ดร.รังสรรค์ โฉมยา “การสอนเป็ นกิจกรรมที่พงึ มอบ เป็ นของกานัลทีล่ า้ ค่ าแด่ ผู้เรียน ไม่ ใช่ ถือเป็ นภาระสาคัญอันหนัก” อัลเบิร์ต ไอน์ สไตน์

Download Report

Transcript ดร.รังสรรค์ โฉมยา “การสอนเป็ นกิจกรรมที่พงึ มอบ เป็ นของกานัลทีล่ า้ ค่ าแด่ ผู้เรียน ไม่ ใช่ ถือเป็ นภาระสาคัญอันหนัก” อัลเบิร์ต ไอน์ สไตน์

ดร.รังสรรค์ โฉมยา
“การสอนเป็ นกิจกรรมที่พงึ มอบ
เป็ นของกานัลทีล่ า้ ค่ าแด่ ผู้เรียน
ไม่ ใช่ ถือเป็ นภาระสาคัญอันหนัก”
อัลเบิร์ต ไอน์ สไตน์
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
(Individual differences) คือคุณสมบัติ
ของบุคคลด้านต่างๆ ของบุคคล เช่น
สติปัญญา อารมณ์ สังคม
แต่ละบุคคลจะมีคุณสมบัติเฉพาะตัว ที่ทาให้
แต่ละบุคคลแตกต่างกัน
• ความแตกต่างภายในของบุคคล (Intraindividual differences) คือความผัน
แปรภายในของบุคคลเดียวกันในเวลาที่ต่างกัน
• สาเหตุของความแตกต่าง มีผลมาจาก
พันธุกรรม (heredity) และสภาพแวดล้อม
(environment) เช่น ครอบครัว สังคม
เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง ฯลฯ
พฤติกรรมของคน คือคุณสมบัติของตัวบุคคล
นั้นกับสภาพแวดล้อมของเขา
ในแง่ของการทางาน ความแตกต่างของบุคคลส่ งผลต่อความสามารถ ในการ
แก้ปัญหา ความรวดเร็ วและแม่นยาในการเห็น การฟัง ทักษะการพูด การเขียน
ความอดทนต่อความเครี ยด ต่อความเหนื่อยล้า ดังนั้น สิ่ งที่ทา้ ทายผูบ้ ริ หาร
ขององค์กรจึงต้องสังเกตความแตกต่างในผูป้ ฏิบตั ิงานแต่ละคน พยายาม
จัดการกับบุคคลที่แตกต่างกัน ปรับใช้พฤติกรรม เพื่อประโยชน์และบรรลุ
เป้ าหมายขององค์กร
นักจิตวิทยาให้ความสนใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล และศึกษาค้นคว้า
จัดประเภทของคน เพื่อให้ทราบว่าคนประเภทใดมีความเหมาะสมกับงาน
ประเภทใด และจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนได้อย่างไร
ความแตกต่างพื้นฐานของแต่ละบุคคล (Demographic
differences)
คือความแตกต่างจากพื้นฐานของแต่ละบุคคล ด้าน เพศ อายุ เชื้อชาติ
สมรรถภาพของร่ างกาย ซึ่ งเรี ยนว่า biographic characteristics
เป็ นตัวแปรสาคัญที่จะส่ งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล
- เพศ
- อายุ
- สมรรถภาพของร่ างกาย
- เชื้อชาติ
- พื้นฐานอื่น เช่น สถานะภาพการแต่งงาน จานวนบุตร
- เพศ
• งานวิจยั พบว่ามีความแตกต่างน้อยมากระหว่าง หญิงกับชายในเรื่ อง
ของผลกระทบที่มีต่อการทางาน ดังนั้นจึงพบว่าไม่ความแตกต่างใน
เรื่ องของความสามารถที่จะแก้ปัญหา ทักษะของการวิเคราะห์ การจูง
ใจ ความสามารถในการเรี ยนรู ้ หรื อความสามารถทางสังคม
• แต่พบว่า ผูห้ ญิงจะมีการประนีประนอม เชื่อฟัง ยอมรับ และมีความ
คาดหวังของความสาเร็ จของงานต่ากว่าผูช้ าย ดังนั้นจะพบว่าผูห้ ญิง
จะขาดงานมากกว่าผูช้ าย
• งานวิจยั พบว่าองค์กรที่มีผหู ้ ญิงมากกว่า จะมีความเกี่ยวพันสูงกับ
รายรับที่สูงของบริ ษทั
-อายุ
• งานวิจยั พบ ความสัมพันธ์ ระหว่างอายุและการเรี ยนรู ้ แต่ไม่พบ
ความสัมพันธ์ของอายุกบั ประสิ ทธิผลของงาน นัน่ คือคนอายุมาก
หรื อน้อยสามารถที่จะมีประสิ ทธิผลของงานได้
• คนอายุมากมีอตั ราค่อนข้างต่าที่จะขาดงาน หรื อหลีกหนีการเผชิญ
ปัญหา
• คนอายุมากไม่ค่อนออกจากงาน
• ความพึงพอใจในงานจะเพิม่ มากขึ้นเมื่อคนอายุสูงขึ้น
- สมรรถภาพของร่ างกาย
• งานวิจยั พบว่า คนพิการสามารถทางานได้ดีเท่ากับคนปกติ
• งานวิจยั พบว่า ค่าใช้จ่ายที่จะจ่ายในการอานวยความสะดวกเพื่อให้
คนพิการเข้ามาทางานไม่สูงอย่างที่คิด
- เชื้อชาติ
• งานวิจยั พบว่า คนเชื้อชาติ ชาติพนั ธ์เดียวกันจะมีลกั ษณะพฤติกรรม
คล้ายกัน แต่ละกลุ่มมีแนวโน้มที่จะมองเห็นความแตกต่าง แบ่งแยก
กับกลุ่มอื่น
-พื้นฐานอื่น
• คนแต่งงานแล้ว มีอตั ราการขาดและลาออกจากงานต่ากว่า คนโสด
แต่มีอตั ราความพึงพอใจในงานสูงกว่า เช่นเดียวกันกับจานวนลูก
มาก
• ระยะเวลาของประสบการณ์ในการทางาน คนมีประสบการณ์มากมี
อัตราการขาดและลาออกจากงานต่ากว่า และมีอตั ราความพึงพอใจ
ในงานสูงกว่า
ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล
• ความฉลาด
• ลักษณะทางกายภาพ
-ความฉลาด
คนฉลาดจะทางานได้ ดีกว่ าคนฉลาดน้ อยหรือไม่ ???
คาตอบ คือไม่ แน่
ขึ้นอยูก่ บั คาจากัดความของคาว่า ฉลาด ถ้าหมายถึงงงการ
ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซบั ซ้อน คาตอบอาจจะใช่
คนฉลาดกว่ าจะสามารถเรียนรู้สิ่งต่ างๆ ได้ เร็วกว่ าคนทีฉ่ ลาดหรือไม่ ??
คาตอบ คือ ใช่
คนฉลาดเรี ยนรู ้งานได้เร็ วกว่า จะมีโอกาสทางานสาเร็ จได้สูงกว่า
ความฉลาดมี 7 ชนิด
• ความฉลาดทางภาษา เป็ นความฉลาดของการใช้คา
• ความฉลาดในทางเหตุผลและตัวเลขการคานวณ
• ความฉลาดในทางมิติสัมพันธ์ เป็ นความฉลาดในการมองเห็นภาพ
และจิตนาการต่างๆ มีความสามารถในการรับรู ้ เปลี่ยนรู ป และสร้าง
รู ปแบบใหม่ๆ
• ความฉลาดทางดนตรี ความสามารถในการรับรู ้เสี ยง ทานอง จังหวะ
• ความฉลาดทางกายภาพ ความสามารถในการเคลื่อนย้ายกล้ามเนื้อ
จับถืออุปกรณ์
• ความฉลาดทางการสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่น ความสามารถในการเข้าใจและ
ทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ความสามารถรับรู ้อารมณ์ ความรู ้สึก ความ
ต้องการของผูอ้ ื่น สามารถตอบสนองผูอ้ ื่นได้อย่างเหมาะสม
• ความสามารถทางการมองเห็น ความสามารถในการวัดสังเกต
ความสามารถ ความบกพร่ อง ความถนัดของตนเอง ความสามารถ
ในการแก้ไขพัฒนาชีวิตของตนเอง
คนไม่ จำเป็ นที่จะฉลำดทั้ง 7 อย่ ำง
คนไม่ จำเป็ นที่จะมีควำมฉลำดสูงเพียงอย่ ำงเดียว
คนมีควำมฉลำดหลำยอย่ ำง พัฒนำควำมฉลำดได้
งำนแต่ ละงำนต้ องกำรควำมฉลำดแตกต่ ำงกัน
บุคคลมีความฉลาดแตกต่างกัน จึงยากที่จะวัด และเปรี ยบเทียบ
ความฉลาด
สิ่ งซึ่งซ่อนเร้น อยูใ่ นความฉลาด ที่ทาให้คนมีความฉลาดแบบใดแบบ
หนึ่งคือ
• ความสามารถในการจา
• ความสามารถในการจัดประเภท และจับประเด็น
บุคคลสามารถพัฒนาความสามารถเหล่านี้ได้ ดังนั้นการวัด
ความสามารถจึงดูเหมาะสมและเข้าใจได้มากกว่า
• ความสามารถทางภาษา ความสามารถในการใช้เหตุผลและคาจากัด
ความ
• ความสามารถทางตัวเลข
• ความสามารถด้านการรับรู ้ ความสามารถในการมองเห็น และให้
ข้อมูลที่เป็ นนามธรรม
• ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์
• ความสามารถทางเครื่ องจักรกล
• ความสามารถในความละเอียดถูกต้อง
• ความสามารถเชิงวิเคราะห์