ได้ จากการ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ 3 ส่ วนสาคัญคือประเด็นหลักๆ,เรื่องเล่ า,ส่ วน
ที่ให้ รายละเอียดเพิม่ เติม
5. พืน้ ทีป่ ระเทืองปัญญา เปิ ดเวทีให้ ผู้สนใจได้ เข้ ามาศึกษาค้ นคว้ า
แลกเปลีย่ นได้ สะดวกขึน้ ไม่ ติดขัดทางด้ านเวลาและระยะทาง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การกาหนดปัจจัยแห่ งความสาเร็จในตารางอิสรภาพ
1. กาหนดจากขั้นตอนหรือกระบวนการในการทางาน
(Process)
2. ปัจจัยนาเข้ าที่ใช้ ในการทางาน(Input)
3. กาหนดจากผลลัพธ์ ของความสาเร็จ(Results)
4. กาหนดจากขีดความสามารถที่จะปฏิบัติงานนั้นๆให้ สาเร็จ
(Competency)
Knowledge Vision
“การให้บริการห้องสมุดอย่ างมีคณ
ุ ภาพ ”
ปัจจัย/องค์ ประกอบ
1. ความพึงพอใจของผู้มาใช้ บริการ
2. ความครอบคลุ มของผู้มาใช้ บริการ
3. การมาใช้ บริการซ้าของผู้ใช้ บริการ
4. การได้ รับการยอมรับจากชุ มชนภายนอก
5. การชารุดของหนังสือ
6. การสู ญหายของหนังสือ
7. ความทันสมัยของหนังสือ ทีใ่ ห้บริการ
เริมต้
่ น
(ระดับ 1)
พอใช้
(ระดับ 2)
ดี
( ระดับ
3)
ดีมาก
(ระดับ 4)
ดีเ ยียม่
(ระดับ 5)
อัตราความพึงพอใจของผู้ใช้ บริการ
1 = อัตราความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริ การ ร้อยละ 50หรื อน้อยกว่า
2 = อัตราความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริ การ ร้อยละ 60
3 = อัตราความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริ การ ร้อยละ70
4 = อัตราความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริ การ ร้อยละ 80
5 = อัตราความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริ การ ร้อยละ 90หรื อมากกว่า
Knowledge Vision
“เพื่อพัฒนาคุณภาพและได้รับการรับรองมาตรฐานโรงพยาบาล (HA)”
ปัจจัย/องค์ประกอบ
1. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย
2. การทบทวนความคิดเห็น/คาร้ องเรียนของ
ผู้รับบริการ
3. การทบทวนการส่ งต่ อ/ขอย้ าย/ปฏิเสธการรักษา
4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชานาญกว่า
5. การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง
6. การป้องกันและเฝ้ าระวังการติดเชือ้ ในโรงพยาบาล
7. การป้องกันและเฝ้ าระวังความคลาดเคลือ่ นทางยา
8. การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สาคัญ
9. การทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกเวช
ระเบียน
10. การทบทวนการใช้ ข้อมูลวิชาการ
11. การทบทวนการใช้ ทรัพยากร
12. การติดตามเครื่องชีว้ ดั สาคัญ
เริ่มต้ น
(ระดับ 1)
พอใช้
(ระดับ2)
ดี
( ระดับ3)
ดีมาก
(ระดับ4)
ดีเยีย่ ม
(ระดับ5)
องค์ประกอบที่ 6: การป้องกันและเฝ้ าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ระดับ 5 -
มีการเชื่อมโยงการป้องกันการติดเชื้อกับระบบอืน่ ๆ ใน
โรงพยาบาล
ระดับ 4 -
มีการประเมินผลประสิทธิภาพของการป้องกัน
ระดับ 3 -
มีการนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ หาสาเหตุและ
วางแผนแก้ไข และมีการปฏิบัตติ ามมาตรการที่กาหนด
ระดับ 2 -
มีคณะกรรมการ IC, มี ICN, ระบบการเก็บรวบรวมข้อมูลที่
เหมาะสมและเป็ นไปในทางเดียวกัน
มีมาตรการการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลเดียวกัน
ระดับ 1 -
มีแนวทางการปฏิบัตเิ พื่อป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
มีระบบการเก็บข้อมูลการติดเชื้อในหน่ วยงาน
การประชุมเชิงปฏิบตั ิ การ มูลนิธิเด็กอ่อนในสลัมฯ
4 – 5 ตุลาคม 2548
ตารางอิสรภาพ “งานได้ผล ตนสุขใจ”
งานได้ ผล
ตนสุขใจ
ทางานได้ ตาม
มาตรฐาน และ/หรือ
ตามแนวทางที่ต้งั ไว้
สุ ขใจเพราะทางานได้
ตามที่รับผิดชอบ
ทาได้ ตามที่ได้ รับ
มอบหมาย
ทางานได้ บรรลุ
เป้าหมาย
สามารถตอบสนอง
ความต้ องการของ
หน่ วยงานได้
สุ ขและสนุกกับงาน
สามารถสร้ าง
ความพึงพอใจ
ให้ กับผู้ท่ ี
เกี่ยวข้ อง
ทางานได้ เหนือ
ความคาดหมาย
สร้ างความ
ประทับใจให้ กับ
ทางานได้ อย่ างมี ผู้ท่ เี กี่ยวข้ อง
ประสิทธิภาพ
สุ ขเพราะมีใจจดจ่ อ สุ ขเพราะเห็น
อยู่กบั งาน
คุณค่าของงานที่
มีสัมพันธภาพที่ดกี บั ผู้
ทา
ที่เกีย่ วข้ อง
คิดเชิงบวกและมอง
โลกในแง่ ดี
ทางานด้ วยใจ
มีการปรั บปรุ ง
และพัฒนาการ
ทางาน
ให้ ดีย่ งิ ๆ ขึน้ ไป
สุ ขเพราะการ
ทางานประสาน
กลมกลืนกับการ
ดาเนินชีวติ
สามารถ
บูรณาการ งานและ
ชีวติ ได้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน: Process
1. การจัดทาบัตรและรับเข้ าสู่ บริการ
2. การตรวจประเมินเบือ้ งต้ นก่ อนพบแพทย์
3. การตรวจค่ านา้ ตาลในเลือด
4. การรักษาและการจ่ ายยา
5. การแนะนาเรื่องการรับประทานยาและการปฏิบัติตัว
6. การตรวจติดตามอย่ างต่ อเนื่อง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน: Result
1. การควบคุมระดับนา้ ตาลในเลือดในระดับปกติ
2. การเกิดภาวะแทรกซ้ อนจากเบาหวาน
3. ความพึงพอใจของผู้ป่วยทีม่ าระบบริการ
4. ความร่ วมมือในการรักษา
5. การปฏิบัตติ วั หรือพฤติกรรมสุ ขภาพเหมาะสม
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน: Competency
1. การให้ การวินิจฉัยโรค
2. การให้ สุขศึกษาเพือ่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุ ขภาพ
3. การรักษาอย่ างเหมาะสมกับโรคทีผ่ ู้ป่วยเป็ น
4. การสื่ อสารกับผู้ป่วยและญาติ
5. พฤติกรรมบริการที่ดี
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การให้ บริการห้ องสมุดอย่ างมีคุณภาพ: Input
1. จานวนบรรณารักษ์
2. คุณลักษณะของบรรณารักษ์
3. บริเวณหรือห้ องให้ บริการ
4. ประเภทและจานวนของหนังสื อและสื่ อต่ างๆ
5. งบประมาณทีใ่ ช้ ในการทางาน
6. อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการทางานหรือเครื่องมือต่ างๆ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การให้ บริการห้ องสมุดอย่ างมีคุณภาพ: Process
1. การจัดทาบัตรสมาชิก
2. การต้ อนรับผู้มาใช้ บริการ
3. การให้ บริการยืมหนังสื อ
4. การให้ บริการคืนหนังสื อ
5. การซ่ อมบารุ งหนังสื อ
6. การประชาสั มพันธ์ การใช้ ห้องสมุด
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การให้ บริการห้ องสมุดอย่ างมีคุณภาพ: Result
1. ความพึงพอใจของผู้ใช้ บริการ
2. ความครอบคลุมของผู้ใช้ บริการ
3. การมาใช้ บริการซ้าของผู้ใช้ บริการ
4. การได้ รับการยอมรับจากชุมชน
5. การชารุ ดหรือสู ญหายของหนังสื อทีใ่ ห้ บริการ
6. ความทันสมัยของหนังสื อที่มีให้ บริการ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การให้ บริการห้ องสมุดอย่ างมีคุณภาพ: Competency
1. พฤติกรรมบริการ
2. การให้ บริการยืมหรือคืนหนังสื อ
3. การสร้ างความรู้ ความเข้ าใจในการใช้ บริการ
4. การสื่ อสารหรือการประชาสั มพันธ์
5. การมุ่งความสาเร็จของงาน
6. การดูแลหนังสื อหรือสื่ อต่ างๆในห้ องสมุด
กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA
(Self Assessment Framework for HA)
ร.พ. ที่ 1
1. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย
2. การทบทวนความคิดเห็น/คาร้ องเรียนของ
ผู้รับบริการ
3. การทบทวนการส่ งต่ อ/ขอย้ าย/ปฏิเสธการรักษา
4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชานาญกว่ า
5. การค้ นหาและป้ องกันความเสี่ ยง
6. การป้ องกันและเฝ้ าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
7. การป้ องกันและเฝ้ าระวังความคลาดเคลือ่ นทางยา
8. การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์ สาคัญ
9. การทบทวนความสมบูรณ์ ของการบันทึกเวช
ระเบียน
10. การทบทวนการใช้ ข้อมูลวิชาการ
11. การทบทวนการใช้ ทรัพยากร
12. การติดตามเครื่องชี้วดั สาคัญ
เริ่มต้ น
(ระดับ 1)
พอใช้
(ระดับ2)
ดี
( ระดับ3)
ดีมาก
(ระดับ4)
ดีเยีย่ ม
(ระดับ5)
บท
กา
รท
บท
วน
ก
กา
รต
ดิ ต
คร
าง
ยา
บยี
น
าค
ัญ
ยา
กร
วชิ
าก
าร
ะเ
ชท
้ร
ัพ
ม ูล
วช
ร
อื่ ง
ชวี้
ดั ส
าร
ใ
ชข
้ อ้
วน
ก
าร
ใ
าม
เ
บท
วน
ก
ท
ยา
บา
ล
สยี่
ง
าร
ณ
ส์ า
คั ญ
กึ เ
หต
กุ
อื่ น
โร
งพ
คล
ใน
ลา
ดเ
ชอื้
คว
าม
เ
ยผ
ชู ้ า
นา
ญ
กว
า่
งก
าร
บัน
ท
กา
รท
บท
มบ
รู ณ
ข์ อ
กา
รท
าม
ค
ดิ เ
ผปู
้ ่ว
ยจ
าก
เ
วงั
คล
วงั
กา
รต
แู ล
ฝ้า
ระ
าร
ด
ะเ
วา
มส
บท
แล
ฝ้า
ระ
าร
ผปู
้ ่ว
ย
กา
รร
ักษ
า
สธ
ะป
้อ
งก
ัน
รว
จร
ักษ
าโ
ด
แู ล
อง
ผรู
้ ับ
บร
กิ
ณ
ะด
ปฏ
เิ
ยี น
ข
วน
ข
อย
า้ ย
/
งเ
ร
บท
น้ ห
าแ
ล
าร
ต
กา
รค
วน
ก
/ข
คา
รอ้
กา
รท
ง่ ต
อ่
หน็
/
าร
ส
ดิ เ
ะเ
บท
แล
วน
ค
กา
รท
กา
รป
้อ
งก
ัน
กา
รป
้อ
งก
ัน
กา
รท
วน
ก
วา
มค
บท
วน
ค
กา
รท
กา
รท
Level
ระดับปัจจุบนั ของ รพ.ที่ 1 และรพ.อื่นๆ
5
4
3
2
1
กา
รท
วา
มส
าม
ค
กา
รต
าม
เ
ทา
งย
า
ะเ
บยี
น
รัพ
อื่ ง
ชวี้
ดั ส
ชท้
าค
ัญ
ยา
กร
ูล ว
ชิ า
กา
ร
วช
ร
อ้ ม
าร
ใ
คร
อื่ น
าร
ณ
ส์ า
คั ญ
กึ เ
ชข้
สยี่
ง
โร
งพ
ยา
บา
ล
หต
กุ
บท
วน
ก
ดิ ต
กา
รท
าร
ใ
กา
รร
ักษ
า
คว
าม
เ
คล
ใน
งก
าร
บัน
ท
บท
วน
ก
มบ
รู ณ
ข์ อ
สธ
าร
ผปู
้ ่ว
ย
ยผ
ชู ้ า
นา
ญ
กว
า่
ลา
ดเ
ผปู
้ ่ว
ยจ
าก
เ
วงั
คล
ชอื้
แู ล
อง
ผรู
้ ับ
บร
กิ
ะป
้ อง
กั น
ดิ เ
น้ ห
าแ
ล
วงั
กา
รต
กา
รท
ยี น
ข
ณ
ะด
อย
า้ ย
/ป
ฏเิ
งเ
ร
บท
วน
ข
รว
จร
ักษ
าโ
ด
แู ล
ฝ้า
ระ
ฝ้า
ระ
าร
ด
ะเ
บท
วน
ก
แล
ะเ
กา
รค
าร
ต
/ข
คา
รอ้
กา
รท
ง่ ต
อ่
หน็
/
บท
วน
ก
แล
บท
วน
ค
กา
รท
กา
รป
้ อง
กั น
กา
รป
้ อง
กั น
กา
รท
ดิ เ
าร
ส
วา
มค
บท
วน
ก
บท
วน
ค
กา
รท
กา
รท
Level
ระดับที่แตกต่ างของแต่ ละองค์ประกอบ
5
4
3
2
1
กา
รท
บท
วน
ขณ
ดิ เ
ห็น
ะด
กา
/ค
แู ล
รท
าร
ผปู
อ
บท
้ ่ว
้ง
ย
เ
วน
รีย
กา
นข
รส
อง
ง่ ต
ผรู
้ ับ
อ่ /
บร
กา
ขอ
กิ า
รท
ยา
ร
้ย
บท
/
วน
ปฏ
กา
เิ ส
รต
ธก
รว
าร
จร
รัก
ั กษ
ษ
า
าโ
ดย
ผชู
กา
กา
้า
รค
รป
นา
น้ ห
้ อง
ญ
าแ
กว
กั น
ละ
า่
แล
ป
ะเ
้ อง
ฝ้า
กั น
ระ
กา
คว
วงั
รป
าม
กา
้ อง
เส
รต
กั น
ยี่ ง
ดิ เ
แล
ชอื้
ะเ
ใน
ฝ้า
โร
ระ
งพ
วงั
กา
ยา
คล
รท
บา
าม
บท
ล
คล
วน
าด
กา
เค
รด
กา
ลอื่
แู ล
รท
นท
ผปู
บท
้
าง
่ วย
วน
ยา
จา
คว
กเ
าม
หต
สม
กุ า
บรู
รณ
ณ
ข์ อ
ส์ า
งก
คัญ
าร
บนั
ทก
กา
ึเ
รท
วช
ระ
บท
เบ
วน
ยี น
กา
รใ
ชข
้ อ้
มูล
กา
วชิ
รท
าก
บท
าร
วน
กา
รใ
ชท
้ร
กา
ัพ
รต
ยา
ดิ ต
กร
าม
เค
รอื่
งช
วี้ ดั
สา
คัญ
กา
รท
บท
วน
คว
าม
ค
Level
“ธารปัญญา”
แสดงระดับปัจจุบนั ของ รพ. ที่ 1 เมื่อเทียบกับกลุ่ม
5
4
3
2
1
กา
รท
บท
วน
ขณ
ดิ เ
ห็น
ะด
กา
/ค
แู ล
รท
าร
ผปู
อ้ ง
บท
้ ่ว
ย
เ
วน
รีย
กา
นข
รส
อง
ง่ ต
ผรู
้ ับ
อ่ /
บร
กา
ขอ
กิ า
รท
ยา
ร
้ย
บท
/
วน
ปฏ
กา
เิ ส
รต
ธก
รว
าร
จร
รัก
ั กษ
ษ
า
าโ
ดย
ผชู
กา
กา
้า
รค
รป
นา
น้ ห
้ อง
ญ
าแ
กว
กั น
ละ
า่
แล
ป
ะเ
้ อง
ฝ้า
กั น
ระ
กา
คว
วงั
รป
าม
กา
้ อง
เส
รต
กั น
ยี่ ง
ดิ เ
แล
ชอื้
ะเ
ใน
ฝ้า
โร
ระ
งพ
วงั
กา
ยา
คล
รท
บา
าม
บท
ล
คล
วน
าด
กา
เค
รด
กา
ลอื่
แู ล
รท
นท
ผปู
บท
้ ่ว
าง
วน
ย
ยา
จา
คว
กเ
าม
หต
สม
กุ า
บรู
รณ
ณ
ข์ อ
ส์ า
งก
คัญ
าร
บนั
ทก
กา
ึเ
รท
วช
ระ
บท
เบ
วน
ยี น
กา
รใ
ชข
้ อ้
มูล
กา
วชิ
รท
าก
บท
าร
วน
กา
รใ
ชท
้ร
กา
ัพ
รต
ยา
ดิ ต
กร
าม
เค
รอื่
งช
วี้ ดั
สา
คัญ
กา
รท
บท
วน
คว
าม
ค
Level
ช่ องว่ าง (Gap) ระหว่ างระดับทีเ่ ป็ นเป้ าหมาย (Target) กับระดับปัจจุบัน (Current)
ในเรื่องการป้ องกันและเฝ้ าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
5
Target
4
3
2
Current
1
LEVEL
5
ร.พ.7
4
ร.พ.2, 8
6. การป้องกันและเฝ้ าระวัง
การติดเชื้อในโรงพยาบาล
พร้ อมให้
ร.พ.5, 9
3
2
ใฝ่ รู้
ร.พ.6
ร.พ.1
1
ร.พ.3
ร.พ.4
0
1
2
GAP ( = Target minus Current)
ร.พ.10, 11
3
4
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
เรื่องเล่าเร้าพลัง
• แบ่งกลุ่มคละ เพื่อความหลากหลาย
• เล่าความภาคภูมิใจ/เทคนิค/เคล็ดลับในการทางาน
ของตนเองที่เคยทามาแล้ว
- ความภาคภูมิใจ/เคล็ดลับอะไร
- วิธีการ
• กลุ่มช่วยกันสรุปว่าจากที่แต่ละคนเล่ามามีส่วน ที่
เหมือนกัน ต่างกัน อะไรบ้าง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ผูเ้ ล่า
• เล่าให้น่าสนใจ น่ าจดจา
• เล่าตามความเป็ นจริง
• เล่าความสาเร็จ ความภูมิใจ ทัง้ เรือ่ งเล็กเรือ่ งใหญ่ที่
เกี่ยวข้องกับเป้ าหมายของกิจกรรม
• เล่าให้เห็นตัวละคร เห็นพฤติกรรม การกระทา บริบท
• ไม่ตีความ
• แสดงออกมาในหน้ าตา แววตา ท่าทาง น้าเสียง
อุปมาอุปไมย
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ผูฟ
้ ัง/ซักถาม
เส้นทางสู่ความภาคภูมิใจ ทาอย่างไร
• คนส่วนใหญ่พดู > ฟัง
• ฟังอย่างตัง้ ใจ
• อย่าด่วนสรุป
• พยายามจับเนื้ อหาสาระที่ผเู้ ล่าต้องการสื่อสาร
• ถามอย่างชื่นชม เพื่อเข้าใจมากขึน้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
Dialogue – ไดอะล็อก
“the flow of meaning”
การเลือ่ นไหลของความหมาย... ไปสู่ อะไรบางอย่ าง
เราเองก็ยงั ไม่ ร้ ู ... ว่ ามันคืออะไร
ถ้ ารู้... ก็ไม่ ใช่ dialogue
สิ่ งทีท่ าได้ ... ก็คอื อย่ าไป “block” มัน
ทั้งภายนอก (block คนอืน่ )
และภายใน (block ความคิดตนเอง)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
อ. วิศิษฐ์ วังวิญญู เรียก dialogue ว่า…. “สุนทรียสนทนา”
เพราะมันเป็ นการสนทนาที่สวยงาม สด ใส ออกมาจากใจ
อาจารย์ประพนธ์เรียก dialogue ว่า…. “สัมปชัญญะสนทนา”
เพราะมันเป็ นการสนทนาที่ต้องระลึกรู้อยู่ตลอดเวลา
เป็ นการฝึ กฟังอย่างตัง้ ใจ (attentive listening)
ฟังอย่างลึกซึ้ง (deep listening)
ได้ยินเสียงที่พดู ออกไป ได้ยินเสียงที่อยู่ภายใน
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
หลักง่ ายๆที่ใช้ ในการทา Dialogue
• พูด ออกมาจากใจ ไม่ใช่ จากการจา ทาให้ เป็ นธรรมชาติ เป็ น
ปัจจุบัน ไม่ ต้องเสแสร้ ง แกล้ งทาให้ ดูดี
• ฟัง อย่ างตั้งใจ ไม่ คดิ หาคาตอบ ไม่ ต้องตอบโต้ ไม่ ตัดสิ น
ประเด็นความ ไม่ ตดั สิ นผู้อนื่
• เคารพ ความแตกต่ าง ให้ ความเท่ าเทียม ไม่ เอาเรื่องคุณวุฒิ
วัยวุฒิ หรือตาแหน่ งมาขวางกั้น
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
คุณลิขิต : จดอะไรบ้าง
• เรื่องเล่าย่อๆ ไม่ต้องจดทุกคาพูด แต่กไ็ ม่ย่อ
จนสัน้ เกินไป
• ชื่อ เบอร์โทร เจ้าของเรื่องเล่า
• ชื่อคน ที่มีการกล่าวถึงในเรื่องเล่า
• เคล็ดลับ/เทคนิค/ประเด็นสาคัญจากเรื่องเล่า
ฯลฯ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
บทบาท Knowledge Facilitators หรือวิทยากร
กลุา่ มงความเข้ าใจให้ สมาชิกกลุ่มในกิจกรรมทีจ่ ะทาร่ วมกัน
1. สร้
2. สร้ างความรู้ สึกเป็ นกันเอง ผ่ อนคลายให้ กบั สมาชิกกลุ่ม
3. ทาให้ สมาชิกกลุ่มได้ ร้ ู จกั กัน สนิทสนม ไว้ ใจกัน รักกัน เข้ าใจกัน
4. กระตุ้นให้ สมาชิกกลุ่ม ขุดเอาสิ่ งดีๆทีซ่ ่ อนอยู่ในตัวออกมาเล่ า
5. มีความอดทนและความมุ่งมั่นสู ง ไม่ ขบี้ ่ น
6. จับประเด็นเก่ ง วิเคราะห์ บรรยากาศทีมและองค์ กรได้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
AAR (After Action Review)
1.
2.
3.
4.
ได้ ตามความคาดหวังหรือไม่ เพราะอะไร
ยังไม่ ได้ ตามความคาดหวังคืออะไร
เทคนิค เคล็ดลับดีๆ ของเพื่อนที่เราจะเอาไปใช้ ในพืน้ ที่
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั ง้ ต่ อไป ควรจะมีรูปแบบ
อย่ างไร ผู้เข้ าร่ วมควรเป็ นใคร เรื่องอะไร
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ขั้นตอนการทากิจกรรมกลุ่มแลกเปลีย่ นเรียนรู้
1. กิจกรรมกลุ่มสั มพันธ์ รู้ จกั รู้ ใจ
2. การทา BAR (Before action review)
3. เลือกผู้ทาหน้ าทีป่ ระธานกลุ่ม คุณอานวย คุณกิจ คุณลิขติ
4. กาหนดข้ อตกลงของกลุ่ม
5. กาหนด KV (Knowledge vision)
6. การทาสุ นทรียสนทนาด้ วยกิจกรรม AI (Appreciative inquiring)
7. การทา DAR (During action review)
8. การใช้ เครื่องมือชุดธารปัญญา : ตารางอิสรภาพ แม่ นา้ ขั้นบันได
9. กิจกรรม AAR (After action review)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
สรุปลักษณะสาคัญของเวทีการจัดการความรู้
1. เน้ นลักษณะสาคัญ 4 ประการคือพูดอย่ างจริงใจ ฟังอย่ างตั้งใจ
ถามอย่ างซาบซึ้งใจและจดอย่ างเข้ าใจใส่ ใจ
2. เป็ นกิจกรรมกลุ่มทีท่ าเพือ่ ระดมปัญญา (Wisdom storming) คือ
ช่ วยกันระดมเอาความรู้ ภาคปฏิบัตหิ รือสิ่ งทีท่ าแล้ วได้ ผลดี
ออกมาให้ กลุ่มได้ รับทราบเพือ่ หยิบจับเอากลับไปประยุกต์ หรือ
ปรับใช้ ในพืน้ ที่ของตนเอง
3. เล่ าถึงความสาเร็จว่ าคืออะไร สาเร็จอย่ างไร สาเร็จได้ ด้วยวิธีใด
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การจัดการให้ เกิดขุมทรัพย์ ความรู้ (Knowledge assets)
1. หัวใจสาคัญของการจัดการขุมทรัพย์ ความรู้
2. การบันทึกขุมทรัพย์ ความรู้ และแฟ้มงานเพือ่ การพัฒนา
3. ประเภทของขุมทรัพย์ ความรู้ :วิธีทางาน นวัตกรรม เครือข่ ายชช.
4. รู ปแบบการเก็บและสถานทีเ่ ก็บขุมทรัพย์ ความรู้
5. การเข้ าถึงขุมทรัพย์ ความรู้
6. บทบาทของบรรณารักษ์ ความรู้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
หัวใจสาคัญของการจัดการขุมทรัพย์ ความรู้
1. เป็ นการเก็บแบบสั่ งสม(Accumulation)ไม่ ใช่ การสะสม
(Collection) จึงไม่ ใช่ ปู่โสมเฝ้ าทรัพย์
2. กาหนดรูปแบบ ประเภท การจัดเก็บ การลงทะเบียนให้ ง่ายต่ อการ
นาไปใช้ ต่อหรือต่ อยอดได้
3. มีการกาหนดเวลาการทบทวนเพือ่ ให้ ความรู้เหมาะสมกับการใช้ งาน
4. องค์ ความรู้สามารถปรับเปลีย่ นได้ คอื ปรับให้ เหมาะกับสถานการณ์ และ
เปลีย่ นให้ สอดคล้องกับความต้ องการของลูกค้ าได้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
การบันทึกขุมทรัพย์ ความรู้ (Knowledge Assets)
•
•
•
•
เรื่องเล่า &คาพูด
“
“เราทดลองวิธีการใหม่
…”
“
แหล่งข้ อมูล/บุคคล
“
•
ประเด็น/หลักการ
“
•
โทร. ...
..... เป็ นขุมความรู้ (Knowledge Assets)
ที่มีบริบท และรายละเอียด ตามกาละและเทศะทีต่ ้ องการความรู้น้ัน
ทีม่ า ดร.ประพนธ์ ผาสุ กยืด
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ประเด็นสาคัญในการเขียนเอกสารคุณภาพ(Document)
1. ชื่อเรื่อง : QP,WI,CPG เรื่องอะไร
2. วัตถุประสงค์ : เพือ่ ป้องกันความเสี่ ยงอะไร เพือ่ ให้ เกิดจุดคุณภาพอะไร
3. วิธีปฏิบัติ : ทาอย่ างไรบ้ าง มีข้นั ตอนการปฏิบัติอย่ างไร
4. ตัวชี้วดั : ทาตามนีแ้ ล้วเกิดผลดีอะไร
5. ผู้เกีย่ วข้ อง : ใครเขียน ใครต้ องใช้ บ้าง
6. การประกาศใช้ : ฉบับที่ วันที่ ผู้อนุมัติ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
แฟ้มงานเพือ่ การพัฒนา(Portfolio) : แฟ้ มหน่ วยงาน
ที่
สิ่ งทีภ่ าคภูมิใจ/
นวัตกรรม
ประโยชน์ ที่ได้
ผู้จดั ทา
วันที่
แหล่ง
อ้างอิง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
สถานทีเ่ ก็บขุมทรัพย์ ความรู้
เป็ นส่ วนคลังความรู้ ทที่ าให้ มีการนาความรู้ ไปใช้ งานและมีการ
ต่ อยอดยกระดับขึน้ ไปเรื่อย ๆ
• ภายในโรงพยาบาล : แฟ้ มผลงานในแผนก(Portfolio),
ศูนย์ พฒ
ั นาคุณภาพ,ศูนย์ สารสนเทศโรงพยาบาล,เอกสารสรุ ป
ผลงานประจาปี ของโรงพยาบาล
• ในWeb site : www.bantakhospital.com
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ประเภทของขุมทรัพย์ ความรู้
1. วิธีการทางานที่ดี (Best practice)
2. นวัตกรรม (Innovation)
2.1 นวัตกรรมเชิงระบบ
2.2 นวัตกรรมสิ่ งประดิษฐ์
3. เครือข่ ายผู้เชี่ยวชาญ (Expert Network)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ประเภทของขุมทรัพย์ ความรู้ : Best Practice
Best practice ประกอบด้ วยเอกสารคุณภาพ ดังนี้
1. คู่มือคุณภาพ 29 เรื่อง(แผนก)
2. ระเบียบปฏิบัติ 105 เรื่อง,CPG 12 เรื่อง
3. วิธีปฏิบัติ 260 เรื่อง
4. CQI story 30 เรื่อง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ประเภทของขุมทรัพย์ ความรู้ : นวัตกรรมเชิงระบบบริการ
นวัตกรรมเชิงระบบประเภทบริการ เช่ น
1.การดูแลผู้ป่วยโดยสหสาขาวิชาชีพ
2.คลินิกอดบุหรี่แบบทีม (Team Motivating
Psycho-supportive Therapy)
3.การดูแลCOPDแบบครบวงจร
4.การติดตามดูแลผู้ป่วยทีบ่ ้ านและชุมชน(HHC)
5.การดูแลผู้ป่วยเอดส์ แบบครบวงจร(AIDS)
6.การบาบัดยาเสพติดแบบMatrix Program ในชุมชน
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ประเภทของขุมทรัพย์ ความรู้ : นวัตกรรมเชิงระบบบริหาร
นวัตกรรมเชิงระบบประเภทบริหาร เช่ น
1.ตัวแบบบูรณาการ 10 ขั้นตอนสู่ บ้านคุณภาพสร้ างสุ ข
2.ตัวแบบการวางแผนกลยุทธ์ เพือ่ บรรลุผลสั มฤทธิ์องค์ กร
3.คณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาล
4.การปรับโครงสร้ างการบริหารโรงพยาบาล
5.การจัดผังองค์ กรคุณภาพแบบผสมผสาน
6.กิจกรรม 5 ส แบบคร่ อมหน่ วยงาน
7.การพิจารณาความดีความชอบแบบทีมงาน
8.การใช้ ระบบHospital Os ในการบริการแบบe-hospital
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
ประเภทของขุมทรัพย์ ความรู้ : นวัตกรรมสิ่ งประดิษฐ์
นวัตกรรมเชิงสิ่ งประดิษฐ์ เช่ นตู้อบเครื่องมือแพทย์ ,กริ่งเรียก
พยาบาลหอผู้ป่วยใน(Nursing Call) ,เครื่องส่ องไฟเด็กแรก
เกิดตัวเหลือง(Phototherapy), ที่เก็บฟิ ล์ มห้ องทันตกรรม,
ทีจ่ บั โคมไฟ Unit ทาฟัน, แผนการสอนประกอบรู ปภาพ,
เตียงนวดเอนกประสงค์, ยางรัดสายสะดือสะดวกใช้ , ตู้ยูวี
(UV) กาจัดเชื้อ, กล่ องตาก SLIDE, อุปกรณ์ บริหารข้ อมือ
และข้ อไหล่, ราวหัดเดิน/ที่บริหารข้ อเข่ า( Quardriceps
board) ,ที่หยดคลอรีนฆ่ าเชื้อโรค, ทีห่ ยดสารส้ ม, รถเข็น
ขยะติดเชื้อ ,ถุงดักขยะ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
นวัตกรรมสิ่ งประดิษฐ์
Nursing call
ตู้อบเครื่องมือ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
นวัตกรรมสิ่ งประดิษฐ์
เครื่อง
ส่ องไฟ
รักษาเด็ก
ตัวเหลือง
ก่อน
หล ัง
ห้อง LR / OR
นำ้ แข็งมห ัศจรรย์ ในหอผูป
้ ่ วยในชำย
ก่อน
หล ัง
ก่อน
แว่นตำลูกร ัก
หอผูป
้ ่ วยในหญิง
หล ัง
ก่อน
อ้อมกอดแม่
หอผูป
้ ่ วยในหญิง
หล ัง
ก่อน
ถ้วยยำอำโนแนะ
หอผูป
้ ่ วยในหญิง
กำรเก็บแฟ้มผูป
้ ่ วยใน
ของงำนเวชระเบียน
ยกเลิกแฟ้มผูป
้ ่ วย
้ อมพิวเตอร์
นอกใชค
ออนไลน์
หล ัง
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets
บทบาทของบรรณารักษ์ ความรู้ (KM Librarian)
1. เป็ นผู้ดูแลคลังความรู้ หรือขุมทรัพย์ ความรู้
2. กาหนดหมวดหมู่ หลักการ แนวทางการขึน้ ทะเบียนความรู้
3. กระจายความรู้(Distribution)เพือ่ ให้ พนักงานเข้ าถึงง่ าย
4. ติดตามการทบทวน แก้ ไขความรู้ หรือองค์ ความรู้ ทนี่ ามาใช้
5. กระตุ้นให้ มีการปรับเปลีย่ นองค์ ความรู้ อย่ างเหมาะสม
6. สั่ งสมองค์ ความรู้ ขององค์ การ ไม่ ใช่ แค่ สะสมรวบรวมไว้
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
การวัดความสาเร็จของการจัดการความรู้ ในองค์ การ
1.
2.
Process Evaluation : การวัดว่ าองค์ กรมี
การนาการจัดการความรู้ มาใช้ หรือไม่ ทาอะไรบ้ าง
มากน้ อยแค่ ไหน ทาหรือไม่ ทา มีอะไรบ้ างซึ่งเป็ นการ
วัดตัวเครื่องมือ
Result Evaluation : การวัดว่ าการจัดการ
ความรู้ ทาให้ เกิดผลสั มฤทธิ์ทดี่ อี ะไรบ้ างต่ อองค์ กร
ลูกค้ าหรือเจ้ าหน้ าที่ เป็ นการวัดเป้าหมายหรือ
วัตถุประสงค์ ของการจัดการความรู้ ซึ่งสาคัญมาก
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
การวัดผลการจัดการความรู้
Process Measurements
1. จานวนครั้งของการเข้ าเยีย่ มชม web site
2. จานวนครั้งของการใช้ ความรู้ ประเภทต่ าง ๆ
Output Measurements
1. จานวนความรู้ ทจี่ ัดเก็บ
2. จานวนกรณีศึกษาที่จัดเก็บ
3. จานวน Best Practice ทีจ่ ัดเก็บ
4. จานวนผู้เชี่ยวชาญ
5. จานวนสมาชิกในชุ มชนการปฏิบัติ
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
การประเมินการจัดการความรู้ ในโรงพยาบาลบ้ านตาก
ตัวชี้วดั ทางการเงิน
1. อัตราส่ วนสภาพคล่อง
2. อัตราส่ วนความไว
ตัวชี้วดั ด้ านการเรียนรู้ และพัฒนา
3. ต้ นทุนค่ าใช้ จ่ายด้ านการ
รักษาพยาบาลผู้ป่วยใน
5. อัตราการโยกย้ าย – ลาออก
6. อัตราการหยุดงาน
7. การมีส่วนร่ วมในกิจกรรม
โรงพยาบาล
8. อัตราการเกิดนวัตกรรมต่ อเป้าหมาย
4. ต้ นทุนค่ าใช้ จ่ายด้ านการ
รักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก
9. อัตราความผิดพลาดของการ
ให้ บริการ
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
การประเมินการจัดการความรู้ ในโรงพยาบาลบ้ านตาก
ตัวชี้วดั ด้ านกระบวนการภายใน
10. อัตราการได้ รับบริการเสร็จสิ้นใน
ระยะเวลาที่กาหนด
11. อัตราการติดเชื้อ
12. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้ อน
13. อัตราความสมบูรณ์ ของเวชระเบียน
ผู้ป่วยใน
14. อัตราความสมบูรณ์ ของเวชระเบียน
ผู้ป่วยนอก
15. อัตราการตอบสนองข้ อร้ องเรียนที่
เป็ นจริง
16.
17.
18.
19.
20.
อัตราการกลับมารักษาซ้า
อัตราครองเตียง
อัตราคงคลัง
อัตราความคลาดเคลือ่ นทางยาผู้ป่วยใน
อัตราความคลาดเคลือ่ นทางยาผู้ป่วย
นอก
21. อัตราการปฏิเสธการรักษา (กรณี รพ.
รักษาได้ )
22. อัตราการติดตามดูแลต่ อเนื่องทีบ่ ้ าน
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
การประเมินการจัดการความรู้ ในโรงพยาบาลบ้ านตาก
ตัวชี้วดั ด้ านผู้รับบริการ
1.
2.
23. อัตราการตายรวม
24. อัตราความพึงพอใจของผู้รับบริการ 3.
4.
ผู้ป่วยใน
25. อัตราความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5.
6.
ผู้ป่วยนอก
26. อัตราการครอบคลุมของการขึน้
7.
ทะเบียนบัตรสุ ขภาพถ้ วนหน้ า
8.
27. อัตราการบรรลุเป้ าหมายการ
9.
ส่ งเสริมป้องกันโรค (10 รายการ)
10.
ประกอบด้ วย
อัตราตายทารก
อัตราตายมารดาตั้งครรภ์ และคลอดบุตร
อัตราทารกแรกเกิดที่มีนา้ หนักน้ อย
อัตราภาวะทุพโภชนาการในเด็ก0-5 ปี
อัตราการได้ รับวัคซีน
อัตราการพยายามฆ่ าตัวตายหรือการฆ่ า
ตัวตายสาเร็จในประชาชน
อัตราป่ วยด้ วยโรคไข้ เลือดออก
อัตราการติดเชื้อเอดส์ รายใหม่
อัตราเด็ก0-5ปี มีพฒ
ั นาการสมวัย
อัตราตายจากอุบัตเิ หตุ
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
ประโยชน์ ของการจัดการความรู้ ในโรงพยาบาล
1. ต่ อองค์ การ เช่ น ขยายและพัฒนาโรงพยาบาลโดยไม่ ใช้ เงิน
งบประมาณด้ านอาคารสถานที่ เครื่องมือแพทย์ ,พัฒนา
โรงพยาบาลได้ แม้ จะมีทรัพยากรจากัด,ผ่านการประเมิน
HA/HPH/HWP
2. ต่ อเจ้ าหน้ าที่ เช่ นความเครียดในการทางานลดลง,การ
กระทบกระทั่งกันระหว่ างแผนก/วิชาชีพลดลง,บรรยากาศการ
ทางานดีขึน้ ,ได้ ใช้ ศักยภาพทีม่ ีอยู่มากขึน้ ,คุ้นเคยกันมากขึน้
3. ต่ อประชาชน เช่ นสถานะสุ ขภาพดีขนึ้ ,ความพึงพอใจบริการ
4. ต่ อผู้บริหาร มีเวลาทาหน้ าทีC
่ EOมากขึน้ ลดงานประจาลง
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
ประชาชนมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
โรงพยาบาลอยู่รอด
เจ้ าหน้ าทีม่ ีความสุ ข
To Be The Hospital of Choice
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
ถามใจตัวเองเมือ่ จะนาการจัดการความรู้ มาใช้
เรา(องค์ กร)จะทาจัดการความรู้ เพราะอะไร หรือจะทาไปทาไม เป็ น
จุดเริ่มต้ นทีส่ าคัญมากทีส่ ุ ดต่ อความสาเร็จ
1.กระแส(Fashion)เห่ อตามแฟชั่น ทาตามๆกันไป จะได้ ไม่ ตกยุค
2.กระสุ น(Budget)มีงบสนับสนุนมาให้ มีคนมีเครื่องมืออุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ มาให้
3.กระสั บกระส่ าย(Policy)ถูกบังคับให้ ทาและต้ องถูกประเมิน
4.กระสั น(Passion)แรงจูงใจอย่ างแรงกล้ าทีจ่ ะพาองค์ กรสู่ ความ
เป็ นเลิศด้ วยการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
หลักการนาKMลงไปปฏิบัต(ิ Implementation)
1. ทาให้ ง่าย(Common)ทีจ่ ะเรียนรู้ และปฏิบัติ
2. ทาให้ รู้ (Competency)ว่ าต้ องทาอย่ างไร
3. ทาให้ รัก(Commitment)ที่จะทา เต็มใจทา
หัดให้ เป็ น ใช้ ให้ เป็ น เป็ นเพียงขั้นที่หนึ่งเท่ านั้น ต้ องกระทาถึง
ขั้นไร้ กระบวนท่ า ค่ อยก้ าวขึน้ สู่ ยอดฝี มือ(รู้ วญ
ิ ญาณกระบี่)
Think Big , Start Small , Action Now
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
ข้ อควรระวังเมือ่ ทาKM
1. ยึดติดรูปแบบของKM ต้ องอย่ างนีเ้ ท่ านั้นอย่ างอืน่ ไม่ ได้ เชื่อครูมาก
เกินไปจนไม่ ยอมมองแนวทางอืน่
2. เสพติดKM อะไรๆก็จะKMอย่ างเดียว ทั้งทีบ่ างทีเครื่องมืออืน่ ๆอาจให้
ผลลัพธ์ ที่ดีกว่ า
3. สนุกสนานกับKM นอกบ้ านแต่ กลับเข้ าบ้ าน(หน่ วยงานตนเอง)แล้วทาไม่
สนุก เพราะไม่ ง่ายเหมือนออกไปทากิจกรรมกลุ่มทีจ่ ัดเตรียมไว้ พร้ อม
แล้ว ทั้งๆที่KMของจริงต้ องอยู่ในงานประจาก็คอื อยู่ทหี่ น่ วยงานตนเอง
4. เผลอตัวคิดว่ าKMทีเ่ ราทาอยู่ดีทสี่ ุ ดแล้ว ทาให้ ติดกับดักแห่ งความสาเร็จ
5. ได้ ทา KM แต่ ไม่ ได้ ผลดีจากKM อย่ างแท้ จริง มีกจิ กรรมKMมากมายแต่
ไม่ ได้ นาไปสู่ ผลลัพธ์ ทดี่ ีต่อองค์กร ลูกค้ าและพนักงาน
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
สรุปลักษณะสาคัญของการจัดการความรู้
1. KM เป็ นเหมือนนา้ ต้ องไหลลืน่ ไปตามภาชนะบรรจุ นั่นคือปรับ
ตามบริบทของกลุ่มหรือองค์ กรทีเ่ ราอยู่ ต้ องไม่ ยดึ ติดกับรู ปแบบ
แต่ ใช้ ถูกต้ องได้ ผลลัพธ์ คอื งานดีขนึ้ คนดีขนึ้ และวิธีการทางานดี
ขึน้ หรือนวัตกรรมมากขึน้ (Best practice)
2. KM เป็ นเรื่องของการปฏิบัติ เป็ นเรื่องของผู้ปฏิบัติ ผู้ทจี่ ะมาร่ วม
กิจกรรมต้ องเป็ นคนทาจริง เอาสิ่ งที่ตนเองทาแล้ วเกิดผลดีมาเล่ า
สู่ กนั ฟัง ส่ วนใหญ่ เป็ นความรู้ ทซี่ ่ อนในตัวคน
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
สรุปลักษณะสาคัญของการจัดการความรู้
3. KM เป็ นบรรยากาศเชิงบวก เริ่มต้ นจากสิ่ งดีๆหรือความสาเร็จ
เพราะจะทาให้ เกิดบรรยากาศแห่ งความสุ ข ความชื่นชม ยอมรับ
ซึ่งกันและกัน
4. KM เน้ นความสั มพันธ์ ระหว่ างคน ยิง่ ความสั มพันธ์ ระหว่ างคนดี
การแลกเปลีย่ น การให้ และรับซึ่งกันและกันจะดีมาก
5. KMเป็ นการพูดคุยถึงอดีตทีท่ ามา ไม่ ใช่ พูดถึงอนาคตทีเ่ ราอยากทา
นาความสาเร็จในอดีตมาเล่ าสู่ กนั ฟัง เพือ่ จะดูว่าเบือ้ งหลัง
ความสาเร็จนั้นมีความรู้ อะไรดีๆ ซ่ อนอยู่ ขุดออกมา ควักออกมา
สรุ ปหลักการจัดเวทีการจัดการความรู้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
พูดเรื่องเก่ า เล่ าความหลัง
ใช้ ดีจงึ บอกเพื่อน
นา้ ท่ วมทุ่ง คอยเก็บผักบุ้งโหรงเหรง
พร้ อมให้ และใฝ่ รู้
เปิ ดใจ ยอมรับคนอื่น จัดการความรัก
Learn-care-share-shine
มีแม่ ส่ ือแม่ ชัก
รักการสนทนา
พากันทบทวน
ทักษะสาคัญของผู้เข้ าร่ วมเวทีการจัดการความรู้
ทักษะการพูด (SPEAK)
1. S = Success story พูดเรื่องดี เล่ าเรื่องความสาเร็จ
2. P= Practice by yourself พูดในสิ่งที่ตนเองทาเองกับมือ
3. E= Enjoy telling พูดอย่ างสนุก สุขกับการเล่ า
4. A= Agility กระตือรือร้ น กระฉับกระเฉง อยากเล่ า เร้ าใจ
5. K= Knowledge asset บอกเทคนิคที่ทาให้ งานสาเร็จ
ทักษะสาคัญของผู้เข้ าร่ วมเวทีการจัดการความรู้
ทักษะการฟั ง (LISTEN)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
L= Look& look interest มองด้ วยความสนใจใส่ ใจ
I= Identify the issues จับประเด็น
S= Suspend judgement อย่ าด่ วนสรุ ป
T= Test your understanding ทดสอบความเข้ าใจ
E= Exclude your emotion อย่ าใช้ อารมณ์
N= Note, noise, non-verbal จดบันทึก ส่ งเสียงตอบรับ
สื่อสารด้ วยภาษาท่ าทาง
เรี ยกรวมๆว่ า Deep Listening
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
การจัดการความรู้ เป็ นกิจกรรม
เพื่อให้ เกิดการเสริมพลัง (synergy)
ระหว่ างความแตกต่ างหลากหลาย
ไปสู่เป้าหมายที่ร่วมกันกาหนด
บรรลุความสร้ างสรรค์ ท่ ไี ม่ คิดว่ าจะบรรลุได้
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
“ True success exists not in learning, but in its
application to the benefit of mankind”
“ความสาเร็จทีแ่ ท้ จริงมิได้ อยู่ทกี่ ารเรียนรู้
หากแต่ อยู่ทกี่ ารนามาประยุกต์ ใช้ เพือ่
คุณประโยชน์ แก่ มนุษยชาติ”
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
องค์ พระบิดาแห่ งการแพทย์ แผนปัจจุบนั ของไทย
Tel. 055-518139, 548008 e-mail : [email protected] ,
www.practicallykm.gotoknow.org
การจัดการความรู้ แบบบูรณาการ
Q&A
Tel. 055-591435-6, 548066, http://www.bantakhospital.com
e-mail : [email protected] , www.practicallykm.gotoknow.org