ราชวงศ์สุย (Sui Dynasty) ค.ศ. 581

Download Report

Transcript ราชวงศ์สุย (Sui Dynasty) ค.ศ. 581

Slide 1

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty)
ค.ศ. 581 - ค.ศ. 618
AJ.2 : Satit UP


Slide 2


Slide 3

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618


Slide 4

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618


Slide 5

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618
เปรียบเทียบแผนที่
หลังยุค 3 ก๊ก(ค.ศ. 265 – ค.ศ. 589) กับ สมัยราชวงศ์สยุ (ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618)


Slide 6

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618
- ปกครองประเทศเพียง37 (ราชวงศ์ท่มี ีอายุสน้ั มาก)
- เมืองหลวง Da-xing (581–605), Luoyang (605–614)
- สุยเหวินตี้ฮอ่ งเต้ (Sui-Wendi) ปฐมกษัตริย ์
- มีการขุดคลองเชื่อมแม่น้ าฮวงโหกับแม่น้ าแยงซี ชื่อ ต้า-ยฺว่ินเหอ (The Grand Canal)
- ตัง้ ระบบสอบจอหงวนซึ่งเป็ นวิธีการคัดเลือกข้าราชการแบบใหม่ (มีการเริ่มใช้ระบบนี้ อย่าง
จริงจัง) (ระบบสอบจอหงวน = การนาระบบการสอบคัดเลือกเข้ามาใช้คดั เลือกบุคลากรเพื่อมา
ทางานให้แก่รฐั )


Slide 7

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618

สมัยจักรพรรดิสุยเหวินตี้(Sui-Wendi)
- ปฐมกษัตริยร์ าชวงศ์สยุ
- ได้ดาเนิ นการปฏิรูปการปกครองครัง้ ใหญ่ โดยยุบรวม
เขตปกครองในท้องถิ่น ลดขนาดองค์กรบริหาร รวม
ศูนย์อานาจไว้ท่สี ว่ นกลาง และกุมอานาจเด็ดขาดทัง้
ในทางทหาร การปกครองและเศรษฐกิจ โดยมีขุนนาง
เป็ นเพียงผูช้ ่วยในการบริหาร
- ตรากฎหมายใหม่โดยลดความ ทารุณในการลงโทษลง


Slide 8

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618

สมัยจักรพรรดิสยุ หยางตี้(Sui-Yang Di)
- มีการใช้จา่ ยฟุ่ มเฟื่ อยและใช้เวลากับความเริงรมท่องเที่ยว
ทางน้ า
- เก็บภาษีอย่างรีดนาจนประชาชนเคียดแค้น
- เกณฑ์แรงงานอย่างมาก
- ซ่อมแซมกาแพงเมืองจีน
- มีการขุดคลองเชื่อมแม่น้ าฮวงโหกับแม่น้ าแยงซี ชื่อ
“ต้า-ยฺว่ินเหอ” (The Grand Canal)
- ปลายสมัยเกิดกบฏชาวนาได้แผ่ลกุ ลามไปทัว่ ประเทศ และ
ถูกชิงอานาจในเวลาต่อมาและเข้าสูช่ ่วงราชวงศ์ใหม่ คือ
ราชวงศ์ถงั


Slide 9

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618

คลอง “ต้ายวิ่นเหอ”
ตะวันตกเรียกว่า "The Grand Canal of China“
Great Imperial Canal
(The Beijing-Hangzhou Grand Canal)
เริ่มขุดตัง้ แต่ปี ค.ศ. 587 และใช้เวลาขุดกว่า 30 ปี ใช้
แรงงานมนุ ษย์กว่า 6 ล้านคน โดยอาศัยเส้นทางธรรมชาติของ
แม่น้ าลาคลองที่มีอยู่แต่เดิม ผสานเข้ากับคลองขุดจากแรงงาน
มนุ ษย์เชื่อมต่อดินแดนเหนื อใต้เข้าด้วยกัน
จุดประสงค์เพื่อการขนส่งสินค้า เพื่อประโยชน์ในด้านการคมนาคม ระหว่างภาคเหนื อกับ
ภาคใต้ และเพื่อเชื่อมต่อดินแดนภาคเหนื อและใต้เข้าด้วยกัน (เชื่อมแม่น้ าฮวงโหกับแม่น้ าแยงซี )
โดยให้เมืองลัว่ หยาง(Luoyang)เป็ นศูนย์กลาง เริ่มจากอาเภอจัวจวิ
๋ น (ปัจจุบนั คือ เมืองปักกิ่ง)
จนถึงเมืองอูห๋ าง (คือ เมืองหางโจว(Hangzhou) ปัจจุบนั ) เชื่อมต่อกับแม่น้ าใหญ่ ๆ 5 สายในจีน
อันได้แก่ แม่น้ าไห่เหอ แม่น้ าฮวงโห แม่น้ าหวยเหอ แม่น้ าแยงซีเกียง และแม่น้ าเฉี ยนถังเจียง มี
ความยาวกว่า 2,500 กิโลเมตร นับเป็ นคลองขุดแรงงานมนุ ษย์ท่มี ีความยาวที่สุดในสมัยนั้น


Slide 10

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618

คลอง “ต้ายวิ่นเหอ”
The Grand Canal of China
Great Imperial Canal
The Beijing-Hangzhou Grand Canal
ขุดเชื่อมแม่น้ าฮวงโหกับแม่น้ าแยงซี


Slide 11

คลอง “ต้ายวิ่นเหอ” ตะวันตกเรียกว่า "The Grand Canal of China“
อาเภอจัวจวิ
๋ น (ปัจจุบนั คือ เมืองปักกิ่ง)

จนถึงเมืองอูห๋ าง
(คือ เมืองหางโจว(Hangzhou) ปัจจุบนั )


Slide 12

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618

คลอง “ต้ายวิ่นเหอ”
The Grand Canal of China
Great Imperial Canal
The Beijing-Hangzhou Grand Canal
ขุดเชื่อมแม่น้ าฮวงโหกับแม่น้ าแยงซี


Slide 13

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618
คลอง “ต้ายวิ่นเหอ”
The Grand Canal of China
The Beijing-Hangzhou Grand Canal
ขุดเชื่อมแม่น้ าฮวงโหกับแม่น้ าแยงซี


Slide 14

ราชวงศ์สยุ (Sui Dynasty) ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618
การสอบจอหงวน
ระบบการสอบเข้ารับราชการของจีนนั้นเรียกว่า "เคอจวี่" ซึ่งประกอบด้วยการสอบทัง้ หมดสามรอบ
- รอบที่หนึ่ ง เป็ นการสอบคัดเลือกระดับท้องถิน่ ผูท้ั ่สี อบผ่านรอบนี้ จะได้คณ
ุ วุฒริ ะดับเรียกว่า "ซิ่วไฉ"
ดังนั้นการสอบรอบนี้ จึงเรียกอีกแย่างว่า "การสอบซิ่วไฉ"
- รอบที่สอง เป็ นการสอบคัดเลือกระดับภูมภิ าค (มณฑล) ผูม้ ีสทิ ธิเข้าสอบระดับนี้ จะต้องได้คณ
ุ วุฒซิ ่วิ ไฉ
ก่อน ผูส้ อบผ่านขัน้ นี้ จะได้คณ
ุ วุฒิ "จวี่เหริน" การสอบรอบนี้ จึงเรียกอีกอย่างว่า "การสอบจวี่เหริน"
- รอบที่สาม เป็ นการสอบรอบสุดท้าย ผูส้ อบผ่านรอบนี้ จะได้รบั การขึ้นบัญชีเพือ่ รอการเรียกบรรจุเข้ารับ
ราชการ และได้คณ
ุ วุฒทิ ่เี รียกว่า "จิ้นซื่อ" การสอบรอบนี้ จึงเรียกอีกอย่างว่า "การสอบจิ้นซื่อ"
ในรอบจิ้นซื่อนี้ ผูท้ ่ไี ด้คะแนนสูงสุดสามอันดับแรก จะมีช่ือเรียกดังนี้
อันดับหนึ่ ง จะได้ตาแหน่ ง "จ้วงหยวน" หรือจอหงวน
อันดับสอง จะได้ตาแหน่ ง "ปัง๋ เหยี่ยน"
อันดับสาม จะได้ตาแหน่ ง "ทัน่ ฮวา"
ผูท้ ่สี อบได้ตาแหน่ ง "จ้วงหยวน" จึงนับได้ว่าเป็ นบัณฑิต หรือนักศึกษาที่เก่งที่สดุ ในแผ่นดิน ดังนั้นจึงไม่
แปลกที่ผูไ้ ด้รบั ตาแหน่ งนี้ จึงได้รบั การยกย่องเป็ นอย่างสูงในสังคม
และแท้จริงแล้ว "จอหงวน" คือชื่อตาแหน่ งผูส้ อบ "จิ้นซื่อ" ได้อนั ดับที่หนึ่ งต่างหาก หาใช่ช่ือของการสอบไม่