นโยบายเปิดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน

Download Report

Transcript นโยบายเปิดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน

รู้ลกึ โลจิสติกส์
คว้ าชัยในตลาด CLMV
ข้ อมูลจาก presentation มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
และ
ข้ อมูลจาก presentation ของสานักโลจิสติกส์การค้ า
กรมส่งเสริมการค้ าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ชูศักดิ์ ชื่นประโยชน์
ประธานกรรมการบริหาร บริษัท กาแพงแสน คอมเมอร์ เชียล จากัด
รองประธานคณะกรรมการธุรกิจเกษตรและอาหาร และ
กรรมการคณะ Logistics สภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย
ภาพรวมตลาด และ
ข้ อควรรู้ในการทาธุรกิจในตลาด CLMV
“อาเซียน: โอกาสที่ไร้ พรมแดน”
สัมมนาหอการค้ าทั่วประเทศ ครัง้ ที่ 32
(กลุ่มย่ อยที่ 1)
22 พฤศจิกายน 2557
ภาพรวมตลาด และ ข้ อควรรู้ในการทาธุรกิจในตลาด CLMV
วัตถุประสงค์ของ AEC (AEC Blueprint)
Single Market and
production base
เป็ นตลาดและ
ฐานการผลิตร่ วม
แผนงานที่จะส่งเสริม
การเคลื่อนย้ ายสินค้ า
บริการ การลงทุน
แรงงาน และ เงินทุนที่
เสรี โดยลดอุปสรรคใน
ด้ านต่างๆ
High competitive
economic region
เป็ นภูมิภาคที่มี
ขีดความสามารถ
ในการแข่ งขันสูง
แผนงานที่จะส่งขีด
ความสามารถในด้ าน
ต่างๆ อาทิ นโยบาย
การแข่งขัน ทรัพย์สิน
ทางปั ญญา
e-commerce ฯลฯ
Equitable
Economic development
Fully Integrated
into global economy
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
อย่ างเท่ าเทียมกัน
การเชื่อมโยงของอาเซียน
เข้ ากับเศรษฐกิจโลก
แผนงานที่จะส่งเสริม
การรวมกลุ่มของ
ประเทศสมาชิกและลด
ช่องว่าง/ความแตกต่าง
ของระดับการพัฒนา
ระหว่างสมาชิกเก่าและ
ใหม่
แผนงานที่จะส่งเสริม
การรวมกลุ่มเข้ ากับ
ประชาคมโลกโดยการ
ปรับประสานนโยบาย
ในระดับภูมิภาคและ
สร้ างเครื อข่ายการ
ผลิต/จาหน่าย
นโยบายการลดภาษี
ของประเทศอาเซียน
นโยบายการลดภาษี ของประเทศอาเซียน
รายการลดภาษีนาเข้ าของสินค้ าปกติ (พิกัด 6 หลัก)
ประเทศ
รายการลดภาษีของสินค้ าปกติ (สินค้ าประเภท Inclusion List)
อัตราภาษี 0%
อัตราภาษี
1-5%
อัตราภาษี
1-5%
อัตราภาษี
11-15%
อัตราภาษี
16-20%
อัตราภาษี
>20%
สินค้ าที่มีอัตรา
ภาษีเป็ น 0 อยู่
แล้ ว
บรู ไน
1,115
0
0
0
0
0
3,891
99%
กัมพูชา
184
3,653
485
202
137
65
254
9%
อินโดนีเซีย
3,965
0
0
0
0
0
1,026
99%
ลาว
3,716
1,135
66
51
15
11
8
74%
เมียนมาร์
69
4,676
72
31
7
2
154
4%
มาเลเซีย
2,309
0
0
0
0
0
2,685
99%
ฟิ ลิปปิ นส์
4,908
0
0
0
0
0
99
99%
สิงคโปร์
2
0
0
0
0
0
5,049
100%
เวียดนาม
1,346
2,009
7
0
11
10
1,629
59%
ไทย
4,005
0
0
0
0
0
1,037
99%
หมายเหตุ: ประเทศสมาชิกอาเซียน 6 ลดเหลือร้ อยละ 0 ภายใน 1 มกราคม 2553 ประเทศอาเซียนใหม่ ลดเหลือร้ อยละ 0-5 ภายใน 2546
สาหรับเวียดนาม ในปี 2548 ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา ในปี 2550 และเหลือร้ อยละ 0 ภายใน 31 ธันวาคม 2558
ที่มา: กรมเจรจาการค้ าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2557)
% ของสินค้ า
ที่ลดภาษี
เป็ น 0 แล้ ว
นโยบายการลดภาษี ของประเทศอาเซียน
รายการลดภาษีนาเข้ าของสินค้ าอ่ อนไหว
ประเทศ
รายการสินค้ า Highly Sensitive List
อัตราภาษี มากกว่า 0%
รายการสินค้ า Sensitive List
อัตราภาษี มากกว่า 0%
บรู ไน
-
กาแฟ ชา
กัมพูชา
-
เนื ้อไก่ ปลามีชีวิต ผักผลไม้ บางชนิด
พืชบางชนิด
อินโดนีเซีย
ข้ าว (อัตราภาษี ลดเหลือร้ อยละ 25 ในปี 2558)
น ้าตาล (อัตราภาษี ลดเหลือร้ อยละ 5-10 ในปี 2558)
-
ลาว
-
สัตว์มีชีวิต เนื ้อโคกระบือ สุกร ไก่
ผักผลไม้ บางชนิด ข้ าว ยาสูบ
เมียนมาร์
-
ถัว่ กาแฟ น ้าตาล ไหม ฝ้าย
มาเลเซีย
ข้ าว (อัตราภาษี ลดเหลือร้ อยละ 20 ในปี 2553)
ฟิ ลิปปิ นส์
ข้ าว (อัตราภาษี ลดเหลือร้ อยละ 35 ในปี 2558)
น ้าตาล (อัตราภาษี ลดเหลือร้ อยละ 5 ในปี 2558)
สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื ้อสุกร ไก่ ไข่
พืชและผลไม้ บางชนิด ยาสูบ
สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื ้อสุกร ไก่
มันสาปะหลัง ข้ าวโพด
สิงคโปร์
-
-
เวียดนาม
-
สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื ้อไก่ ไข่ พืชบางชนิด
เนื ้อสัตว์ปรุ งแต่ง น ้าตาล
ไทย
-
กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้ าวแห้ ง และไม้ ตดั ดอก
หมายเหตุ: สินค้ า Highly Sensitive List เก็บภาษี ได้ มากกว่า 5% สินค้ า Sensitive List เก็บภาษี ได้ ไม่เกิน 5% ที่มา: กรมเจรจาการค้ าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2557)
นโยบายการลดภาษี ของประเทศอาเซียน
ตัวอย่ างอัตราภาษีนาเข้ าของประเทศอาเซียนในปั จจุบัน
สินค้ า
บรูไน
อินโดนีเซีย
ข้ าว (รหัส 10.06)
0%
ข้ าวเปลือกเพื่อเพาะปลูก ข้ าวกล้ อง ข้ าวที่สีแล้ ว ปลายข้ าว (1006.20 –
(1006.10) = 0%
1006.40) = 5%
30% (ปี 57)
25% (ปี 58)
หมายเหตุ
ลดเหลือ 0%
ภายใน 31 ธันวาคม 58
สินค้ า Highly Sensitive
สปป.ลาว
5%
สินค้ า Sensitive List
กัมพูชา
มาเลเซีย
20%
เมียนมาร์
0%
ฟิ ลิปปิ นส์
สิงคโปร์
ไทย
40% (ปี 57)
เวียดนาม
ปลายข้ าว (1006.40) = 15%
ข้ าวกล้ อง ข้ าวที่สีแล้ ว ปลายข้ าว (1006.20 –
1006.40) =5%
35% (ปี 58)
0%
0%
5%
สินค้ า Highly Sensitive
ลดเหลือ 0%
ภายใน 31 ธันวาคม 58
สินค้ า Highly Sensitive
ลดเหลือ 0%
ภายใน 31 ธันวาคม 58
นโยบายการลดภาษี ของประเทศอาเซียน
ตัวอย่ างอัตราภาษีนาเข้ าของประเทศอาเซียนในปั จจุบัน
สินค้ า
บรูไน
นา้ ตาล (รหัส 17.01)
0%
กัมพูชา
5%
อินโดนีเซีย
น ้าตาลดิบจากหัวบีต
(1701.12)
= 20% (ปี 57)
= 10% (ปี 58)
น ้าตาลดิบจากอ้ อย (1701.13 - น ้าตาลดิบอื่นๆ ที่เติมสารปรุง
1701.14)
แต่งกลิ่นรส (1701.91)
= 10% (ปี 57)
= 20% (ปี 57)
= 5% (ปี 58)
= 10% (ปี 58)
สปป.ลาว
5%
มาเลเซีย
เมียนมาร์
ฟิ ลิปปิ นส์
สิงคโปร์
ไทย
0%
0%
เวียดนาม
หมายเหตุ
ลดเหลือ 0%
ภายใน 31 ธันวาคม 58
10% (ปี 57)
5% (ปี 58)
0%
0%
5%
สินค้ า Highly Sensitive
ลดเหลือ 0%
ภายใน 31 ธันวาคม 58
สินค้ า Highly Sensitive
ลดเหลือ 0%
ภายใน 31 ธันวาคม 58
นโยบายการลดภาษี ของประเทศอาเซียน
ตัวอย่ างอัตราภาษีนาเข้ าของประเทศอาเซียนในปั จจุบัน
สินค้ า
บรูไน
กาแฟ (รหัส 09.10)
0%
กัมพูชา
5%
อินโดนีเซีย
0%
หมายเหตุ
สินค้ า Sensitive List
ลดเหลือ 0%
ภายใน 31 ธันวาคม 58
-
สปป.ลาว
0%
ยกเว้ น กาแฟคัว่ ทังบดและไม่
้
บด และกาแฟอื่นๆ (0901.21 - 0901.90) = 5%
ลดเหลือ 0%
ภายใน 31 ธันวาคม 58
0%
0%
ยกเว้ น กาแฟคัว่ และแยกกาเฟอีน และกาแฟอื่นๆ (0901.12.90, 0901.90.10,
0901.90.20) = 5%
0%
0%
0%
ยกเว้ น กาแฟอื่นๆ (เปลือกและเยื่อกาแฟ)
(0901.90.10) = 5%
-
มาเลเซีย
เมียนมาร์
ฟิ ลิปปิ นส์
สิงคโปร์
ไทย
เวียดนาม
5%
สินค้ า Sensitive List
สินค้ า Sensitive List
ลดเหลือ 0%
ภายใน 31 ธันวาคม 58
นโยบายเปิ ดเสรี ภาคบริการของประเทศอาเซียน
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
กรอบความตกลงว่ าด้ วยการค้ าบริการของอาเซียน
(ASEAN Framework Agreement on Service –AFAS)
กาหนดให้ ประเทศสมาชิกอาเซียนทยอยเปิ ดตลาดบริการ ซึ่งตาม AEC Blueprint
กาหนดให้ ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิ ดตลาดให้ ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น สามารถถือหุ้นได้ ถงึ
ร้ อยละ 70 ยกเว้ นสาขาที่อ่อนไหว ปั จจุบัน นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้ ร้อยละ 70 ในสาขา
e-ASEAN (ICT) สาขาสุขภาพ สาขาท่ องเที่ยว และสาขาการบิน ซึ่งทัง้ 4 สาขาถือเป็ นสาขา
บริการเร่ งรัด (Priority Integration Sector: PIS)
อนึง่ นักลงทุนอาเซียนครอบคลุมถึงนักลงทุนนอกภาคีอาเซียนที่มีการลงทุนและทาธุรกิจจริ ง
อยู่ในอาเซียน (Non Party)
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
อาเซียนเริ่มเจรจาลดข้ อจากัดด้ านการค้ าบริ การระหว่างกันมาตังแต่
้ ปี 2538
โดยดาเนินการเจรจามาเป็ นรอบๆ และจัดทาข้ อผูกพันการเปิ ดตลาดมาแล้ วทังสิ
้ ้นรวม
8 ชุด ซึง่ ในแต่ละชุดจะมีการปรับปรุงข้ อผูกพันโดยลด/เลิกข้ อจากัดต่างๆ เพื่อให้ การค้ า
บริการเป็ นไปอย่างเสรี มากขึ ้น และมีการพัฒนาระบบการยอมรับร่วมกัน เพื่ออานวย
ความสะดวกในการประกอบวิชาชีพในสาขาบริการ โดยข้ อผูกพันชุดที่ 8 กาหนดให้ นกั
ลงทุนอาเซียนมีสิทธิถือหุ้นในนิติบคุ คลได้ ไม่เกินร้ อยละ 70 ในธุรกิจบริการที่เป็ นสาขา
เร่งรัดคือ e-ASEAN (สาขาคอมพิวเตอร์ และโทรคมนาคม) สาขาสุขภาพ สาขา
ท่องเที่ยว และสาขาขนส่งทางอากาศ ส่วนสาขาอื่นๆ ให้ นกั ลงทุนอาเซียนมีสิทธิถือหุ้น
ในนิติบคุ คลได้ ถงึ ร้ อยละ 51 ได้ แก่ บริ การด้ านธุรกิจ การก่อสร้ าง การจัดจาหน่าย
การศึกษา สิ่งแวดล้ อม นันทนาการ วัฒนาธรรมและกีฬา ขนส่ง และอื่นๆ สาหรับสาขา
การเงิน ยังไม่เปิ ดเสรี ให้ ตา่ งชาติถือหุ้นข้ างมาก ยกเว้ นสาขาหลักทรัพย์
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
สาขาบริการ
1. บริการธุรกิจ / วิชาชีพ (แพทย์ วิศวกร ทนายความ ฯลฯ)
2. บริการด้ านสื่อสาร / โทรคมนาคม
รูปแบบการค้ าบริการ (Mode of Supply)
Mode 1 : การบริการข้ ามพรมแดน
( Cross – border Supply)
3. บริการด้ านการท่องเที่ยว
4. บริการด้ านการจัดจาหน่าย
5. บริการด้ านการศึกษา
Mode 2 : การบริโภคต่างประเทศ
(Consumption Abroad)
6. บริการด้ านสิง่ แวดล้ อม
7. บริการด้ านการเงิน
8. บริการด้ านสุขภาพ
Mode 3 : การจัดตั ้งธุรกิจเพื่อให้ บริการ
(Commercial Presence)
9. บริการด้ านการท่องเที่ยว
10. บริการด้ านนันทนาการ
11. บริการด้ านการขนส่ง
12. บริการอื่นๆ
Mode 4 : การให้ บริการโดยบุคคลธรรมดา
(Presence of Natural Persons)
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
กรอบความตกลงว่ าด้ วยการค้ าบริการของอาเซียน
(ASEAN Framework Agreement on Service –AFAS)
สถานะล่ าสุด มีการลงนามข้ อมูลผูกพันชุดที่ 9 ภายใต้ ความตกลงว่ าด้ วยการบริการของอาเซียน
(ASEAN) ในเดือนสิงหาคม 2557 โดยในขณะนีม้ ีเพียงประเทศไทยเท่ านัน้ ที่จัดทาข้ อผูกพันชุดที่ 9 ภายใต้ กรอบ
ความตกลงว่ าด้ วยการค้ าบริการของอาเซียน (AFAS) แล้ วเสร็จ ซึ่งไทยได้ ร่วมกับอาเซียนลงนามพิธีสารอนุวัตขิ ้ อ
ผูกพันชุดที่ 9 ภายใต้ กรอบความตกลงว่ าด้ วยการค้ าบริการของอาเซียน (AFAS) ที่กรุ งเนย์ ปิดอร์
ไทย ได้ ผูกพันเปิ ดตลาดเพิ่มเติม 101 สาขา มีสาขาบริการที่เปิ ดตลาดเพิ่มอีก 25 สาขาย่ อย เช่ น
 บริการให้ คาปรึกษา
 บริการจัดทาบัญชี
 บริการเช่าเรือ
 บริการเรือสาราญระหว่างประเทศ
 บริการขนส่งสินค้ าทางเรือ
 บริการช่วยเหลือกู้ภยั ทางทะเล
 บริการเข้ าวงจรสื่อสาร
 บริการข้ อมูลออนไลน์บริการเก็บสินค้ าและคลังสินค้ า
 บริการรับจัดหาที่จอดรถ เป็ นต้ น
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
ตัวอย่ าง
ข้ อผูกพันการเปิ ดตลาดบริการสาขาจัด
จาหน่าย (เน้ นดูที่ธุรกิจค้ าส่งและค้ าปลีก)
ของอาเซียนภายใต้ กรอบความตกลงว่าด้ วย
บริการของอาเซียน ชุดที่ 8 (For the 8th
Package of Commitments under
ASEAN Framework Agreement on
Services)
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
บรูไน
• การลงทุน/จัดตังธุ้ รกิจ ไม่ผกู พันมาตรการเกี่ยวกับการถือหุ้นของชาวต่างชาติหรือ
ผลประโยชน์ของบริษัทที่จดั ตัง้ หรื อจะจัดตังในบรู
้
ไน (ยังไม่เปิ ดเสรี ค้าส่งและค้ า
ปลีก)
• การให้ บริการโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผกู พัน ยกเว้ นเฉพาะผู้โอนย้ ายภายในบริษัท
ข้ ามชาติ (Intra-corporate-transferee : ICT) ระดับบริหารจัดการ และ
ผู้เชี่ยวชาญเท่านัน้
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
กัมพูชา
• การลงทุน/จัดตังธุ้ รกิจ ไม่มีข้อจากัดการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ ภายใต้
กฎหมายการลงทุน ผู้ที่ต้องการได้ รับการส่งเสริมการลงทุน ต้ องให้ การอบรม
พนักงานกัมพูชาอย่างสม่าเสมอ และสนับสนุนให้ ได้ รับตาแหน่งผู้บริหาร
ระดับสูง
• การให้ บริการโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผกู พัน ยกเว้ นมาตรการในการเข้ ามาของ
บุคคลบางประเภท
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
อินโดนิเซีย
• การลงทุน/จัดตังธุ้ รกิจ การลงทุนควรอยูใ่ นรูปแบบของบริษัทร่วมลงทุน หรือ
สานักงานตัวแทน การร่วมลงทุนควรเป็ นรูปแบบ Limited Liability Enterprise
และหุ้นต่างชาติไม่เกิน 49%
- ธุรกิจค้ าส่งให้ ตา่ งชาติถือหุ้นได้ 51% และมีเงื่อนไข อื่นๆ
• การให้ บริการโดยบุคคลธรรมดา ผูกพันเฉพาะผู้มีอานาจสัง่ การ ผู้จดั การ และ
ผู้เชี่ยวชาญหรื อที่ปรึกษาด้ านเทคนิค
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
ลาว
• การลงทุน/จัดตังธุ้ รกิจ การลงทุนอาจอยู่ในรูปแบบการร่วมลงทุน ดังนี ้
- บริษัทร่วมลงทุนร่วมกับนักลงทุนในประเทศลาว 1 คนหรือมากกว่า 1 คน (ต่างชาติถือหุ้น
•
อย่างน้ อย 30%)
- ต่างชาติเป็ นเจ้ าของทังหมด
้
หรื อสานักงานตัวแทน
- ธุรกิจค้ าส่งให้ ต่างชาติถือหุ้นได้ 49%
การให้ บริ การโดยบุคคลธรรมดา ชาวต่างชาติที่เข้ ามาทางานในประเทศลาว จะอยู่ภายใต้
กฎหมายว่าด้ วยการส่งเสริ มการขายและการบริ หารจัดการของการลงทุนในต่างประเทศ (ใน
ลาว)
- วิสาหกิจต่างชาติมีสิทธิว่าจ้ างบุคลากรต่างชาติ หากจาเป็ น โดยต้ องได้ รับอนุญาตจาก
รัฐบาล
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
มาเลเซีย
• การลงทุน/จัดตังธุ้ รกิจ ไม่มีข้อจากัดการถือหุ้นของต่างชาติ แต่การเข้ ามา
ครอบครอง ควบรวบกิจการ หรื อได้ รับผลประโยชน์ในธุรกิจมาเลเซีย บางกรณี
ต้ องได้ รับอนุมตั ิ เช่น การมีสทิ ธิ์ออกเสียงในการซื ้อกิจการของต่างชาติ รายใดเกิน
15% หรื อรวมกันเกิน 30% หรื อมีสินทรัพย์มลู ค้ าเกิน 5 ล้ านริงกิต
• การให้ บริการโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผกู พัน ยกเว้ นมาตรการในการเข้ ามาของ
บุคคลบางประเภท
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
เมียนมาร์
• การลงทุน/จัดตังธุ้ รกิจ การลงทุนอยูใ่ นรูปแบบของการลงทุนจากต่างชาติ 100%
หรื อรูปแบบการร่วมลงทุนกับบุคลากรหรื อองค์กรในเมียนมาร์ (ต่างชาติถือหุ้น
อย่างน้ อย 35%)
- ธุรกิจบริการจะถูกจากัดตามมาตรา 3 ของกฎหมายรัฐวิสาหกิจเศรษฐกิจ
• การให้ บริการโดยบุคคลธรรมดา องค์กรและแรงงานต่างชาติต้องมีวีซา่ ธุรกิจ และ
ต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไข
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
ฟิ ลิปปิ นส์
• การลงทุน/จัดตังธุ้ รกิจ กิจกรรมที่สงวนไว้ ตามกฎหมาย ของพลเมืองของประเทศ
ฟิ ลิปปิ นส์ การมีสว่ นร่วมของชาวต่างชาติในกิจกรรมที่สงวนมีสว่ นถือหุ้นน้ อย และ
ผู้บริหารจะต้ องมีสญ
ั ชาติฟิลิปปิ นส์ พระราชบัญญัติการลงทุนของคนต่างด้ าว
ระบุรายการกิจกรรมสงวน (Negative List) สาหรับการลงทุนของคนต่างด้ าว
• การให้ บริการโดยบุคคลธรรมดา แรงงานต่างด้ าวจะได้ รับอนุญาตทางานหากไม่มี
คนของฟิ ลิปปิ นส์ที่มีความสามารถเพียงพอ และต้ องการทางานดังกล่าว
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
สิงคโปร์
•
การลงทุน/จัดตังธุ
้ รกิจ ไม่มีข้อจากัดในการเข้ าสูต่ ลาดสาหรับการลงทุนของ
ชาวต่างชาติ
•
การให้ บริการโดยบุคคลธรรมดา การเข้ ามาของบุคคลธรรมดาไม่ผกู พัน ยกเว้ น
บริษัทข้ ามชาติ (Intra-corporate-transferee : ICT) ระดับบริหารจัดการ และ
ผู้เชี่ยวชาญเท่านัน้
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
เวียดนาม
•
การลงทุน/จัดตังธุ
้ รกิจ ไม่มีข้อจากัด ยกเว้ นที่ระบุไว้ ในข้ อผูกพันเฉพาะในราย
สาขา การลงทุนอาจอยูใ่ นรูปแบบสัญญาความร่วมมือทางธุรกิจ วิสาหกิจร่วม
ลงทุน และวิสาหกิจที่ตา่ งชาติลงทุนทังหมด
้
100%
•
การให้ บริการโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผกู พัน ยกเว้ นบริษัทข้ ามชาติ (Intracorporate-transferee : ICT) ระดับบริหารจัดการ และผู้เชี่ยวชาญเท่านัน้ และผู้
ให้ บริการโดยมีสญ
ั ญาจ้ าง (Contractual Service Suppliers: CSS)
นโยบายเปิ ดเสรีภาคบริการของประเทศอาเซียน
ไทย
•
•
การลงทุน/จัดตังธุ
้ รกิจ ผูกพันการจัดตังธุ
้ รกิจในรูปแบบบริ ษัทจากัดที่จดทะเบียนใน
ประเทศไทย หรื อชนิดอื่นที่เป็ นนิติบคุ คลตามที่ระบุไว้ ในข้ อผูกพันเฉพาะ
- ธุรกิจค้ าปลีกอนุญาตให้ นกั ลงทุนต่างชาติที่มาลงทุนผลิตสินค้ าและมีตราสินค้ า
เป็ นของตนเองในประเทศไทยสามารถเปิ ดร้ านค้ าปลีกได้ โดยให้ ถือหุ้นได้ ไม่เกิน
70%
- ธุรกิจค้ าส่ง ยังมีข้อจากัดหรือเงื่อนไขการให้ ต่างชาติถือหุ้น
การให้ บริ การโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผกู พัน ยกเว้ นผู้เข้ าร่วมธุรกิจ และบริษัทข้ ามชาติ
(Intra-corporate-transferee : ICT)
กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ า (Rule of Origin)
กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ า (Rule of Origin)
กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ า (Rule of Origin) คือ
กฎเกณฑ์ ทางการค้ าระหว่ างประเทศที่ใช้ ตัดสินว่ าสินค้ าแต่ ละ
ประเภทมีแหล่ งกาเนิดมาจากประเทศใด
ซึ่งสินค้ าที่ได้
แหล่ งกาเนิดจะต้ องมีใบรับรองแหล่ งกาเนิด Origin Conferred
(Certificate of Origin : C/O)
กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ า (Rule of Origin)
กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ าจาแนกตามแหล่ งที่มาของวัตถุดบิ ที่ใช้ ใน
การผลิตสินค้ าได้ 2 ประเภท คือ
1. กฎการใช้ วัตถุดบิ ในประเทศทัง้ หมด (Wholly Obtained: WO)
ใช้ ในกรณีท่ สี ินค้ าส่ งออกผลิตขึน้ โดยใช้ วัตถุดบิ ในประเทศทัง้ หมด หรือสินค้ าที่ทงั ้ หมด
ได้ จากประเทศผู้ส่งออก ได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ แร่ ธาตุท่สี กัดจากพืน้ ดิน พืน้ นา้ หรือท้ องทะเลของ
ประเทศนัน้ ผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งเก็บเกี่ยวได้ ในประเทศนัน้ สัตว์ ท่ มี ีกาเนิดและเลีย้ ง
เติบโตในประเทศนัน้ เป็ นต้ น
กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ า (Rule of Origin)
กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ าจาแนกตามแหล่ งที่มาของวัตถุดบิ ที่ใช้ ใน
การผลิตสินค้ าได้ 2 ประเภท คือ
2.
กฎการแปรสภาพอย่ างเพียงพอ (Substantial Transformation: ST)
ใช้ ในกรณีท่ สี ินค้ าไม่ ได้ ใช้ วัตถุดบิ ในประเทศทัง้ หมด จะต้ องเป็ นสินค้ าที่ผ่านกระบวนการผลิต
ภายในประเทศที่ทาให้ สินค้ านัน้ มีการเปลี่ยนแปลงสภาพอย่ างเพียงพอ หรือถ้ ามีมากกว่ าหนึ่งประเทศ
เกี่ยวข้ องในกระบวนการผลิต จะพิจารณาให้ กับประเทศที่กระบวนการผลิตทาให้ มีการเปลี่ ยนแปลง
สภาพอย่ างเพียงพอครัง้ สุดท้ าย (Last Substantial Transformation)
การพิจารณาว่ าสินค้ าที่มีกระบวนการผลิตโดยการแปรสภาพอย่ างเพียงพอพิจารณาได้ จาก 3
ลักษณะ ดังนี ้
•
•
•
การใช้ สัดส่ วนมูลค่ าเพิ่มภายในประเทศ (Regional Value Content: RVC)
การเปลี่ยนพิกัดอัตราศุลกากร (Change in Tariff Classification: CTC)
เกณฑ์ การใช้ กระบวนการผลิต (Processing Operation)
กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ า (Rule of Origin)
กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ า (Rule of Origin)
ขัน้ ตอนการตรวจสอบและขอใบรับรองแหล่ งกาเนิดสินค้ า
กรมศุลกากร
ใช้ อัตราภาษี
ทั่วไป
ใช้ อัตราภาษี
AFTA
มาตรการที่มิใช่ ภาษี
Non Tariff Measures : NTMs
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศบรู ไน
มาตรการฐานด้ านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS)
• สินค้ าประเภทพืช ต้ องได้ รับการตรวจสอบจากกระทรวงการเกษตร ยกเว้ น ผัก ผลไม้ ชา กาแฟ เครื่ องเทศ
ธัญพืชและเมล็ดพันธุ์ ที่ต้องได้ รับการตรวจสอบที่ต้นทางก่อนนาเข้ าไม่เกิน 14 วัน ก่อนการจนส่งจริง
• สินค้ าผลิตภัณฑ์อาหาร เนื ้อสัตว์ ไก่สดแช่แข็ง น ้ามันและไขมันสัตว์ ต้ องผ่านการตรวจสอบอย่างเคร่งครัด
โดยเฉพาะฮาลาล
• ฮาลาล ต้ องผ่านการตรวจสอบมาตรฐานฮาลาลอย่างเข้ มงวด โรงฆ่าสัตว์ต้องได้ รับรองจากหน่วยงาน รวมทั ้งไก่
สดแช่แข็งสามารถนาเข้ าได้ จากบรัษัทผู้สง่ ออกที่ได้ รับอนุญาต ( Control Cold Co.,Ltd และ Storage Data
Group of Companies ) จากประเทศมาเลเซียเท่านั ้น
มาตรการควบคุมการนาเข้ า
• ข้ าวและน ้าตาล ต้ องผ่านการเจรจาระดับรัฐต่อรัฐ และผู้สง่ ออกต้ องได้ รับใบอนุญาตนาเข้ าเป็ รกรณีพิเศษ
• เวชภัณฑ์ ปุ๋ยเคมีภณ
ั ฑ์ กาว สบู่ เครื่ องสาอาง สารเคมีการเกษตร ไม้ ซุง พาหนะใช้ แล้ ว อะไหล่เครื่ องบิน เรดาห์
โทรศัพท์ไร้ สาย เครื่ องรับสัญญาณวิทยุ ต้ องได้ รับใบอนุญาตนาเข้ าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศกัมพูชา
การออกใบอนุญาตการนาเข้ า
• สินค้ าและบริการ ต้ องได้ รับความเห็นชอบการนาเข้ าสินค้ าเกษตรจากกรม Camcontrol กระทรวงพาณิชย์
กัมพูชา ซึง่ มีหน้ าที่ตรวจสอบคุณภาพสินค้ า สุขอนามัย วันเดือนปี ผลิต/หมดอายุ
• มาตรฐานด้ านสุขอนามัยและสุขอนามันพืช
• สินค้ าทุกชนิด ต้ องมีใบรับรองสุขอนามัยจากประเทศผู้ผลิตตามความต้ องการของประเทศผู้นาเข้ า
• ผักผลไม้ ต้ องมีใบรับรองปลอดศัตรูพืช และกักกันสุม่ ตรวจ ณ ด่านนาเข้ า
• เนื ้อสัตว์ ต้ องมีใบรับรองสุขอนามัย และกักสุม่ ตรวจ ณ ด่านนาเข้ า
มาตรการด้ านเทคนิคที่เป็ นอุปสรรคทางการค้ า (Technical Barriers to Trade : TBT)
• ผลิตภัณฑ์อาหาร กาหนดให้ สลากต้ องระบุข้อมูลรายละเอียดผู้ผลิต วันเดือนปี ผลิตและหมดอายุ ส่วนผสม การ
ใช้ งาน บริโภค โดนต้ องเป็ นภาษาเขมร หากนาเข้ ามาเพื่อบริโภค
การห้ ามนาเข้ า (Import Prohibiton)
• สินค้ าที่กระทบต่อความมัน่ คง ความปลอดภัย สุขอนามัย สิง่ แวดล้ อม และอุตสาหกรรมภายในประเทศ ได้ แก่
อาวุธ วัตถุระเบิด รถยนต์และเครื่ องจักรที่ใช้ ในทางการทหาร ทอง เครื่ องเงิน เงินตรา ยาและยาพิษ
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศอินโดนิเซีย
มาตรการควบคุมการนาเข้ า
• อุปกรณ์เกษตร สินค้ าจอบ เสียม และพลัว่ เป็ นสินค้ าควบคุม เนื่องจากต้ องการปกป้องสินค้ าที่ผลิตในประเทศ
ได้ แต่งตั ้งบริษัทผู้รับนาเข้ าเพียง 3 ราย (รัฐวิสาหกิจอินโดนีเซีย) และผู้นาเข้ าจะต้ องขออนุญาตนาเข้ าจาก
กระทรวงการค้ าอินโดนีเซีย
มาตรการห้ ามนาเข้ า
• กุ้ง เนื่องจากมีโรคระบาด จึงห้ ามนาเข้ าเพื่อมิให้ โรคกระจายออกไป
• เกลือ เพื่อปกป้องผู้ผลิตภายในประเทศ
• ยาแผนโบราณ เนื่องจากพบว่ามีสารอันตราย
ทีม
่ า : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศอินโดนิเซีย (ต่ อ)
การออกใบอนุญาตการนาเข้ า
• สินค้ าข้ าว จะต้ องให้ หน่วยงาน BULOG เป็ นผู้ขออนุญาตนาเข้ าจากกระทรวงการค้ า ในกรณีที่ปริ มาณข้ าวภายในประเทศไม่เพียงพอ และ
เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาข้ าวในประเทศ กลุม่ ข้ าวหอมมะลิ ต้ องมีวตั ถุประสงค์พิเศษในการนาเข้ า เช่น นาเข้ าเพื่ อสุขภาพ
• สินค้ าแป้งข้ าวเจ้ า และแป้งข้ าวเหนียว จะต้ องได้ รับการ (Recommendation) นาเข้ าจากกระทรวงเกษตร และผู้นาเข้ าต้ องขออนุญาตนาเข้ า
จากกระทรวงการค้ า
• สินค้ าจาพวก น ้ามันหล่อลื่น เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่ องยนต์ แทรกเตอร์ เครื่ องมือที่ใช้ งานด้ วยมือ สารให้ ความหวานสังเคราะห์ เครื่ องยนต์
และปั๊ ม ท่อส่งน ้ามัน จากัดปริ มาณการนาเข้ า ผู้นาเข้ าต้ องผ่านการรับรอง และจดทะเบียนผู้นาเข้ าที่เป็ นผู้ผลิต ผู้ขาย หรื อรัฐวิสาหกิจ เช่น
DAHANA, PERTAMINA, และBULOG
• อาหารทะเลสด และแปรรูป จะต้ องขออนุญาตนาเข้ า โยขอใบรับรองการนาเข้ าจากกระทรวงกิจการทางทะเล และประมง และได้ รับ
ความเห็นจากรัฐมนตรี กระทรวงประมง
• เนื ้อสัตว์ และสัตว์มีชีวิต ขออนุญาตนาเข้ าเพื่อป้องกันโรค
• ยา และผลิตภัณฑ์ ต้ องมีการจดทะเบียนและขออนุญาตนาเข้ า
• เครื่ อง หรื ออุปกรณ์ขดุ เจาะน ้ามันและก๊ าซ ต้ องขออนุญาต
• รถยนต์เพื่อการท่องเที่ยวและกีฬา ต้ องขออนุญาตชัว่ คราว
• อะลูมิเนียมไนเตรทที่ไม่ได้ นามาใช้ เป็ นส่วนประกอบในการทาระเบิด วัตถุดิบที่ใช้ ในอุตสาหกรรมมิใช่นม ผลิตภัณฑ์ นมสาเร็จรูป ต้ องเป็ นผู้
นาเข้ าที่ได้ รับการรับรอง (Approved Import : ID)
• ยาแผนโบราณ ยาสมุนไพร เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ สารให้ ความหวานสังเคราะห์ อาหาร เครื่ องดื่ม ผลไม้ และผลิตภัณฑ์สินค้ าเกษตร ผู้นาเข้ า
จะต้ องจดทะเบียนกับ Ministry of Trade and Industry หรื อ จดทะเบียนกับ Department of Health (BPOM) ของอินโดนีเซีย และระบุ
หมายเลขทะเบียน (ML NO.) ลงในผลิตภัณฑ์ด้วย
ทีม
่ า : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศลาว
มาตรฐานด้ านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
• เนื ้อสัตว์ และสัตว์มีชีวิต ต้ องได้ รับใบอนุญาตจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
• น ้ามันเชื ้อเพลิง ยานพาหนะทุกชนิด หนังสือและสิง่ พิมพ์อื่นๆ เกมส์ที่เป็ นภัยต่อจริยธรรมของเยาวชน เครื่ องรับ
สัญญาณดาวเทียว ปื นกีฬา อุปกรณ์สนุกเกอร์ บุหรี่ ผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ เครื่ องมือสื่อสาร สินแร่และเคมีภณ
ั ฑ์
สิง่ ตีพิมพ์ จักรยาน ต้ องได้ รับในอนุญาตจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง
มาตรการห้ ามนาเข้ า
• ปื น ลูกปื น และอาวุธสงครามทุกชนิด และพาหนะเพื่อใช้ ในสงคราม
• เมล็ดฝิ่ น ดอกฝิ่ น กัญชา โคเคน และส่วนประกอบ
• เครื่ องมือหาปลาแบบดับศูนย์
• เครื่ องจักรดีเซลใช้ แล้ ว
• ตู้เย็น ตู้ทาน ้าเย็น ตู้แช่ หรื อตู้แช่แข็งที่ใช้ CFC
• สินค้ าที่ใช้ แล้ ว (สินค้ ามือสอง) เช่น เสื ้อผ้ า, อิเลกทรอนิกส์, เครื่ องใช้ ไฟฟ้า, อุปกรณ์ตกแต่งบ้ าน, เครื่ องใช้ เซรา
มิก โลหะเคลือบ แก้ ว โลหะ ยาง พลาสติก ยางพารา
• ผลิตภัณฑ์การแพทย์ และอุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้ แล้ ว
• สารแคมีที่มีอนั ตรายสูง
ทีม
่ า : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 , http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศเมียนมาร์
การออกใบอนุญาตการนาเข้ า ซึ่งเป็ นมาตรการจากัดปริมาณนาเข้ าหรือ
(Quantitative Restriction : QC)
• สินค้ าทุกชนิด ต้ องขอหนังสืออนุญาตนาเข้ า
• สินค้ าอุปโภคบริ โภค ห้ ามนาเข้ า 8 รายการจากไทย ได้ แก่ สุรา เบียร์ บุหรี่ หมากฝรั่ง เค้ ก
เวเฟอร์ ชอกโกแลต และสินค้ าควบคุมนาเข้ าตามกฎหมายที่บงั คับใช้ อยู่แล้ ว
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศมาเลเซีย
มาตรการควบคุมการนาเข้ า
• สินค้ าข้ าว ต้ องนาเข้ าผ่าน Padiberas National Berhad (BERNAS) และจะใช้ มาตรการห้ าม
นาเข้ าชัว่ คราวในช่วงที่ผลผลิตในประเทศมาก
การออกใบอนุญาตการนาเข้ า ซึ่งเป็ นมาตรการจากัดปริมาณนาเข้ าหรือ Quantitative
Restriction : QC
• น ้าตาลทรายบริ สทุ ธิ์
• ปศุสตั ว์มีชีวิต
• เนื ้อสัตว์
• เส้ นหมี่
• ผลไม้
• เนื ้อสัตว์ สัตว์ปีก ไข่และผลิตภัณฑ์
• เหล็กแผ่นรี ดร้ อน
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศมาเลเซีย (ต่ อ)
มาตรการด้ านเทคนิคที่เป็ นอุปสรรคทางการค้ า (Technical Barriers to Trade : TBT)
• อาหาร
• อาหารฮาลาล
• เครื่ องใช้ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
• เครื่ องสุขภัณฑ์และเซรามิก
มาตรฐานด้ านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS)
• สินค้ าประเภท ผลิตภัณฑ์ยา เวชภัณฑ์ อาหารเสริ ม ผลิตภัณฑ์พื ้นบ้ าน สินค้ าต้ องได้ รับ
เครื่ องหมาย Meditag TM
• สินค้ าจาพวกผลไม้ เช่น มะม่วง ทุเรี ยน ลาไย ต้ องได้ รับ Import Licenses จาก Food Safety
and Quality Control Division, Ministry of Health โดยมีกาตรวจสารพิษ
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
มาตรการควบคุมการนาเข้ า
• สินค้ าข้ าว มีหน่วยงาน National Food Authority : NFA เป็ นผู้ควบคุมการนาเข้ าและได้ ปรับให้ เอกชนและ
สหกรณ์การเกษตรนาเข้ ามากขึ ้น ฟิ ลิปปิ นส์ตะเปิ ดนาเข้ าข้ าวเสรี ในปี 58 เมื่อเข้ าสู่ AEC จะต้ องลดอัตรา
นาเข้ าเหลือ 35%
• สินค้ าจาพวก ยา และเคมีภณ
ั ฑ์ ต้ องได้ รับการตรวจสอบเพื่อขอ Certification of Product จาก Bureau of
Food and Drug ก่อน และต้ องมีเภสัชกรประจาสานักงานผู้นาเข้ า แม้ จะไม่มีการจาหน่วยทาให้ คา่ ใช้ จ่าย
สูง
มาตรฐานด้ านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS)
• ไก่สด แช่แข็ง เนื ้อวัดสด แช่แข็ง เนื ้อสุกรและผลิตภัณฑ์ ต้ องผ่านการตรวจโรงงานและได้ รับอนุญาต
• เนื ้อสัตว์ (วัว หมู ไก่ ม้ า) สด แช่แข็ง แช่เย็น ไขมันสัตว์ ไข่ และพืชGMO ต้ องได้ รับหนังสือรับรองอนามัย
จากประเทศผู้สง่ ออก และตรวจสอบอีกครัง้ ณ ด่านนาเข้ าฟิ ลิปปิ นส์ และต้ องได้ รับอนุญาตนาเข้ า
• อาหารมนุษย์ และสัตว์ การนาเข้ าผลิตภัณฑ์GMO ต้ องแจ้ งรายละเอียด
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ (ต่ อ)
มาตรการด้ านเทคนิคที่เป็ นอุปสรรคทางการค้ า (Technical Barriers to Trade : TBT)
• อุปกรณ์ทางการแพทย์ ต้ องมีใยตรวจสอบคุณภาพสินค้ า
• เครื่ องปรับอากาศ มาตรฐานสินค้ ากาหนดโดย Minimum Efficiency Standard เกี่ยวกับการใช้
พลังงานและควบคุมการนาเข้ า โดยต้ องได้ รับอนุญาตนาเข้ าและมาตรฐานสินค้ าจากสานักงาน
มาตรฐานสินค้ าเพื่อคุ้มครองผู้บริ โภคและตลาดในประเทศ
มาตรการห้ ามนาเข้ า
• สัตว์ปีก เคยใช้ มาตรการห้ ามนาเข้ าผลิตภัณฑ์สตั ว์ปีกจากไทยในปี 2547 แม้ ว่าจะยกเลิกในปี 2555
แต่สินค้ าสัตว์ปีกของไทยยังนาเข้ าไม่ได้ เนื่องจากกระทรวงเกษตรฟิ ลิปปิ นส์ไม่ออกหนังสืออนุญาตเพื่อ
รับรองสินค้ าสัตว์ปีกจากไทย
• ผักและผลไม้ ห้ ามนาเข้ าผักผลไม้ จากประเทศเขตร้ อน เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโรคแมลงและโรคพืช
ที่ติดมากับผลไม้ ผลไม้ ไทยที่นาเข้ าได้ มีเฉพาะมะขามหวานและลองกอง ทังนี
้ ้ ผลไม้ ไทย เช่น ลาไย
ลิ ้นจี่ อาจถูกส่งไปยัง ไต้ หวัน จีน ก่อน แล้ วจึงนาเข้ าไปยังฟิ ลิปปิ นส์
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศเวียดนาม
มาตรการห้ ามนาเข้ า
• ห้ ามนาเข้ าสินค้ า เพื่อความมัน่ คงของชาติ ปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้ อมและสุขอนามัย เช่น อาวุธ
ยุทโธปกรณ์ ระเบิด ยาเสพติด รถยนต์ขบั เคลื่อนพวกมาลัยซ้ าย อะไหล่ที่ใช้ แล้ วของรถยนต์ บุหรี่
สินค้ าอุปโภคบริ โภคที่ใช้ แล้ ว เป็ นต้ น
มาตรการจากัดการนาเข้ า และการนาเข้ าภายใต้ เงื่อนไข
• มีกลุม่ สินค้ าในหมวดควบคุมลักษณะพิเศษ โดยการนาเข้ าสินค้ าในกลุม่ นี ้จะต้ องอยู่ภายใต้ การ
ควบคุมโดยผู้นาเข้ าต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่กาหนดสินค้ าดังกล่าว เหตุผลเพื่อการจัดการอุปสงค์
และอุปทาน เช่น กระเบื ้องปูพื ้นเซรามิก หนังสือพิมพ์ น ้ามันพืชกลัน่ น ้าตาล รถจักรยานยนต์ เป็ น
ต้ น
การออกใบอนุญาตการนาเข้ า ซึ่งเป็ นมาตรการจากัดปริมาณนาเข้ าหรือ
(Quantitative Restriction : QC)
• อาหารและเกษตร ได้ ขยายรายการสินค้ านาเข้ าที่อยู่ภายใต้ การขออนุญาตแบบอัตโนมัติมากขึ ้น
และให้ ยื่นคาร้ องและแจ้ งตอบทางไปรษณีย์เท่านัน้
• สินค้ าอุปโภคบริ โภค บางรายการต้ องขออนุญาตนาเข้ าโดยอัตโนมัติ
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศเวียดนาม (ต่ อ)
มาตรการด้ านเทคนิคที่เป็ นอุปสรรคทางการค้ า (Technical Barriers to Trade : TBT)
• สินค้ าประเภท ยา เวชภัณฑ์ รวมถึงยาฆ่าแมลงและสินค้ าเคมีภณ
ั ฑ์ ต่างๆ ต้ องติดฉลากที่มีภาษาเวียดนามบอกถึง
รายละเอียดของสินค้ าและวิธีการใช้
มาตรฐานด้ านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS)
• สินค้ าอาหาร สัตว์ พืช และพืชที่นามาใช้ เป็ นอาหารสัตว์ ต้ องมาตรฐานระหว่างประเทศมาตรฐาน CODEX, OIE และ
ASEAN เป็ นมาตรฐานกลางสาหรับสุขอนามัยกาหนดให้ การนาเข้ าต้ องมี Health Certificate แสดงว่าปราศจากโรค
หรื อแหล่งของโรคปากเท้ าเปื่ อย
• สัตว์น ้า กาหนดให้ การนาเข้ าต้ องมี Health Certificate
• ผลไม้ แบะผัก พืชและส่วนของพืช กาหนดให้ การนาเข้ าต้ องมี Health Certificate จากหน่วยงานของผู้สง่ ออก
โดยเฉพาะผักและผลไม้ ต้องระบุว่ามาจากแหล่งที่ปราศจากแมลงวันทอง การบรรจุพืชในบรรจุภณ
ั ฑ์ต้องได้ รับการ
รับรองว่าปราศจากโรคและแมลง
• อาหารแปรรูป และสินค้ าอาหาร ต้ องมีผลวิเคราะห์จากทาง LAB และผลิตด้ วยกระบวนการมาตรฐานสากล
GMP/HACCP
• นมผง และนมข้ นหวาน มีการเฝ้าระวังเนื่องด้ วยมีวตั ถุประสงค์เพื่ออนามัยอาหารและมาตรฐานความปลอดภัย
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศสิงคโปร์
มาตรฐานด้ านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS)
• สุกรและสัตว์ปีกสด แปรรูป ต้ องได้ รับการตรวจสอบและอนุญาตจาก Agri-Food &Veterinary Authority
(AVA) ของสิงคโปร์ กรณีสกุ รต้ องได้ รับการรับรองว่าปลอดภัยจากโรคปากเท้ าเปื่ อย และได้ รับการรับรอง
จากองค์กรโรคระบาดสัตว์โลก (OIE) อีกด้ วย ปั จจับนไทยยังไม่สามารถส่งออกเนื ้อสุกรสดไปได้
การออกใบอนุญาตการนาเข้ า ซึ่งเป็ นมาตรการจากัดปริมาณนาเข้ าหรือ
(Quantitative Restriction : QC)
• ไก่และเป็ ด ผลิตภัณฑ์ไก่และเป็ ดจากฟาร์ มที่มีการตรวจสอบและรับรองจาก AVA เท่านัน้ ถึงสามารถนาเข้ า
ได้
• มาตรการด้ านเทคนิคที่เป็ นอุปสรรคทางการค้ า (Technical Barriers to Trade : TBT)
• เครื่ องใช้ ไฟฟ้า ต้ องผ่านการตรวจสอบและได้ รับมาตรฐานความปลอดภัยก่อนวางจาหน่าย
• โทรศัพท์ ต้ องผ่านการตรวจสอบและได้ รับใบรับรองมาตรฐานก่อนวางจาหน่าย
ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029
http://aec.ditp.go.th/
มาตรการที่มิใช่ ภาษี Non Tariff Measures : NTMs
ประเทศไทย
มาตรการห้ ามนาเข้ า
 ห้ ามนาเข้ ารถจักรยานยนต์ที่ใช้ แล้ วและชิ ้นส่วน
 ห้ ามนาเข้ าสินค้ าที่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
 ห้ ามนาเข้ าสินค้ าที่มีเครื่ องหมายการค้ าปลอมหรื อเลียนแบบเครื่ องหมายการค้ าของผู้อื่น
การออกใบอนุญาตการนาเข้ า ซึ่งเป็ นมาตรการจากัดปริมาณนาเข้ าหรื อ Quantitative Restriction : QC
 กาหนดให้ ผ้ นู าเข้ าต้ องขอใบอนุญาตนาเข้ าสินค้ าวัตถุดิบ ปิ โตรเลียม สิง่ ทอ เคมีภณ
ั ฑ์ ยา และสินค้ าเกษตร
 จากัดปริมาณการนาเข้ าสินค้ าเกษตรบางชนิด เช่น ถัว่ เหลือง ข้ าวโพด ข้ าว และเก็บค่าธรมมเนียมการนาเข้ าสินค้ า
ประเภทเนื ้อวัว
 สารกาเฟอีน ต้ องยื่นคาร้ องขออนุญาตนาเข้ าพร้ อมหนังสือแจ้ งข้ อมูลนาเข้ าจากสานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยา หรื อกรมโรงงานอุตสาหกรรม และบัญชีราคาสินค้ า
 สารโพรแทสเซียมแมงกาเนต ผู้นาเข้ าต้ องขึ ้นทะเบียนขอนาเข้ ากับกรมการค้ าต่างประเทศตามที่กรรมการการค้ า
กาหนด
 ทองคา ต้ องได้ รับอนุญาตจากรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง
ด้ านการจัดซือ้ จัดจ้ างภาครัฐ ยังปรากฏการให้ สิทธิพเิ ศษที่เหนือกว่ า
ที่มา : http://www.thaifta.com/ThaiFTA
แก่ ผ้ ูประกอบการภายในประเทศ
สานักอาเซียน/กรมเจรจาการค้ าระหว่างประเทศ
http://www.dft.go.th/สินค้ าที่มีมาตรการนาเข้ า-ส่งออก
มาตรการรับมือ AEC
มาตรการรับมือ AEC
1. เรียนรู้ค่ แู ข่ ง
เกิดคูแ่ ข่งใหม่ จากอาเซียนทัง้ 9 ประเทศ และยังมีเพิ่มอีก
คือ + 3 และ +6
2. ไม่ ละเลยการลดต้ นทุน
เพราะต้ นทุนของคูแ่ ข่งก็...ลดต่าลง
3. เร่ งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่ อน
คูแ่ ข่งจะเข้ ามาแข่งถึงในเขตแดนเรา
4. ผูกมัดใจลูกค้ าทุกรูปแบบ & สร้ าง บริ ษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมรองรับหรื อเคยผลิตส่งบริ ษัทแม่
อาจถูกแย่งลูกค้ า โดยคูแ่ ข่งในประเทศอื่นที่ได้ เปรี ยบกว่าใน
ความแตกต่ างด้ วยความคิด
สร้ างสรรค์ คุณภาพ และมาตรฐาน การเป็ นฐานการผลิต
5. ต้ องคิด “ทาอย่ างไรให้ เขาอยู่กับ
เรา”
อาจถูกแย่งแรงงานฝี มือ
มาตรการรับมือ AEC
1. ศึกษา เสาะหาแหล่ งวัตถุดบิ ใน
AEC
2. ศึกษารสนิยม / ความต้ องการใน
AEC
3. ดูความเป็ นไปได้ ในการย้ ายฐาน
ผลิต
นาเข้ าวัตถุดิบ สินค้ ากึ่งสาเร็จรูปจากแหล่งผลิต ใน AEC ที่
มีความได้ เปรี ยบด้ านราคา / คุณภาพ
ขายให้ ตลาดใหญ่ขึ ้น และใช้ ประโยชน์จาก Economy of
Scale ให้ เต็มที่
สามารถย้ ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เหมาะสมเป็ น
แหล่งผลิตได้
มาตรการรับมือ AEC
ข้ อเสนอแนะต่ อภาครัฐ
1.
รัฐต้ องปรับรูปแบบการให้ ความรู้เกี่ยวกับ AEC แก่ ผ้ ูประกอบการอย่ างลึกซึง้ อย่ างชัดเจนทุก
กลุ่มสินค้ าและบริการ และให้ ความรู้แบบครอบคลุมทัง้ ห่ วงโซ่ ของสินค้ า/บริการ ชนิดนัน้
2.
ส่ งเสริมการใช้ ประโยชน์ จากกฎระเบียบการค้ าต่ างๆ ทัง้ กฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ า (Rules of
Origin: RO) รวมถึงมาตรการที่มิใช่ ภาษี กฎหมายการคุ้มครองทรัพย์ สินทางปั ญญา
3.
ปรับปรุ งการอานวยความสะดวกการค้ าชายแดน การค้ าผ่ านแดน การค้ าข้ ามแดน เพื่อส่ งเสริม
ด้ านการค้ าการลงทุน ดังนี ้
- ลดขันตอนการตรวจสิ
้
นค้ า ให้ ประเทศที่มีชายแดนติดกันตรวจสินค้ าผ่านแดนร่วมกัน
- แก้ ปัญหารถรับจ้ างขนส่งสินค้ าสาธารณะ 2 สัญชาติ
- ปรับปรุงและขยายด่านชายแดน เช่น ด่านชายแดนมาเลเซีย คือ ด่านสะเดา และด่านปาดังเบซาร์
- เจรจาทวิภาคีในประเด็นการเดินรถกับกัมพูชา และเมียนมาร์
- เร่งรัดการสร้ างสะพานข้ ามแม่น ้าเมย อ.แม่สอด จ. ตาก แห่งที่ 2
มาตรการรับมือ AEC
3.
ปรับปรุ งการอานวยความสะดวกการค้ าชายแดน (ต่ อ)
ไทย – เมียนมาร์
- ด่านสิงขร จ.ประจวบคีรีขนั ธ์
- ด่านพระเจดีย์สามองค์ จ.กาญจนบุรี
- จุดผ่อนปรน บ้ านต้ นนุ่น จ.แม่ฮ่องสอน
- จุดผ่อนปรนบ้ านเปี ยงหลวง จ.เชียงใหม่
ไทย – กัมพูชา
- จุดผ่อนปรนช่องอานม้ า อ.น ้ายืน จ.อุลราชธานี
- จุดผ่อนปรนช่องสายตะกู อ.บ้ านกรวด จ.บุรีรัมย์
- ช่องทางขึ ้นเขาพระวิหาร อ.กันทรลักษณ์ จ.ศรีษะเกษ
ข้ อเสนอแนะต่ อภาครัฐ (ต่ อ)
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี
ช่ วยผู้ประการได้
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
การบริหารจัดการโลจิสติกส์ หมายถึง
กระบวนการทางานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับ การวางแผน การดาเนินการ และ
การควบคุมการทางานขององค์กร รวมทังการบริ
้
หารจัดการข้ อมูลและ
ธุรกรรมทางการเงินที่เกี่ยวข้ อง ให้ เกิดการเคลื่อนย้ าย การจัดเก็บ
การรวบรวม การกระจายสินค้ า วัตถุดิบ ชิ ้นส่วนประกอบ และการบริการ
ให้ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด โดยคานึงถึงความต้ องการและ
ความพึงพอใจของลูกค้ าเป็ นสาคัญ
ข้ อมูลจากหนังสือ
“แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ของประเทศไทย” ฉบับที่ 2 (2556-2560)
โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
ภาคผนวก ก. หน้ าที่ 1
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
การจัดการโซ่ อุปทาน หมายถึง
การบริ หารแบบเชิงกลยุทธ์ ที่คานึงถึงความเกี่ยวเนื่อง หรื อความสัมพันธ์กนั แบบบูรณาการ
ของหน่วยงานหรื อแผนกภายในองค์กรและคูค่ ้ าที่เกี่ยวข้ อง ไม่วา่ จะเป็ นลูกค้ าหรื อ
ซัพพลายเออร์ ในโซ่อปุ ทาน โดยมีจดุ ประสงค์ที่จะนาส่งสินค้ าหรื อบริการ ตามความ
ต้ องการของผู้บริ โภคให้ ดีที่สดุ ไม่วา่ จะเป็ นในเรื่ องของเวลา ราคา หรื อคุณภาพ โดยจะ
บริ หารจัดการ ในเรื่ องของข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินการขององค์กรและคูค่ ้ าอย่างมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ขจัดความล่าช้ า ในการทาธุรกรรมต่างๆ รวมถึงการขจัด
ปั ญหาในการส่งหรื อรับมอบสินค้ าและบริ การที่มีผลมาจากระบบการจัดการด้ านการเงินที่
ไม่มีประสิทธิภาพ โดยอาจกล่าวได้ วา่ เป็ นการบริหารจัดการตังแต่
้ ต้นน ้า หรื อแหล่งวัตถุดิบ
ในการผลิตชิ ้นส่วนต่างๆ ป้อนเข้ าโรงงานจนถึงปลายน ้าหรื อมือผู้บริโภค
ข้ อมูลจากหนังสือ
“แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ของประเทศไทย” ฉบับที่ 2 (2556-2560)
โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
ภาคผนวก ก. หน้ าที่ 2
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
โครงสร้ างธุรกิจการค้ าระหว่ างประเทศ
ผู้ขาย
ผู้ส่งออก
ผู้ให้ บริการ
โลจิสติกส์
ผู้ซอื ้
ผู้นาเข้ า
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
กระบวนการจัดการโลจิสติกส์ เพื่อการส่ งออก
1
• การเสนอขายและรับการสั่งซือ้
2
• การเตรียมสินค้ า
3
• การติดต่ อขนส่ ง
4
• การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการส่ งออก
5
• การติดต่ อผ่ านพิธีการศุลกากร
6
• การส่ งมอบสินค้ า
7
• การเรียกเก็บเงินค่ าสินค้ า
8
• การขอรับสิทธิประโยชน์
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ ในไทย
ที่จดทะเบียนมีประมาณ 16,000 ราย ใน16 ประเภทธุรกิจบริการ
Domestic Road Freight
Transport Services
Rail Freight
Transport Services
Storage And Warehousing
services
Air Freight Transport Services
Integrated Logistics Services
International Maritime Freight
Transport Services
Cross Border Freight
Transport Services
Postal / Courier Services
Transport Agency Services
Inland waterway / Coastal
Shipping Services
Cargo Handling Services
Customs Brokers (Customs
Clearance) Services
Freight Forwarding Services
Freight Consolidator Services
IT for Logistics Services
Trade Finance for Logistics
Services
Integrated Logistics Services
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
โลจิสติกส์การค้ ากับการพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขัน
พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
ระบบกระจายสินค้ า
เครื่ องมือ
ลดความเสี่ยง
ทางการค้ า
การอานวย
ความสะดวก
ทางการค้ า
โลจิสติกส์ การค้ า
พัฒนาผู้ให้ บริ การ
โลจิสติกส์
เครื อข่ายการค้ า
การใช้ ประโยชน์
โครงสร้ างพื ้นฐาน
อย่างมีประสิทธิภาพ
ประหยัดต้ นทุน
(cost saving)
ตอบสนองความ
ต้ องการตลาด
(Responsiveness)
สร้ างความน่ าเชื่อถือ
ในการส่ งมอบสินค้ า
(trust)
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
ความสาคัญของโลจิสติกส์ การค้ าในเชิงนโยบาย

การพัฒนาโลจิสติกส์ เป็ นวาระสาคัญของชาติและของธุรกิจ
ของไทย

รั ฐกาหนดเป้าหมายด้ านโลจิสติกส์
•
•
•
ให้
•
ให้
ลดสัดส่ วน ต้ นทุนโลจิสติกส์ตอ่ GDP ให้ ต่ากว่าร้ อยละ 15
เพิ่มสัดส่ วน การขนส่งทางรางเป็ นร้ อยละ 5
ลดต้ นทุน การประกอบธุรกิจภายในประเทศและระหว่างประเทศในภูมิภาค
เข้ าสู่ มาตรฐานสากล
เพิ่มมูลค่ า การค้ าชายแดนและการลงทุนของไทยในกลุม่ ประเทศเพื่อนบ้ าน
เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 15 และ 30
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
แนวทางการพัฒนาโลจิสติกส์ เพื่อการค้ าระหว่ างประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11
1)
2)
3)
4)
5)
ยุทธศาสตร์ การเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่งและเชื่อมโยงโครงสร้ างพื ้นฐาน
ทังในประเทศและประเทศเพื
้
่อนบ้ าน
ยุทธศาสตร์ การเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์เพื่อการผลิตและสนับสนุนความร่วมมือใน
โซ่อปุ ทาน
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาธุรกิจบริ การโลจิสติกส์
- การส่งเสริ มให้ เกิดการรวมกลุม่ ผู้ประกอบการ
- การส่งเสริ มและอานวยความสะดวกของผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในการลงทุนในต่างประเทศ
และ
- การสร้ างเครื อข่ายด้ านโลจิสติกส์
ยุทธศาสตร์ การเพิ่มประสิทธิภาพด้ านการอานวยความสะดวกทางการค้ า*
- การพัฒนาระบบ NSW
ยุทธศาสตร์ การพัฒนากาลังคนและข้ อมูลข่าวสารโลจิสติกส์
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
การเชื่อมโยงเครื อข่ายโลจิสติกส์ เพื่อการเป็ นการเป็ น
ASEAN LOGISTIC HUB
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
เส้ นทางการขนส่ งสินค้ า ระหว่ างไทย-เวียดนาม-กัมพูชา
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
ขนส่ งทางถนน (ไทย นครพนม – ลาว – เวียดนาม – จีน)
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
เส้ นทางการขนส่ งสินค้ าทางถนน (ไทย – ลาว – จีน) R3A
ระบบโลจิสติกส์ ท่ ดี ี ช่ วยผู้ประการได้
เส้ นทางการขนส่ งสินค้ าทางถนน (ไทย – พม่ า – จีน) R3B
รายชื่อกรรมการโลจิสติกส์ ท่ เี ข้ าไปลงทุน หรื อ ขนส่ งในกลุ่ม CLMV
1. นายวิชยั วิทยฐานกรณ์
Mr.Vichai Vitayathanagorn
e-mail : [email protected]
2. นายวรทัศน์ ตันติมงคลสุข
Mr.Voratat Tantimongkolsuk
e-mail : [email protected]
3. นายนิยม ไวยรัชพานิช
Mr.niyom wairatpanij
e-mail: [email protected]
เชียวชาญ ลาว– จีน
เชี่ยวชาญกัมพูชา/ เวียดนาม
พอสมควร
เชี่ยวชาญเมียนมาร์ และ
เชียวชาญCLV
บริษัทฟี ลาพลัส จากัด
1437 ถนนกาญจนาพิเษก แขวงบางแครเหนือ เขตบางแคร
กรุงเทพฯ 10160
โทร.02-454-4422ต่อ205 โทรสาร.02-454-2626
มือถือ.081-701-9701
ผู้ประสานงาน
นางสาวสุจิน เวโรจน์วาณิช Miss Sujin Wayrojwanich
ตาแหน่งเลขานุการ มือถือ.081-445-126
กรรมการผู้จัดการบริษัท โลจิสติกส์ วัน จากัด
1000/125 ซ.สุขมุ วิท 55 (ทองหล่อ) ถ.สุขมุ วิท แขวงคลองตัน
เหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110
โทร. 02-381-5001-6 โทรสาร. 02-381-5008
มือถือ. 081-926-5128
รองประธานกรรมการ สภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย
ที่อยู่ เลขที่ 474 หมู่ 7 ตาบลแม่ปะ อาเภอแม่สอด
จังหวัดตาก 63110
โทร.: 055-801-683-4 โทรสาร: 055-801-685
มือถือ: 081-888-5005
ผู้ประสานงาน: คุณภูริสิทธ์ แจ้ งศิริพนั ธ์
โทร.: 02-622-1860 ต่อ 433 มือถือ: 086-378-3328
e-mail: [email protected]
รายชื่อกรรมการโลจิสติกส์ ท่ เี ข้ าไปลงทุน หรื อ ขนส่ งในกลุ่ม CLMV
4. นางดวงใจ จันทร
Mr.Doungjai ChanThon
e-mail : [email protected]
5. นายพัฒนา สิทธิสมบัติ
Mr.Pattana Suttisombat
e-mail: [email protected]
เชี่ยวชาญกัมพูชา
เชี่ยวชาญเมียนมาร์ ลาว
คณะกรรมการส่ งเสริมเศรษฐกิจกับประเทศ
เพื่อนบ้ าน
เลขที่ 55/150 หมู่บ้านทาวน์ พลัส
ถนนคลองลาเจียก แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม
กรุงเทพฯ 10240
บริษัท นัทธกันต์ จากัด 1122 หมู่ท่ ี 1 เมืองตราด จ.
ตราด
มือถือ.081-855-7568 โทรสาร.02-943-8566
ผู้ประสานงาน คุณโกวิท สินธนภณ
มือถือ. 081-487-5066 e-mail : [email protected]
ประธานคณะกรรมการเพื่อโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ
หอการค้ า 10 จังหวัดภาคเหนือ (คสศ.) ตาบลรอบเวียง
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000
โทร.: 053-713-494 โทรสาร: 053-744-067
มือถือ: 081-602-6333
ผู้ประสานงาน: คุณออน ทาผัด
โทร. 053-774204 โทรสาร. 053-774204
มือถือ. 085-716-2584 e-mail: [email protected]
ขอบคุณครั บ