การสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน CAI โดย อ. เกียรติพงษ์ ยอดเยีย่ มแกร ภาควิชาคอมพิวเตอร์ ศึกษา สถาบันราชภัฏจันทรเกษม คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนคืออะไร ? ในวงการศึกษา คอมพิวเตอร์ถือเป็ นเทคโนโลยี ทางการศึกษาอย่างหนึ่งที่นามาเใช้เพื่อการบริ หาร และใช้เพื่อสนับสนุนการเรี ยนการสอนที่เรี ยกว่า Computer Based Instruction : CBI คือการใช้ คอมพิวเตอร์เป็

Download Report

Transcript การสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน CAI โดย อ. เกียรติพงษ์ ยอดเยีย่ มแกร ภาควิชาคอมพิวเตอร์ ศึกษา สถาบันราชภัฏจันทรเกษม คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนคืออะไร ? ในวงการศึกษา คอมพิวเตอร์ถือเป็ นเทคโนโลยี ทางการศึกษาอย่างหนึ่งที่นามาเใช้เพื่อการบริ หาร และใช้เพื่อสนับสนุนการเรี ยนการสอนที่เรี ยกว่า Computer Based Instruction : CBI คือการใช้ คอมพิวเตอร์เป็

การสร้ างบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน CAI
โดย
อ. เกียรติพงษ์
ยอดเยีย่ มแกร
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ ศึกษา
สถาบันราชภัฏจันทรเกษม
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนคืออะไร ?
ในวงการศึกษา คอมพิวเตอร์ถือเป็ นเทคโนโลยี
ทางการศึกษาอย่างหนึ่งที่นามาเใช้เพื่อการบริ หาร
และใช้เพื่อสนับสนุนการเรี ยนการสอนที่เรี ยกว่า
Computer Based Instruction : CBI คือการใช้
คอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์หลักในการสอนโดยแบ่ง
ออกเป็ น
คอมพิวเตอร์จดั การสอน(Computer Manage Instruction : CMI)
 คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction : CAI)

คอมพิวเตอร์ จัดการสอน : CMI
เป็ นการใช้คอมพิวเตอรในการจั
ดหลักสูตร
์
ตารางสอน งานธุรการ
ระบบเงินเดือน ระบบการประเมินผล ระบบการลงทะเบียนเรี ยนเป็ นต้น
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน : CAI
CAI เป็ นกระบวนการเรี ยนการสอนโดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการนา
เสนอเนื้อหาเรื่ องราวต่างๆ มีลกั ษณะเป็ นการเรี ยนโดยตรงและเป็ นการ
เรี ยนแบบมีปฏิสัมพันธ์(Interactive) คือสามารถ
โต้ตอบระหว่างผูเ้ รี ยนกับคอมพิวเตอร์ได้
CAI ทาอะไรได้บา้ ง ?
ใช้ในงานเพื่อการสอน
 การทบทวนบทเรี ยนเพื่อฝึ กหัด
 การวัดผลหรื อสอบเลื่อนขั้น
 Electronic Book ช่วยทาให้เรารับรู ้ข่าวสารมากขึ้น

ทุกรู ปแบบมักเป็ นโปรแกรมสาเร็ จรู ปที่ตอ้ งสามารถโต้ตอบกับนักเรี ยนได้
เสมือนกับได้นงั่ เรี ยนกับครู จริ งๆ
องค์ ประกอบสาคัญของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
เสนอสิ่ งเร้ าให้ กบั ผู้เรียน ได้ แก่ เนือ้ หา ภาพนิ่ง คาถาม ภาพเคลือ่ นไหว
 ประเมินการตอบสนองของผู้เรี ยน ได้ แก่ การตัดสิ นคาตอบ เป็ นต้ น
 ให้ ข้อมูลย้ อนกลับเพือ
่ การเสริมแรง ได้ แก่ การให้ รางวัล หรือ คะแนน
 ให้ ผ้ ูเรียนเลือกสิ่ งเร้ าในลาดับต่ อไป

รู ปแบบต่ างๆ ของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

ประเภทเพือ่ การสอน (Tutorial Instruction) ประเภทนีม้ ีวตั ุประสงค์
เพือ่ การสอนเนือ้ หาใหม่ แก่ผู้เรียน มีการแบ่ งเนือ้ หาเป็ นหน่ วยย่ อย
มีคาถามในตอนท้ าย ถ้ าตอบถูกและผ่ าน ก็จะเรียนหน่ วยถัดไป
โปรแกรมประเภท Tutorial นี้มีผสู ้ ร้างเป็ นจานวนมาก
เป็ นการนาเสนอโปรแกรมแบบสาขา สามารถสร้างเพ
สอนได้ทุกวิชา
รูปแบบโปรแกรมบทเรียนแบบ Tutorial
Instruction
บทนาโปรแกรม
เสนอเนื้อหาบทเรี ยน
คาถามและคาตอบ
จบบทเรี ยน
ให้ขอ้ มูลย้อนกลับ
ตรวจคาตอบ
ประเภทการฝึ กหัด(Drill and Practice)
ประเภทนีว้ ตั ถุประสงค์ คอื ฝึ กความแม่ นยา หลังจากทีเ่ รียนเนือ้ หาจาก
ในห้ องเรียนมาแล้ว
โปรแกรมจะไม่ เสนอเนือ้ หาแต่ ใช้ วธิ ีสุ่ มคาถามทีน่ ามาจากคลังข้ อสอบ
มีการเสนอคาถามซ้าแล้วซ้าอีกเพือ่ วัดความ
รู้จริง มิใช่ การเดา จากนั้นก็จะประเมินผล
รูปแบบโปรแกรมบทเรียนแบบ Drill and
Practice
บทนาโปรแกรม
จบบทเรี ยน
เสนอปัญหา คาถาม
ให้ขอ้ มูลย้อนกลับ
คาถามและคาตอบ
ตรวจคาตอบ
ประเภทสถานการณ์ จาลอง(Simulation)
วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ ผู้เรียนได้ ทดลองปฏิบัตกิ บั สถานการณ์ จาลองที่
มี
ความใกล้เคียงกับเหตุการณ์ จริง เพือ่ ฝึ กทักษะและเรียนรู้โดยไม่ ต้อง
เสี่ ยงหรือเสี ยค่ าใช้ จ่ายมาก
โปรแกรมประเภทนีม้ ักเป็ นโปรแกรมสาธิต(Demostration) เพือ่ ให้
ผู้
เรียนทราบถึงทักษะที่จาเป็ น
ประเภทเกมการสอน (Instruction Games)
ประเภทนีม้ ีวตั ถุประสงค์ เพือ่ กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน มีการ
แข่ ง
ขัน เราสามารถใช้ เกมในการสอนและเป็ นสื่ อทีใ่ ห้ ความรู้แก่ผ้เู รียนได้
ในแง่ ของกระบวนการ ทัศนคติ ตลอดจนทักษะ
ต่ างๆ ทั้งยังช่ วยเพิม่ บรรยากาศในการเรียนรู้ให้
มากขึน้ ด้ วย
รูปแบบโปรแกรมแบบ Instruction Games
บทนาโปรแกรม
จบบทเรี ยน
เสนอสถานการณ์
การปรับระบบ
การกระทาที่ตอ้ งการ
การกระทาของผูเ้ รี ยน
การกระทาของคู่แข่งขัน
ประเภทการค้ นพบ (Discovery
มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้ ผู้เรียน ได้ มีโอกาสทดลองกระทาสิ่ งต่ างๆ
ก่อน
จนกระทัง่ สามารถหาข้ อสรุปได้ ด้วยตนเอง โปรแกรมจะเสนอปัญหาให้
ผู้เรียนได้ ลองผิดลองถูกและให้ ข้อมูลแก่ผ้เู รียนเพือ่ ช่ วยผู้เรียนในการค้น
พบนั้น จนกว่ าจะได้ ข้อสรุปทีด่ ีทสี่ ุ ด
ประเภทการแก้ ปัญหา (Problem-Solving)
เพือ่ ฝึ กให้ นักเรียนรู้จักการคิด การตัดสิ นใจ โดยจะมีเกณฑ์ ทีก่ าหนด
ให้ แล้วผู้เรียนพิจารณาตามเกณฑ์ น้ันๆ
 ผูเรี
้ ยนกาหนดปัญห
 ผูเขี
้ ยนกาหนดปัญ
ประเภทเพือ่ การทดสอบ (Test)
ประเภทนีไ้ ม่ ได้ มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ การสอน แต่ เพือ่ ใช้ ประเมินการสอน
แต่ เพือ่ ใช้ ประเมินการสอนของครูหรือการเรียนของนักเรียน คอมพิวเตอร์ จะประเมินผลในทันทีว่านักเรียนสอบได้ หรือสอบตก และจะอยู่
ในลาดับทีเ่ ท่ าไรได้ ผลการสอบกีเ่ ปอร์ เซ็นต์
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
Instruction Computing Development

ควรมีการวางแผนอย่ างเป็ นขั้นตอน กาหนดวัตถุประสงค์ ชัดเจน
ขั้นตอนออกแบบ Instruction Design
ขั้นการผลิต Instruction Construction
ขั้นการประยุตก์ใช้ Instruction Implement
การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

วิเคราะห์ เนือ้ หา
เลือกเนือ้ หาที่มกี ารฝึ กทักษะซ้าบ่ อยๆหรือต้ องมีภาพประกอบ
 เลือกเนือ้ หาทีค่ าดว่ าจะประหยัดเวลาสอนได้ มากกว่ าวิธีเดิม
 เลือกเนือ้ หาบางอย่ างทีส
่ ามารถจาลองในรู ปของการสาธิตได้

การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
 ต้ องศึกษาความเป็ นไปได้
มีบุคคลากรทีม่ ีความรู้มากพอทีจะผลิตโปรแกรมหรือไม่
 จะใช้ เวลาเท่ าไร มากหรือน้ อยกว่ าเดิม
 ต้ องการอุปกรณ์ พเิ ศษเพิม
่ เติมมากน้ อยเพียงใด
 มีงบประมาณเพียงพอหรือไม่

การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

กาหนดวัตถุประสงค์ โดยคานึงถึง…
ความรู้ พนื้ ฐานของผู้เรียน ว่ าเป็ นใคร อายุเท่ าไร พืน้ ฐานเดิมเป็ นอย่างไร
 สิ่ งทีค่ าดหวังจากผู้เรียน เมือ่ ได้ ศึกษาโปรแกรมเรื่องนีแ้ ล้ ว

การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
 ลาดับขั้นการนาเสนอ
ภาษาทีใ่ ช้ มคี วามเหมาะสมกับผู้เรียนหรือไม่
ขนาดของตัวอักษร ข้ อความ สี ของข้ อความ เหมาะกับผู้เรียนหรือไม่
องค์ ประกอบโดยรวมใน 1
จอภาพ
ภาพนิ่ง ภาพเคลือ่ นไหว เสี ยง ดีหรือต้ องปรับปรุ ง
การสร้ างแรงเสริมแก่ ผ้ เู รียน..คาชม รางวัลต่ างๆมากหรือน้ อยไป
แบบฝึ กหัดประจาหน่ วย ประจาบท
สรุปขั้นตอนของการออกแบบโปรแกรม CAI
วิเคราะห์เนื้อหา
ศึกษาความเป็ นไปได้
กาหนดวัตุประสงค์
ลาดับขั้นตอนการนาเสนอ
การสร้ างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
เป็ นหน้ าทีข่ องโปรแกรมเมอร์ ซึ่งจะดาเนินการต่ อจากตอนแรกที่ได้ มี
การจัดทาเป็ น Story board ไว้ แล้ว
 ขัน
้ การสรางโปรแกรม
โดย
้
นาเอา Story Board ที่ได้สร้างไว้
มาเขียนเป็ นภาษาคอมพิวเตอร ์
หรื ออาจใช้โปรแกรมสาหรับ
คาสั่งผิดพลาด
สรางงานมั
ลติเมียเดียก็ได้ แต่
้
ตรรกะผิดพลาด
สิ่ งที่ตอ้ งระวังคือ
ความคิดรวบยอดผิดพลาด
การสร้ างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
 ขั้นการทดสอบการทางาน
ควรมีการทดสอบหาข้ อผิดพลาดทีเ่ ราเรียกว่ า Bug
ตรวจสอบเนือ้ หาบนจอภาพรวมรวมข้ อแก้ ไข
ทดลองใช้ งานจริงกับนักเรียน (Try-Out Program)
การสร้ างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
ขั้นปรับปรุงแก้ไข… หลังจากที่ทราบข้ อผิดพลาดแล้วก็จะทาการแก้ไข
โดยจะเริ่มที่ Story Board ก่อน จากนั้นแก้ไขโปรแกรม จนกระทั่งสมบูรณ์ แล้วจึงจัดทาคู่มือประกอบการใช้ โปรแกรมด้ วย
คู่มือจะแบ่ งเป็ น 3 เล่ มคือ
 คู่มือครู
 คู่มือนักเรียน
 คู่มือการใช้ โปรแกรม
สรุปขั้นตอนการสร้ างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
ทดสอบการทางาน
สร้างและพัฒนาโปรแกรม
ผูส้ อน/เจ้าของพิจารณา
รวมรวมข้อผิดพลาด
ทดลองใช้งานจริ ง
ตรวจหาข้อผิดพลาด
จัดทาคู่มือ
การสร้ างคู่มือสาหรับนักเรียน
บอกชื่อเรื่อง ชื่อวิชา หน่ วยการสอน ระดับชั้น
บอกวัตถุประสงค์ ทวั่ ไปของบทเรียน และของเนือ้ หาวิชา
บอกโครงร่ างเนือ้ หา
บอกพืน้ ความรู้ทคี่ วรมีก่อนเรียนเนือ้ หานี้
คาชี้แจงต่ างๆ และแสดงตัวอย่ างการใช้ งานเฟรมบทเรียน
บอกขั้นตอนของกิจกรรม กฏเกณฑ์ และข้ อเสนอแนะ
บอกระยะเวลาโดยประมาณในการเรียนบทเรียน
การสร้ างคู่มือ สาหรับครู








บอกโครงร่ างเนื้อหา
บอกจุดประสงค์
บอกรายละเอียดว่าสอนวิชาอะไร ตอนไหน พื้นฐานของผูส้ อน
แสดงตัวอย่าง เพื่อชี้แนะผูส้ อน ว่าจะใช้ CAI อย่างไร
แสดงตัวอย่าง Input และ Output จากผูเ้ รี ยน
เสนอแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
เสนอแนะการดาเนินกิจกรรม
ตัวอย่างแบบทดสอบก่อน(ถ้ามี)และหลังบทเรี ยน
การสร้ างคู่มือสาหรับใช้ โปรแกรม
 บอกชื่ อโปรแกรม ผู้เขียน ลิขสิ ทธิ์ วันทีแ่ ก้ ไขปรั บปรุ ง
 ภาษาหรือฟังก์ ชั่น หรือโปรแกรมทีใ่ ช้
 ฮาร์ ดแวร์ ที่จาเป็ นต้ องมีหรือองค์ ประกอบอืน
่ ๆ
 วิธีการเป็ นขั้นๆ เริ่มตั้งแต่ เปิ ดเครื่อง
 พิมพ์ Source Code กรณีเป็ นโปรแกรมภาษา
 แสดงโฟลว์ การทางานของโปรแกรม
 ตัวอย่ างข้ อมูล Input และ Output
การประยุกต์ ใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
ั กลุ่มเป้ าหมายจริ ง
 การประยุกต์ใช้ในห้องเรี ยน ใช้กบ
 การประเมินผล คือขั้นสุ ดท้ายของการพัฒนาโปรแกรม
ประเมินว่าบรรลุวตั ถุประสงค์หรื อไม่
ประเมินว่าโปรแกรมทางานได้เหมาะกับเนื้ อหาหรื อไม่
ประเมินทัศนคติของผูเ้ รี ยน
ความยากง่ายในการใช้งาน
แสดงชื่อเรื่ อง
แนะแนะบทเรี ยน
เลือกบทเรี ยน
แสดงคาอธิบาย
Help
แสดงคะแนน
จบโปรแกรม
ตั้งคาถาม
รับคาตอบ
ถามซ้ าอีก
แสดงคาอธิบายเพิม่
ตัวอย่างแสดงผังการทางาน
เครื่องมือที่ใช้ ในการพัฒนาโปรแกรม CAI
สร้ างด้ วยอะไรก็ได้ แต่ เน้ นทีก่ ารใช้ งานง่ าย และมีการโต้ ตอบกับผู้เรียน
 ใช้ เวลาในการเรียนรู้น้อย
 ออกแบบให้ ผู้เรียนกดแป้นพิมพ์น้อยทีส่ ุ ด
 มีระบบป้องกันข้ อผิดพลาด
พัมฒนาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น Basic, C, Pascal ฯลฯ
พัฒนาด้วยฑปรแกรมบทประพันธ์ เช่น Toolbook, Authorware, Cula CAI ฯลฯ
End