Direction to the Developement of the Perioperative Ngs Care
Download
Report
Transcript Direction to the Developement of the Perioperative Ngs Care
การประชุมวิชาการ
ชมรมพยาบาลห้ องผ่ าตัดแห่ งประเทศไทย
ครั้งที่ 5
เรื่ องทิศทางการพัฒนาสู่ คุณภาพการพยาบาลผ่ าตัด
; The Direction to the Developement of
the Perioperative Ngs Care
วันที่ 24 - 25 มิถุนายน 2543
ณ.อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี ซอยศูนย์ วจิ ัย
กรุงเทพ ฯ
Jump to first page
ทิศทางการพัฒนา สู่ คุณภาพการพยาบาลผ่ าตัด
เนื่องมาจากผู้รับบริการมีการเรียกร้ องสิ ทธิในการรับบริการทางสุ ภาพ การมี
ระบบประกันสั งคม ระบบประกันสุ ขภาพ ทุกโรงพยาบาลจึงต้ องมีการปรับตัว
เพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล อาจจะด้ วยระบบ HA หรื อ ISO ส่ วนการ
พยาบาลผ่าตัด ยังมีปัจจัยอื่น ทีท่ าให้ ต้องมีการเปลีย่ นแปลงและพัฒนาในระบบ
การพยาบาลผ่ าตัด ได้ แก่
ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยี ทางศัลยกรรม เช่ น Endoscopic Surgery
มีผ้ เู ชี่ ยวชาญเฉพาะทาง แต่ ละสาขามากขึน
้
แนวโน้ มการทาผ่ าตัดผู้ป่วยนอก ( Day Surgery ) สู งขึน
้
ความต้ องการบริ การผ่ าตัดทีม
่ ีคุณภาพสู ง ( High Quality, Cost - Effective
)
Jump to first page
การพยาบาลผ่ าตัดทีม่ ีคุณภาพ
่
ด้ านบริการพยาบาล คือ การเชือมโยงระหว่
าง
การให้ บริการและความต้ องการของผู้มารับบริการแต่ ละคน
ด้ านบริการ การจัดการศึกษาสาขาการพยาบาลผ่ าตัด จาก
การผลิตบุคลากรและการใช้ บุคลากรทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ ซึ่งจะ
นาไปสู่ การพัฒนาวิชาชีพและการพัฒนาสุ ขภาพอนามัยของ
ประชาชน
ด้ านคุณภาพงานวิจัยทางการพยาบาลผ่ าตัด เป็ น
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของวิชาชีพพยาบาลผ่าตัด
Jump to first page
การพัฒนาคุณภาพด้ านบริการพยาบาล
ความรู้ ความสามารถของผู้ให้ บริการ ( Competency )
ความเหมาะสมของการให้ บริการ (Appropriateness )
ประสิ ทธิผล ( Effectiveness ) รอดชีวติ คุณภาพชีวติ ดีขนึ้
ประสิ ทธิภาพของการให้ บริการ ( Efficiency ) การใช้ ทรัพยากร
ความปลอดภัย ( Safety ) มีระบบบริหารจัดการความเสี่ ยง
การเข้ าถึงบริการ ( Accessibility ) อย่างเหมาะสม
ความเท่ าเทียมกันในการให้ บริการ ( Equity ) อย่างเสมอภาค
ความต่ อเนื่อง ( Continuity ) ในการดูแลรักษา พยาบาล
Jump to first page
องค์ ประกอบทีท่ าให้ งานบริการผ่ าตัดมีคุณภาพที่ดี
ต้ องมีกจิ กรรมทีม่ ผี ลต่ อการพัฒนาคุณภาพ
มีระบบการฟังเสี ยงสะท้ อนจากผู้รับบริการ ( Suggestion System )
มีระบบบริ หารจัดการความเสี่ ยง ( Risk Management )
มีระบบประกันคุณภาพ ( Quality Assurance )
มีระบบพัฒนา / ปรั บปรุ งคุณภาพอย่ างต่ อเนื่ อง ( Continuous Quality
Improvement )
มีการประสานในแนวราบ ( Horizontal Integration ) โดยมีระบบสื่ อสาร /
ระบบสารสนเทศและการทางานเป็ นทีม ภายใน / ระหว่ างหน่ วยงาน /สหสาขา
วิชาชีพ
ทิศทางร่ วมกันของหน่ วยงานผ่ าตัด ( Vertical Alignment ) จากแผนงานที่
Jump to first page
เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร มีความมุ่งมัน่ ในการพัฒนาคุณภาพ ( Commitment
)
แนวทางการพัฒนา สู่ คุณภาพการพยาบาลผ่ าตัด
พัฒนาพฤติกรรมบริการ ของผู้ประกอบวิชาชีพ เป็ นปัญหาใหญ่ ซึ่งองค์
รวมของปัจเจกบุคคลต่ อพยาบาลแต่ ละคน ความรู้ ความเข้ าใจในบทบาท
ของพยาบาล ทักษะในการติดต่ อสื่ อสารกับผู้ร่วมงานและผู้รับบริการ
“ พยาบาล เป็ นตัวแทนในการพิทกั ษ์ สิทธิของผู้รับบริการ ”
พัฒนาเทคนิคบริการ โดยการสร ้างมาตรฐานการ
พัฒนาคุณภาพการพยาบาลผู้ป่วยผ่ าตัด
Operating Room Nursing
PeriOperative Nursing
Jump to first page
มาตรฐานการปฏิบัติ
:Nursing Practice Standard
การใช้ กระบวนการพยาบาลตามศาสตร์ และศิลปะทางการพยาบาล
( Nursing Process ) ,ตามหลัก PDCA
การรักษาสิ ทธิของผู้ป่วย จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาล ทีม่ ผี ้ ปู ่ วยเป็ นศูนย์ กลาง
การจัดการและการดูแลอย่ างต่ อเนื่อง
การบันทึกและรายงานทางการพยาบาล
Jump to first page
แผนภาพแสดงการพัฒนาคุณภาพ :PDCA
Implement Guideline
Study
Standardize
Plan
Do
Improvement
Act
Check
Jump to first page
ขั้นตอนการพัฒนา สู่ คุณภาพการพยาบาลผ่ าตัด
คณะกรรมการพัฒนาการปฏิบัติพยาบาลของสมาคมพยาบาลห้ องผ่ าตัด
นานาชาติ ; AORN ( Association of periOperative Registered
Nurses )Nursing Practice Committee : NPC ได้กาหนดมาตรฐานการ
ประเมินและการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลผู้ป่วยผ่ าตัด
โดยใช้ แนวทางการประเมินและการพัฒนาบริการพยาบาลของ JCAHO ( The
Joint Commission on Accreditation of Healthcare Organization )
Jump to first page
Quality Improvement Standards for Periopeative Ngs.
Scope of Patients
Responsibility
Quality Indicators
Important Aspect
Program Implementation
Level of Quality Indicators
Evaluation
Improvement
Report
Documents
Jump to first page
กระบวนการพัฒนาคุณภาพของระบบงาน
มีกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพ โดยทาร่ วมกันระหว่ างผู้ปฏิบัติงานทุกระดับใน
หน่ วยงาน / ระหว่ างหน่ วยงาน
มีการวิเคราะห์ ความต้ องการและความคาดหวังของผู้มารับบริการ
มีกฎระเบียบและนโยบายทีจ่ าเป็ นอย่างชัดเจน
มีเอกสารพัฒนาคุณภาพ / คู่มือ / แนวทางปฏิบัติงาน สอดคล้องกับนโยบาย
ของโรงพยาบาล ได้ แก่ คู่มือคุณภาพ ,ระเบียบปฏิบัตงิ าน, บันทึกทางการ
พยาบาล
มีกระบวนการจัดทาเอกสาร พัฒนาคุณภาพ
บุคลากรทุกระดับรับทราบ เข้ าใจและปฏิบัตติ ามคู่มือ ฯ
มีการประเมินคู่มือ / แนวทางการปฏิบัติงาน
Jump to first page
หัวใจสาคัญของ : HA
เป้ าหมายหลักทีผ่ ้ รู ับบริการ / คุ้มครองสิ ทธิและศักดิ์ศรี
มีการวิเคราะห์ / ประเมิน / ทบทวนตรวจสอบตนเองตลอดเวลา
อย่ายึดติดกับเครื่ องมือให้ มาก มีการทบทวน ตรวจสอบเป็ นระยะ ๆ
ประเมินตนเองตาม HA : Quality Round, Self Assessment
MOMEPEISI : Mission, Organization, Men, Education,
Procedure, Environment, Instruments, Structure,
Improvement
Jump to first page
แผนภาพแสดงการประเมินตนเอง
พัฒนาคุณภาพ
: Quality Improvement
ประเมินตนเอง
: Self Assessment
เรียนรู้ / ปรับปรุ ง / ปกครองตนเอง
: Study / Standardize
ประเมินและรับรอง
โดยองค์ กรภายนอก : Hospital Accreditation
Jump to first page
ร่ างมาตรฐานการพยาบาลผ่ าตัด :
Standard of PeriOperative Nursing
่ าหนดไว้เป็ น
มาตรฐานการพยาบาลผ่ าตัด คือ ข้อความทีก
แนวทางในการปฏิบัติพยาบาลผู้ป่วยทีม่ ารับการผ่ าตัด ครอบคลุมบทบาท
หน้ าที่ ความรับผิดชอบของพยาบาลวิชาชีพในห้ องผ่ าตัด สามารถตรวจสอบ
และประเมินผลได้ สะท้ อนคุณค่ าทางวิชาชีพ ใช้ เป็ นมาตรฐานกลาง สามารถ
นาไปประยุกต์ ใช้ ได้ กบั สถาบันทัว่ ไป แบ่ งได้ 3 ส่ วน คือ
มาตรฐานเชิ งโครงสร้ าง
( Structure )
มาตรฐานเชิ งกระบวนการ ( Process )
มาตรฐานเชิ งผลลัพธ์ ( Patient Outcomes )
Jump to first page
มาตรฐานเชิงโครงสร้ าง :
โครงสร้ างการบริหารจัดการในห้ องผ่าตัด
ระบบบริหารจัดการบริการพยาบาล
การบริหารทรัพยากรบุคคล
การจัดอาคาร สถานที่ สิ่ งแวดล้อม
การจัดการเครื่ องมือ เครื่ องใช้ และเวชภัณฑ์
Jump to first page
มาตรฐานเชิงกระบวนการ :
การใช้ กระบวนการพยาบาล
ในการปฏิบัตกิ ารพยาบาลทุกระยะการผ่ าตัด
การปฏิบัตพิ ยาบาลเชิงวิชาชีพ
การพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
Jump to first page
มาตรฐานเชิงผลลัพธ์ :
ผู้ป่วยมีความพร้ อมทั้งด้ านร่ างกาย จิตสั งคม
และจิตวิญญาณ
ผู้ป่วยปลอดภัยจากปัจจัยเสี่ ยงต่ าง ๆ
ผู้ป่วยได้ รับการตอบสนองความปวด
และมีความสุ ขสบาย
ผู้ป่วยได้ รับการพิทกั ษ์ สิทธิทพี่ งึ มี
Jump to first page
การบันทึกทางการพยาบาลที่ดี
Concise คือ สั้น แต่มขี ้ อความหรื อใจความที่รัดกุม
Cogent คือ มีเหตุผลเชื่ อถือได้
Complete คือ สมบูรณ์ ครอบคลุม สิ่ งทีเ่ ป็ นสาระจาเป็ น ;
Procedure Manual
“ การบันทึกทางการพยาบาลที่ดี ต้ องไม่ เพิม่ งานด้ านขีดเขียน ให้ แก่
พยาบาลมากนัก ควรลดการเขียนเชิงพรรณนา อาจจัดทา
แบบฟอร์ มให้ เป็ นเพียงแต่ เช็คเครื่ องหมาย หรื อ ตัวเลข แล้ ว
รวบรวมสิ่ งผิดปกติไว้ ใน Nurses’ Note เท่ านั้น ”
Jump to first page
ประโยชน์ ของการมีแบบบันทึก
มีรูปแบบทีเ่ ป็ นหลักฐาน ใช้ เป็ นสื่ อและรายงานทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ
เป็ นเครื่ องมือในการเฝ้าระวัง หรื อตรวจสอบการเปลีย่ นแปลง พยาธิ
สภาพของผู้ป่วยได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
เป็ นแนวทางในการสอน แนะนาแก่ นักศึกษาและบุคลากรในทีมสุ ขภาพ
เป็ นข้ อมูลในการทาวิจัย บทบาทของพยาบาลผ่ าตัด
เป็ นเครื่ องมือ ประเมินคุณภาพการพยาบาลได้ เป็ นอย่ างดี
เป็ นเอกสารทางกฎหมาย ; Quality Manual
Jump to first page
ปัญหาของการบันทึกทางการพยาบาล
จะเห็นว่ าเป็ นการรบกวนเวลาการปฏิบัติงาน
มีความยุ่งยากในการบันทึก
ขาดความรู้ ความเข้ าใจในการบันทึก
ไม่ เห็นถึงความสาคัญและผลประโยชน์ ทีพ่ งึ จะได้ รับจากการมี
รู ปแบบการบันทึกทีเ่ ป็ นหลักฐาน สามารถใช้ เป็ นสื่ อและรายงานที่มี
ประสิ ทธิภาพ
Jump to first page
พยาบาลผ่ าตัดกับการใช้ งานระบบมัลติมีเดีย
่
มัลติมเี ดียหรือสือผสม
( Multimedia Data Management )
หมายถึง สื่ อกลางของการสื่ อสารระหว่ างมนุษย์ กบั เครื่ อง ( Human - Machine )
ทีร่ วมการสื่ อสารทุกรู ปแบบไว้ ในการทางานระบบเดียว ระบบสื่ อผสมแบบ
ปฏิสัมพันธ์ ( Interactive Multimedia ) ปัจจุบันแบ่ งออกได้ 3 รู ปแบบ คือ
Merchandising คือ ใช้ ในการพาณิชย์ เช่ นระบบแนะนาโรงพยาบาล
Training คือ ใช้ ในการฝึ กงาน จะอยู่ในรู ปคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
Education คือ ใช้ ในการศึกษา เป็ นการนาระบบสื่ อผสมแบบปฏิสัมพันธ์ มา
ใช้ ในการเรียน การสอน โดยไม่ จากัดรู ปแบบการเรียนรู้
“ CAI : Computer Assisted Instruction ”
Jump to first page
หลักการออกแบบคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
Specify Objective
Gain Attention
Guide Learning
Present New Information
Assess Performance
Activated Prior Knowledge
Elicit Response
Promote & Transfer
Provide Feedback
Jump to first page
ลักษณะของโปรแกรมสาเร็จรูป
ภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสู ง เช่ น C++ , Pascal ใช้ ในหมู่นักคอมพิวเตอร์
โปรแกรมสาเร็จรู ป แยกได้ 2 ระบบ
เพื่อใช้ งานทั่วไป เช่ น PC Storyboard, Show Partner, Paint
Brush, dBase, Fantavision เป็ นต้น มีข้อจากัดในการใช้ งาน
เพื่อใช้ สร้ างบทเรียนด้ วยระบบ Authoring System พัฒนาโดยผู้เชี่ยวชาญ
ทางด้ านการเขียนโปรแกรม ใช้ งานง่ าย สะดวก เช่ น
พัฒนาโดยคนไทย :
ไทยทัศน์ , ไทยโชว์ , จุฬา CAI
ต่ างประเทศทีร
่ ู้จัก :
PLATO, Authoware, PINE, TenCore,
Hypercard, Multimedia Toolbook
Jump to first page
พัฒนาคุณภาพการพยาบาลผ่ าตัดด้ วยวิจัย
: ทาอย่ างไร ?
Jump to first page
ความหมายของการวิจัย
กระบวนการ วิธีการศึกษาหาข้ อเท็จจริง คาตอบของปัญหาและความรู้
ใหม่
ผู้ทาวิจัย ต้ องมีความศรัทธาและยอมรับ
มีมาตรฐานการปฏิบัติทตี่ รวจสอบได้
มิตทิ างการพยาบาล ; ( W ) Holistic Nursing Care
ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา การนาผลงานวิจัยไปใช้ เปลีย่ นแปลงด้ วย
กระบวนการวิจัย
Jump to first page
การทาวิจัยต้ องคานึงถึง
ประเด็นที่จะนามาทาวิจัย
การปฏิบัติพยาบาลในระยะต่ าง ๆ ตั้งแต่ ก่อนผ่ าตัด, ระยะผ่ าตัดและหลังผ่ าตัด
บทบาทของพยาบาลผ่ าตัด เช่ น การประเมินสภาพผู้ป่วย, การป้ องกันการติดเชื้ อ
เป็ นต้ น
“ การวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ”
่ ดก บ
ตัวชี้วดั คือ การประเมินจากผลทีเกิ
ั ผู ป
้ ่ วยและ
ครอบครัว
ภาวะสุ ขภาพ เช่ น ภาวะแทรกซ้ อน, การติดเชื้อ, อัตราตาย
ความวิตกกังวล / ความเครี ยด
ความพึงพอใจ
ความสามารถในการปฏิบัติตัวตามแผนการพยาบาล
Jump to first page
ขั้นตอนการทาวิจัย
การวางแผนการวิจัย
การดาเนินการวิจัย
การนาเสนอผลการวิจัยและการเผยแพร่
ทีน่ ่ าสนใจ คือ การวิจัยเชิงสารวจ
“ Action Research ”
แนวทางการทาวิจัย ทีน่ ิยม คือ การทาวิจัยใหม่ และวิจัยซ้า
Jump to first page
จริยธรรมของผู้ทาวิจัย
•กลุ่มประชากรตัวอย่ าง
•ได้ รับการพิทกั ษ์ สิทธิ
•ปัจเจกบุคคล
•ความยุตธิ รรมต่ อข้ อมูล
•ผู้แสวงหาความรู้ และเผยแพร่
•ซื่ อสั ตย์ ปราศจากอคติ
•เคารพความคิดเห็นผู้อื่น
•กล้าชี้นา
•ผู้ใช้ ผลงานวิจัย
•ให้ เกียรติเจ้ าของผลงาน
•อ้างอิงบอกแหล่งทีม่ า
•ไม่ แอบอ้ างผลงานผู้อื่น
Jump to first page
การนาเสนอผลงานการ
วิจัยของพยาบาลผ่ าตัด
Jump to first page
ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่ อบริการพยาบาลห้ อง
ผ่ าตัดสู ติ - นรีเวชกรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระ
ปิ่ นเกล้ า
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ป่วยต่ อบริการพยาบาลผู้ป่วยสู ติ - นรีเวช
กรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่ นเกล้า
รวบรวมข้ อมูลโดยการสั มภาษณ์
นาข้ อมูลมาวิเคราะห์ โดยการแจกแจงความถี่, คิดอัตราร้ อยละ หาค่ าเฉลีย่
และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Jump to first page
ความพึงพอใจของผู้ป่วยนอก ทีม่ าใช้ บริการงานห้ อง
ผ่ าตัด โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ป่วยทีม่ าใช้ บริการงานห้ องผ่ าตัด แผนกผู้ป่วย
นอก โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ นาผลการวิจัยทีไ่ ด้ มาใช้ ในการ
ปรับปรุ งและพัฒนาคุณภาพงานบริการพยาบาลผ่ าตัด ให้ มปี ระสิ ทธิภาพและ
ตอบสนองความต้ องการของผู้ป่วยทีม่ าใช้ บริการงานห้ องผ่ าตัดมากทีส่ ุ ด
เป็ นการวิจัยเชิงสารวจ ( Survey Research ) การวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ
ใช้ ค่าเฉลีย่ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและร้ อยละ โดยใช้ โปรแกรม SPSS ในการ
วิจัย
Jump to first page
ผลการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาคุณภาพบริการ
พยาบาลผ่ าตัด โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
( โครงการเสริมความรู้ แก่ ผ้ ูป่วยและญาติ ก่ อนและหลังผ่ าตัด )
งานห้ องผ่ าตัดได้ จัดทาโครงการพัฒนาคุณภาพบริการงานห้ องผ่ าตัด โดยการเยีย่ ม
ผู้ป่วยก่ อนและหลังผ่ าตัด โดยบุคลากรในห้ องผ่ าตัด เริ่มในปี งบประมาณ 2542
และดาเนินการต่ อเนื่องมาในปี งบประมาณ 2543
ขั้นตอนการรวบรวมข้ อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม ตามรู ปแบบการเยีย่ มผู้ป่วยที่จัดทา
ขึน้ โดยคณะทางานร่ วมประชุ ม ปรึกษาสร้ างรู ปแบบ
นาข้ อมูลทีไ่ ด้ มาวิเคราะห์ โดยใช้ ค่าเฉลีย่ และร้ อยละ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนา
ต่ อไป
Jump to first page
กลยุทธ์ ในการดูแลผู้ป่วยผ่ าตัด ของห้ องผ่ าตัด
โรงพยาบาลลาปาง
เพื่อให้ เป็ นการวิจัยทีส่ อดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่
8 เป็ นการพยาบาลแบบองค์ รวมหรื อบูรณาการ โดยยึดคนเป็ นศูนย์ กลาง ให้
สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว ชุ มชนให้ มสี ุ ขภาพดี
มุ่งเน้ นการดูแลผู้ป่วยแบบองค์ รวม : Holistic Nursing Care ให้ การดูแลผู้ป่วย
อย่างต่ อเนื่องทั้งในระยะก่อนผ่ าตัด ระยะผ่าตัดและหลังผ่าตัด
อาศัยหลักการ PDCA ; Plan Do Check Act
ทาให้ พยาบาลมีสัมพันธภาพทีด่ ีกบั ผู้ป่วยและญาติ เกิดความภาคภูมิใจในวิชาชีพ
มากขึน้
เพื่อเข้ าสู่ การรับรองคุณภาพโรงพยาบาลต่ อไป
Jump to first page
การผ่าตด
ั และเทคโนโลยีใหม่
โดยแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
Jump to first page
What’s new in arthroscopy ;
Dr. Somsak Kuptniratsaikul
Arthoscopy and Arthroscopic Surgery เป็ นการผ่าตัด
รักษาผู้ป่วยทีไ่ ด้ ผลดี เกิดผลเสี ยต่ อผู้ป่วยน้ อย จึงใช้ เป็ นทางเลือก
แนวใหม่ ในการดูแลรักษาผู้ป่วยทางด้ านศัลยกรรมกระดูกในไทย
เพื่อประโยชน์ สูงสุ ดต่ อผู้ป่วย
ทีน่ ิยมในปัจจุบัน คือ Arthroscopic Bankart repair,
Arthroscopic ACL reconstruction and Arthroscopic
PCL reconstruction.
Jump to first page
The Progress of Urology ;PCNL
รศ.นพ.ไชยยงศ์ นวลยงค์
เป็ นการส่ องกล้องผ่านเข้ าไปในไตโดยตรง เพื่อเอานิ่วออก ;
Percutaneous Nephrolithotomy
นิ่วเป็ นแบบ Ideal Stone
ผู้ป่วยเคยได้ รับการผ่ าตัดไต หรื อ Recurrent Stone
ข้ อดี : เนื้อเยื่อชอกช้าน้ อย, อาการปวดหลังผ่ าตัดน้ อยกว่ า
มาก, ฟื้ นตัวได้ เร็ว, ระยะเวลาอยู่โรงพยาบาลสั้ น
ข้ อเสี ย : ต้ องใช้ เครื่ องมือพิเศษ ราคาแพง รวมทั้งเครื่ อง C
- arm ( Fluroscope ), ต้ องการความชานาญ, อาจ
เป็ นอันตรายต่ อบุคลากรทางการแพทย์ เนื่องจากปริมาณ
รังสี ที่ใช้
Jump to first page
Craniofacial Surgery ;
รศ.นพ.จรัญ มหาทุมรัตน์
หมายถึง การผ่าตัด แก้ไขความพิการบนกะโหลกศีรษะและใบหน้ าชนิด
รุ นแรง ( Severe Cranio- facial deformities ) อาจเนื่องมาจาก
ความพิการแต่ กาเนิด เช่ น Crouzon syndrome, Apert syndrome,
หรื อความพิการทีเ่ กิดขึน้ ภายหลัง เช่ น จากอุบัตเิ หตุ ( Trauma ) หรื อ
เนื้องอก ( Tumor )
นาวิทยาการใหม่ ๆ มาประยุกต์ ผ่ าตัด แก้ ไขความพิการได้ เป็ นผลสาเร็จ
และปลอดภัย
การรักษาจาเป็ นต้ องทาเป็ นคณะ ( Cranio - facial Team )
ประกอบด้ วยผู้เชี่ยวชาญจากสาขาต่ าง ๆ ประมาณ 12 สาขามาวางแผน
การักษาพยาบาลผู้ป่วยเหล่ านี้
Jump to first page
การผ่ าตัดรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันแนวใหม่
; พ.ต.ต.นพ. สุจิตร์ บัญญัตปิ ิ ยพจน์
Coronary Heart Disease เป็ นโรคหัวใจทีเ่ กิดขึน้ ภายหลัง สาเหตุจากปัจจัยเสี่ยง
ต่ าง
Coronary Artery Bypass Surgery / CABG เป็ นการผ่าตัดโดยให้ หัวใจหยุด
เต้ น ใช้ เครื่ องหัวใจ - ปอดเทียม ( Heart - lung Machine ) ผ่าตัดนานทาให้
เกิดการกระตุ้นระบบภูมคิ ุ้มกัน ( Compliment Activation )
OPCAB /off Pump Coronary Artery Bypass เป็ นการผ่าตัดแนวใหม่ ทีไ่ ม่
ต้ องใช้ เครื่ องปอด - หัวใจเทียม เครื่ องมือทีน่ ิยม คือ Octopus
เส้ นเลือดทีน่ ิยมใช้ คือ เส้ นเลือดแดงจากบริเวณใต้ อก : Internal Mammary
Artery คงทนกว่าเส้ นเลือดดาทีใ่ ช้ อยู่เดิม
Jump to first page
Success is a Journey, not a Destination.
Jump to first page