Document 7121941

Download Report

Transcript Document 7121941

การพยาบาลผ้ ูป่วยประสาทหลอน หลง
ผิด และมีพฤติกรรมถอยหนี
อ. อัศวินี นามะกันคา
ภาค วิชาการพยาบาลจิตเวช
ประสาทหลอน (Hallucination)
เป็ นความผิดปกติทางการรับรู ้ต่อสิ่ งเร้า
ภายนอก โดยปราศจากสิ่ งกระตุน้
การรับรู ้น้ น
ั เกี่ยวข้องกับประสาทสัมผัสทั้ง 5
คือ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย
ชนิดของประสาทหลอน

Visual hallucination
 Auditory hallucination
 Olfactory hallucination
 Gustatory hallucination
 Tactile hallucination
ประสาทหลอนทีพ่ บมากทีส่ ุ ด

ทางการได้ยนิ
Schizophrenia
 ผูต้ ิดสารเสพติด

 ผู้ที่มีปัญหาทางสมอง
 ทางการได้
 ทางการสัมผัส
กลิ่น และการ
รั
บ
รส
ผูท้ ี่มีประสาทหลอนทางตา พบได้ในผูป้ ่ วยที่มี
ความผิดปกติหลายชนิด
ความแตกต่ างระหว่ าง
Illusion, Delusion, Hallucination
Illusion: เป็ นการแปลความ ความจริ งหรื อ
ความผิดพลาด โดยมีสิ่งกระตุน้ จากภายนอก
ประสาทลวงเป็ นสิ่ งที่เกิดได้ในความจริ ง ซึ่ง
เกิดได้จากการตีความข้อมูลด้านประสาทรับ
ความรู ้สึก
ความแตกต่ างระหว่ าง
Illusion, Delusion, Hallucination
 Hallucination
เป็ นภาวะที่บุคคลรับรู ้ต่อ
วัตถุ เหตุการณ์ที่ผิดๆ
และเกี่ยวข้องกับประสาท
สัมผัส โดยไม่ มีสิ่งเร้ ามา
กระตุ้น
 Delusion
เป็ นภาวะที่บุคคลมี
เนื้อหาความคิดผิดไป
จากความจริ ง มีความ
เชื่อ/ข้อสรุ ปอย่างหนัก
แน่นโดยปราศจาก
อาการหลงผิด
เป็ นความคิดผิดปกติของเนื้อหา
ความคิดที่บุคคลเชื่อและคิดในเรื่ องต่างๆ
โดยไม่อยูบ่ นพื้นฐานความจริ ง ผูป้ ่ วยไม่
สามารถเปลี่ยนแปลงความเชื่อนั้นด้วย
คาอธิบายธรรมดาได้

ภาวะหลงผิดแบ่ งเป็ น 2 ชนิดใหญ่

Bizarre delusion  Nonbizarre delusion
การที่มีความเชื่อที่
ความเชื่อที่ผิดไปจาก
ชัดเจนในสิ่ งที่เป็ นไป
ความเป็ นจริ งใน
ไม่ได้ เข้าใจยาก และผิด สถานการณ์ปัจจุบนั
ไปจากการดาเนินชีวิต แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้
ปกติ
กล่ มุ อาการหลักของ Schneider





Audible thought
Voices arguing
Voices commenting
Somatic passivity
Thought withdrawal

Thought insertion
 Thought
broadcasting
 Delusion perception
 Delusion of control
ประเภทของการหลงผิด
 Erotomanic type
 Persecutory type
 Grandiose type
 Somatic type
 Grandiose ability  Mixed type
 Grandiose identity
 Jealous type
ลักษณะอาการหลงผิด

Grandeur
 Persecution
 Erotic
 Self- accusatory

Nihilistic

Infidelity/Jealous

Hypochondriacal
/somatic
พฤติกรรมถอยหนี
 เป็ นวิธีแก้ ปัญหาของบุคคล โดยวิธีการ
พยายามหลีก หรื อเลี่ยงเหตุการณ์ หรื อบุคคล
หรื อสถานการณ์ที่ทาให้ตนเองรู ้สึกไม่ปลอดภัย
ไม่สบายใจ จึงต้องหลีกเลี่ยงให้พน้ สภาพนั้น
แล้วแยกมาอยูค่ นเดียว หรื ออาจถอยหนีจาก
ความจริ ง
ระดับของการถอยหนี

Normal withdrawal
เป็ นการแก้ ปัญหา
ของบุคคลทัว่ ไป
 Neurotic withdrawal
เป็ นการถอยหนีจาก
สภาพความเป็ นจริ ง
โดยสิ้ นเชิง
ลักษณะของผ้ ูมพี ฤติกรรมถอยหนี

ความสามารถในการปรับตัวให้สมดุลลดลง
เสียความสามารถในการทดสอบความจริง
 ทัศนคติและมาตรฐานทางสังคมเปลี่ยนไป
 ไม่สามารถควบคุมพลังความต้ องการ
พื้นฐาน

ลักษณะครอบครัวผู้ทมี่ พี ฤติกรรมถอย
หนี
ครอบครัวที่บิดามารดา หรื อคนในครอบครัวขัดแย้ง
กัน
ครอบครัวที่บิดามารดาปกป้ องมากเกิน
ครอบครัวที่บิดามารดามีลกั ษณะแยกตัวเอง
กลไกการเกิดพฤติกรรมแยกตัวเอง
สถานการณ์ดา้ นลบ
ทางบวก
ปรับตัวเหมาะสม
สนองตอบเหมาะสม
อยูใ่ นสิ่งแวดล้ อมได้ ดี
anxiety/stress
การเผชิญปัญหา
ทางลบ
ปรับตัวไม่เหมาะสม
สนองตอบไม่เหมาะสม
withdrawal
regression
dependent out of reality
การพยาบาล

การประเมิน
ปั ญหาทางการพยาบาล
วัตถุประสงค ์ / เกณฑ์ การประเมิน
การวางแผน / ให้ การพยาบาล

การประเมินผล



การประเมิน

การแปรปรวนทางความคิด
 การแปรปรวนทางการรับรู้
 การแปรปรวนทางด้ านความรู้ สก
ึ และ
อารมณ์
 การแปรปรวนทางด้ านพฤติกรรมและสังคม
ปัญหาทางการ
พยาบาล
 ด้ านร่ างกาย
 ด้ านจิตใจ ความคิด อารมณ์
 สุขวิทยาส่วนบุคคล
 วิธีการเผชิญปั ญหาไม่
บกพร่ อง
เหมาะสม
 กิจวัตรประจาวันบกพร่ อง  ความทนต่อความเครี ยดต่า
 พักผ่อนไม่เพียงพอ
 เสี่ยงต่อการขาด
สารอาหาร และน้ า
 ความรับรู้ บิดเบือนจากความ
จริ ง
 มีความคิดอยูใ่ นโลก
จินตนาการ
ปัญหาทางการพยาบาล

ด้ านจิตใจ ความคิด อารมณ์
 ด้ านสั งคม
ขาดการยอมรับจาก
ครอบครัว
ต่า
 รู้ สก
ึ ผิด+ละอายพฤติกรรม ถูกทอดทิ้ง ละเลยจากคน
ใกล้ชิด
ของตนเอง
 ความรู้ สก
ึ มีคณ
ุ ค่าในตนเอง 
 ไม่ไว้ วางใจบุคคลอื่น
 แยกตัวจากสังคม
 ขาดความมัน
่ ใจในตนเอง
 บกพร่ องในการสร้ าง
สัมพันธภาพ
คาที่ใกล้ เคียงกับ WITHDRAWAL
 ALONENESS
 LONELINESS
 ALIENATION
 ISOLATION