คำถาม กองทุน - องค์การบริหารส่วนตำบลโนนธาตุ

Download Report

Transcript คำถาม กองทุน - องค์การบริหารส่วนตำบลโนนธาตุ

Slide 1

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
หรือพืน้ ที่ (กองทุน อบต./เทศบาล)


Slide 2


Slide 3

มาตรา ๔๗ ( พรบ.หลักประกันสุขภาพฯ)
“เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้กบั บุคคลใน
พืน้ ที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความ
พร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของ
ประชาชนในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการสนับสนุนและ
ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กาหนด
หลักเกณฑ์ เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็ นผูด้ าเนินงาน
และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับ
ท้องถิ่นหรือพืน้ ที่โดยให้ได้รบั ค่าใช้จ่ายจาก
กองทุน”


Slide 4

คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพฯ
เห็นชอบหลักเกณฑ์การสนับสนุนให้ อบต.
หรือเทศบาลดาเนินการและบริหารจัดการ
ระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือ
พืน้ ที่ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2549 สปสช.
ออกประกาศดาเนินงาน


Slide 5

บันทึกความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน
ของ อปท. ในเรื่องการบริหารจัดการระบบ
หลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับ
ท้องถิ่นหรือพืน้ ที่ ของ ๗ หน่ วยงาน/องค์กร เมื่อ
19 มีค. 2550
(สปสช. สธ. พม. มท. สมาคม อบจ. แห่งประเทศไทย
สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย และสมาคม
อบต. แห่งประเทศไทย)


Slide 6

หนังสื อที่ มท.0891.3/ว1110 ลวท. 3 เมย.2550
ให้ อปท. สมทบงบประมาณเข้ าระบบ
หลักประกันสุ ขภาพฯ ตามประกาศคณะกก.
หลักประกันสุ ขภาพแห่ งชาติ โดยตั้งแต่ งบปี
2550 เป็ นต้ นไป ให้ อบต./เทศบาล ตั้ง
งบประมาณสมทบไว้ ในรายจ่ ายงบกลางประเภท
รายจ่ ายตามข้ อผูกพัน


Slide 7

แนวทางดาเนินงาน
จัดตั้งกองทุนประจาทุกพืน้ ที่ เพือ่ เป็ นกลไกสนับสนุนการ
ดาเนินงานสาธารณสุ ขชุมชน อย่ างต่ อเนื่อง
เน้ นการสร้ างสุ ขภาวะของประชาชนและชุมชน โดยการ
มีส่วนร่ วมของประชาชน อปท. และจนท.สาธารณสุ ข
กระจายอานาจให้ อปท. ภายใต้ การมีส่วนร่ วมของ
ประชาคมและการสนับสนุนทางวิชาการจากหน่ วยงาน
ต่ างๆ


Slide 8

วัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข ของ
หน่ วยบริการหรือสถานบริการอื่น สถานบริการทางเลือก
ในพืน้ ที่ โดยเน้ นการสร้างเสริมสุขภาพ การป้ องกันโรค
การฟื้ นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิ ที่
จาเป็ นต่อสุขภาพและการดารงชีวิต
2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผูส้ งู อายุ กลุ่มผูพ้ ิ การ
กลุ่มผูป้ ระกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผูป้ ่ วยโรค
เรือ้ รังที่อยู่ในพืน้ ที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
อย่างทัวถึ
่ งและมีประสิทธิภาพ ตามประเภทและขอบเขต
ของบริการสาธารณสุขที่กาหนด


Slide 9

3. เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายให้กลุ่มประชาชนหรือองค์กร
ประชาชนในพืน้ ที่ จัดทากิจกรรมเพื่อการสร้างเสริม
สุขภาพ การป้ องกันโรค หรือการฟื้ นฟูสมรรถภาพให้แก่
ประชาชนในพืน้ ที่
4. เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุน
หลักประกัน สุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่ให้มี
ประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๐ ของค่าใช้จ่าย
ทัง้ หมดของกองทุนหลักประกันสุขภาพในรอบปี งบประมาณ
นัน้ และในกรณี ที่มีความจาเป็ นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภณ
ั ฑ์ที่
เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภณ
ั ฑ์นัน้ จะต้องมีราคาไม่เกิน ๒๐,๐๐๐
บาทต่อหน่ วย


Slide 10

ที่มาของเงินทุน






เงินค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รบั จากกองทุนหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติในส่วนของการส่งเสริมสุขภาพและ
ป้ องกันโรคตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติกาหนด (40 บาทต่อประชากร)
เงินอุดหนุนที่ได้รบั จากองค์การบริหารส่วนตาบลหรือ
เทศบาล หรือที่ได้รบั จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
เงินสมทบจากชุมชนหรือกองทุนชุมชน
รายได้อื่นๆหรือทรัพย์สินที่กองทุนได้รบั มาในกิจการของ
กองทุน


Slide 11

สัดส่วนเงินสมทบ
• อบต.ขนาดใหญ่หรือเทศบาลสมทบไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 50 ของค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รบั จาก
กองทุนหลักประกัน ฯ
• อบต.ขนาดกลางสมทบไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของ
ค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รบั จากกองทุน ฯ
• อบต.ขนาดเล็กสมทบไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของ
ค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รบั จากกองทุน ฯ


Slide 12

องค์การบริหารส่วนตาบลหรือเทศบาล ที่ได้รบั การ
สนับสนุนให้ดาเนินงานและบริหารจัดการกองทุน
หลักประกันสุขภาพ ต้องมีคณ
ุ สมบัติดงั นี้
(๑) มีความประสงค์เข้าร่วมบริหารจัดการกองทุน
หลักประกันสุขภาพ
(๒) มีการดาเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้ องโรค
ในพืน้ ที่มาก่อนแล้ว และมีการจัดทาแผนและดาเนินการ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการมีส่วนร่วมของภาคี
ต่างๆในพืน้ ที่
(๓) มีความพร้อมในการอุดหนุนเงินหรืองบประมาณตาม
อัตราส่วนที่กาหนด


Slide 13

คณะกรรมการบริหารกองทุน
ผอ.โรงพยาบาลชุมชนและสาธารณสุขอาเภอ
1. นายก อบต.หรือนายกเทศมนตรี
2. ผูท้ รงคุณวุฒิในพืน้ ที่ จานวน ๒ คน
3. สมาชิกสภา อบต.หรือสภาเทศบาลที่สภาฯ
คัดเลือก จานวน 2 คน
4. หัวหน้ าหน่ วยบริการปฐมภูมิในพืน้ ที่
5. ผูแ้ ทน อสม. ในพืน้ ที่คดั เลือกกันเอง 2 คน

เป็ นที่ปรึกษา
เป็ นประธาน
เป็ นรองประธาน

เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ
เป็ นกรรมการ


Slide 14

6. ผูแ้ ทนหมู่บา้ น/ชุมชนที่ประชาชนหมู่บา้ น/ชุมชน
เลือกกันเอง ไม่เกิน 5 คน
เป็ นกรรมการ
7. ผูแ้ ทนศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ
ประชาชนหรือศูนย์รบั เรื่องร้องเรียนอิสระในพืน้ ที่
หน่ วยละ ๑ คน (ถ้ามี)
เป็ นกรรมการ
8. ปลัด อบต. หรือปลัดเทศบาลหรือ
เจ้าหน้ าที่อื่นที่นายก อบต. หรือนายกเทศบาล
มอบหมาย
เป็ นกรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการอยู่ในตาแหน่ งคราวละ 2 ปี
คณะกรรมการอาจหมดอายุการทางานก่อนกาหนด
โดยคาสังของ

สปสช.


Slide 15

การพ้นจากตาแหน่ งของคณะกรรมการบริหารกองทุน
1. พ้นจากตาแหน่ งตามวาระ
2. ตาย
3. ลาออกหรือย้ายไปดารงตาแหน่ งหรือทาอาชีพในพืน้ ที่อื่น
4. เป็ นบุคคลไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
5. เป็ นบุคคลล้มละลาย


Slide 16

หน้ าที่คณะกรรมการ
1. บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์
2. รับผิดชอบการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการ
จัดทาบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้
เป็ นไปตามที่กาหนด
3. ดาเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายต่างๆ ในความรับผิดชอบ
สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขทัง้ ที่บา้ น ในชุมชนหรือหน่ วย
บริการได้อย่างทัวถึ
่ งและมีประสิทธิภาพ
4. จัดทาข้อมูลและแผนดาเนินงานที่เกี่ยวกับปัญหาสาธารณสุข
กลุ่มเป้ าหมายและหน่ วยบริการต่างๆที่เกี่ยวข้อง



Slide 17

5. จัดทาสรุปผลการดาเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือ

ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เมื่อสิ้นปี งบประมาณเพื่อ
เสนอสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและองค์การ
บริหารส่วนตาบลหรือเทศบาลภายในเดือนธันวาคมของทุกปี
6. แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพื่อดาเนินงานที่
เกี่ยวข้องได้ตามความจาเป็ น

กองทุนหลักประกันสุขภาพใด ที่ไม่มีเงินสมทบจาก อบต. หรือเทศบาล
หรือไม่มีการดาเนินกิจกรรมใดๆ ต่อเนื่ องตัง้ แต่ ๒ ปี ขึน้ ไป สานักงาน
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติอาจประกาศยุบเลิกกองทุนหลักประกัน
สุขภาพนัน้ ได้ และให้โอนเงินหรือทรัพย์สินของกองทุนหลักประกัน
สุขภาพดังกล่าวเป็ นของหน่ วยบริการปฐมภูมิของรัฐในพืน้ ที่นัน้ ตาม
วิธีการที่สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกาหนด


Slide 18

เงินระบบ(กองทุน)ฯ อาจใช้จ่ายได้ภายใต้กรอบแผนงาน
หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่คณะกรรมการอนุมตั ิ ดังนี้
1. สนับสนุนงบประมาณเป็ นรายปี แก่หน่ วยบริการ ( สอ.
หรือ รพช.) ในเขตพืน้ ที่ เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการใน
ชุมชน
2. สนับสนุนค่าใช้จ่ายให้แก่หน่ วยบริการหรือสถาน
บริการอื่น สถานบริการทางเลือก เพื่อจัดบริการให้กลุ่ม
แม่และเด็ก กลุ่มผูส้ งู อายุ กลุ่มผูพ้ ิ การ กลุ่มผูป้ ระกอบ
อาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผูป้ ่ วยโรคเรือ้ รังที่อยู่ใน
เขตพืน้ ที่ ให้เข้าถึงบริการสาธารณสุขในด้านการสร้าง
เสริมสุขภาพ การป้ องกันโรค และการฟื้ นฟูสมรรถภาพ
การบริการปฐมภูมิได้อย่างทัวถึ
่ งและมีประสิทธิภาพ


Slide 19

เงินระบบ(กองทุน)ฯ อาจใช้จ่ายได้ภายใต้กรอบแผนงาน หรือ
โครงการ หรือกิจกรรมที่คณะกรรมการอนุมตั ิ ดังนี้ (ต่อ)

สนับสนุนค่าใช้จ่ายให้กลุ่มประชาชนหรือองค์กร
ประชาชนในเขตพืน้ ที่จดั ทากิจกรรมที่เกิดจากความ
ริเริ่มของประชาชนในชุมชนท้องถิ่นเอง เพื่อการสร้าง
เสริมสุขภาพ การป้ องกันโรค หรือการฟื้ นฟูสมรรถภาพ
ให้แก่ประชาชนในเขตพืน้ ที่
4. สนับสนุนค่าใช้จ่ายเพื่อบริหารหรือพัฒนาระบบ
หลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ ต้องไม่เกิน
ร้อยละ ๑๐ ของค่าใช้จ่ายทัง้ หมดของระบบหลักประกัน
สุขภาพในรอบปี งบประมาณนัน้
3.


Slide 20

- คัดเลือก อบต./
เทศบาลที่ผา่ นเกณ์
- ทาข้อตกลง ชี้แจงทา
ความเข้าใจ
– แต่งตัง้ กก.บริหาร
กองทุน
– เปิดบัญชี ธนาคาร

เด็ก/เยาวชน

- สปสช. โอน 40 บ./หัว –
อบต./เทศบาล สมทบ
20,30,50 %

ส่งเสริมสุขภาพ
ฟื้ นฟูสมรรถภาพ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ
อบต. และเทศบาล

ป้ องกันโรค

คณะ กก.บริหารกองทุน

บริการปฐมภูมิ

สตรี

ผูส้ งู อายุ

คนพิการ

แผนสุขภาพชุมชน ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วม

ผูป้ ่ วยเรือ้ รัง
กลุ่มเสี่ยง


Slide 21

ภาพรวมการดาเนินงาน
การพัฒนาศักยภาพ
- อบรมวิทยากรแกนนา 75 จว.
- อบรม กก. บริหารกองทุน
– อบรมบันทีกข้อมูล on line
- จัดทาคู่มือวิทยากร/ กก.
- ถอดบทเรียนพืน้ ที่ต้นแบบ
เครื่องมือพัฒนา/
ค้นหานวัตกรรม
- ใช้แผนที่ยทุ ธศาสตร์บริหาร
จัดการ ติดตามสนับสนุน
– จัดทีมนวัตกรรม จว./พืน้ ที่

หลักเกณฑ์เห็นชอบเมื่อ 27 กพ. 49
จัดทาข้อตกลงร่วมกับ
สนง.สาขาเขต

อบต./เทศบาล
3,935 พืน้ ที่
ปี 2552

ทาบันทึกความร่วมมือ
7 องค์กร

ขยายปี 53 พท.
ที่พร้อมทัว่
ประเทศ
- รายงานไตรมาส/

สปสช.โอนงบ
40 บ./หัว

อบต./เทศบาล
สมทบงบ
20,30,50 %

ประจาปี
- ประเมินผลเชิง
นโยบาย บริหาร
จัดการ


Slide 22

บทบาทของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
หรือพืน้ ที่กบั การสนับสนุนระบบสุขภาพในพืน้ ที่

• จัดทาข้อมูลชุมชน แผนที่ยทุ ธศาสตร์ แผน
สุขภาพชุมชน
• การดูแลผูส้ งู อายุ ผป.เรือ้ รังและคนพิการในชุมชน
• การป้ องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เอดส์
วัณโรค
• การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของคนใน
ชุมชน


Slide 23

แนวทางการบริหารจัดการกองทุน
หลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่


Slide 24

องค์ประกอบการดาเนินงาน
ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่

• มีคณะกรรมการกองทุนฯโดย สปสช.เป็ นผูอ้ อกคาสัง่
แต่งตัง้
• เงินของกองทุนฯมีอย่างน้ อย 2 ส่วน(สปสช.,อบต./
เทศบาล)
• มีแผนงาน/โครงการที่ได้รบั อนุมตั ิ จากคณะกรรมการ
กองทุนฯทัง้ 4 ประเภท
• รายงานผ่านระบบออนไลน์ http://tobt.nhso.go.th


Slide 25

การดาเนินงาน
ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่

• ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
1.กองทุนใหม่(ประชุมอย่างน้ อยเดือนละ 1 ครัง้ )
ครัง้ ที่ 1 ชี้แจงเป้ าหมาย วัตถุประสงค์ แนวทางบริหารจัดการ ยกร่าง
ระเบียบกองทุน ตัวอย่างมีที่(http://tobt.nhso.go.th)
ครัง้ ที่ 2 เห็นชอบ ประกาศใช้ระเบียบกองทุนฯ พิจารณาข้อมูลสุขภาพ
โดยทาแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แผนสุขภาพชุมชน ประชาสัมพันธ์กองทุน
ครัง้ ที่ 3 พิจารณาและอนุมตั ิ โครงการ
ครัง้ ต่อไป อย่างน้ อยทุก 2 เดือน รายงานความก้าวหน้ า รายงาน
การเงิน ติดตามการบันทึกผ่านระบบออนไลน์ http://tobt.nhso.go.th


Slide 26

การดาเนินงาน
ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่

2.กองทุนเก่า
ต.ค.-ธ.ค. สรุปผลการดาเนินงานปี ที่ผา่ นมา กาหนดกรอบแผนงาน/
โครงการปี ต่อไป พิจารณาโครงการ
ม.ค.-ก.ย. พิจารณาโครงการระหว่างปี ติดตามผลการดาเนินงาน
รายงานการเงินรายไตรมาส ติดตามบันทึกผลงานผ่านระบบออนไลน์
ทบทวนปัญหาสาธารณสุข


Slide 27

การดาเนินงาน
ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่
• เลขานุการกองทุนจัดทาระเบียบวาระการประชุม และบันทึก
รายงานการประชุม
• การประชุมแต่ละครัง้ องค์ประชุมต้องไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ ง และใช้
ความเห็นชอบร่วมกันของกรรมการเป็ นเกณฑ์
• วาระประจาการประชุมแต่ละครัง้ มีรายงานการรับ-จ่ายเงินให้ที่
ประชุมรับทราบ
• บันทึกรายงานเป็ นลายลักษณ์อกั ษรรูปแบบใดก็ได้ เพื่อเก็บรักษา
ไว้ใช้อ้างอิงและตรวจสอบ โดยมอบให้ประธาน เลขานุการเป็ นผู้
ลงนาม รับผิดชอบความถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน


Slide 28

ลักษณะกิจกรรม ที่ขอสนับสนุนเงินกองทุนฯ
1.การจัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์
2.สนับสนุนแก่หน่ วยบริการสาธารณสุขตามแผนงาน/
โครงการ
3.สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและ
ชุมชนท้องถิ่น
4.กิจกรรมบริหารกองทุน พัฒนาศักยภาพกรรมการ
พัฒนาระบบบริหารจัดการ(ครุภณ
ั ฑ์ 20,000บาทต่อ
หน่ วย ค่าตอบแทนกรรมการไม่เกิน 200 บาท/ครัง้ )


Slide 29

การบริหารงบประมาณ การรายงานการเงิน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่
• ประกาศ สปสช.เรื่องแนวทางการรับเงิน การจ่ายเงิน เก็บรักษาเงิน จัดทา
บัญชี ลว 16 ธ.ค.2552
• หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สดุ ที่ มท 0891.3/ว 1110 ลว 3 เม.ย. 2550

แหล่งเงินกองทุนฯ
-สปสช. สนับสนุนเป็ นรายปี
-อบต./เทศบาล เมืองพัทยา สมทบตามอัตราที่ สปสช.กาหนด ในรายจ่ายงบกลาง
ประเภทรายจ่ายตามข้อผูกพัน
-เงินสมทบจากชุมชน กองทุนชุมชน
-รายได้อื่นๆ หรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการดาเนินกิจกรรมของกองทุนฯ
“เปิดบัญชีไว้กบั ธ.ก.ส. ประเภทบัญชีเงินฝากออมทรัพย์
ชื่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต./เทศบาล......... อ........จ..........”
ผูม้ ีอานาจเบิกจ่าย 2 ใน 4


Slide 30

การรับเงินกองทุนฯ รับได้ 4 ลักษณะ
1.เงินสดหรือรับเงินโดยการโอนผ่านทางธนาคาร
2.เช็ค
3.ตั ๋วแลกเงิน
4.ธนาณัติ
ให้คณะกรรมการมอบหมายกรรมการคนหนึ่ ง เป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบนาเงินส่งเข้าบัญชีเงินฝากกองทุนฯ
ภายใน ๓ วันทาการธนาคาร


Slide 31

หลักฐานการรับเงินของกองทุนฯ
1.กองทุนออกใบเสร็จรับเงินในนามคณะกรรมการให้กบั บุคคล
กลุ่มบุคคลหรือนิติบคุ คล
2.รับเงินค่าบริการสาธารณสุขจาก สปสช.ให้ใช้หนังสือแจ้งการโอน
จาก สปสช.เป็ นหลักฐานแล้วออกใบเสร็จรับเงิน
3.การรับเงินสมทบจาก อปท.ให้ใช้สาเนาใบนาฝากเงินของธนาคาร
เป็ นหลักฐาน แล้วออกใบเสร็จรับเงินตามข้อ 2 ส่งให้ อปท.
ทัง้ นี้ คณะกรรมการอาจกาหนดให้มีหลักฐานการรับเงิน ใน
รูปแบบอื่นเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นควร


Slide 32

การสังจ่
่ ายเงินของกองทุนฯ
สังจ่
่ ายเงินของกองทุนฯ แยกประเภทรายจ่ายตามกิจกรรม 4
ประเภท
1.ค่าใช้จ่ายเพื่อจัดซื้อชุดสิทธิประโยชน์
2.ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนแก่หน่ วยบริการ
3.ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนองค์กร ภาคี ประชาชน ในการจัด
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ป้ องกันควบคุมโรค
4.ค่าใช้จ่ายเพื่อการบริหารจัดการกองทุน
กิจกรรม 1-3 ไม่กาหนดสัดส่วน แต่กิจกรรมที่ 4 ไม่เกินร้อยละ
10 ของค่าใช้จ่ายทัง้ หมดในปี งบประมาณนัน้ ๆ


Slide 33

วิธีการจ่ายเงินกองทุนฯ รับได้ 4 ลักษณะ
1.เงินสดหรือรับเงินโดยการโอนผ่านทางธนาคาร
2.เช็ค
3.ตั ๋วแลกเงิน
4.ธนาณัติ


Slide 34

หลักฐานการจ่ายเงินกองทุนฯ
1.การจ่ายเงินให้กบั บุคคล กลุ่มบุคคล นิติบคุ คล ให้มีหลักฐาน
ใบสาคัญการจ่ายเงิน ให้ผมู้ ีสิทธิรบั เงิน ลงลายมือชื่อไว้เป็ น
หลักฐานทุกครัง้
2.การจ่ายเงินให้กบั หน่ วยงานราชการหรือเอกชน หน่ วยงานนัน้ ๆ
ออกใบเสร็จรับเงินให้กบั กองทุน และเก็บเป็ นหลักฐาน
ประกอบการจ่ายเงิน
3.การจ่ายเงินโดยโอนผ่านธนาคาร ให้เก็บหลักฐานการนาเงินเข้า
บัญชีเป็ นหลักฐาน
คณะกรรมการกองทุนฯอาจกาหนดให้มีหลักฐานการจ่ายเงิน
รูปแบบอื่นเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร


Slide 35

การเก็บรักษาเงินสด
คณะกรรมการอาจมอบหมายให้ประธานกรรมการ
หรือเลขานุการ เก็บรักษาเงินสดไว้เพื่อสารองจ่าย
ภายในวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท


Slide 36

ระบบบัญชีกองทุน
1.วันที่กองทุนได้รบั เงินจาก สปสช.หรือ อปท. ให้ถือ
เป็ นวันเริ่มระบบบัญชีของกองทุนฯ
2.รอบระยะเวลาบัญชี ให้ถือตามปี งบประมาณ
3.ระบบบัญชีของกองทุนฯ ให้แยกการจัดทาบัญชีออก
จากระบบบัญชี ออกจากระบบบัญชีของ อปท. แต่การ
บันทึกให้บนั ทึกตามระบบบัญชีของ อปท. โดยรายงานผ่าน
ระบบออนไลน์ http://tobt.nhso.go.th ทุกเดือน กองทุนฯ
จัดพิมพ์เก็บไว้ทุกเดือน เสนอต่อคณะกรรมการกองทุนฯ
และเก็บไว้ให้ สตง.ตรวจสอบ


Slide 37

ระบบรายงานการเงิน ผลการดาเนินงานกองทุน
กองทุนรายงานผ่านระบบออนไลน์ http://tobt.nhso.go.th
การเงิน
1.รายงานการรับจ่ายเงินประจาเดือน และพิมพ์รายงานเสนอประธานกรรมการ
เลขานุการ ลงลายมือชื่อไว้เป็ นหลักฐานแล้วจัดเก็บไว้
2.รายงานการเงินรายไตรมาส กองทุนจัดพิมพ์จากระบบออนไลน์ ให้ประธาน
กรรมการ เลขานุการ ลงลายมือชื่อไว้เป็ นหลักฐาน จัดทาเป็ น 2 ชุด ชุด 1 เก็บไว้เป็ น
หลักฐานที่กองทุน ชุด 2 จัดส่งให้ อปท. ไตรมาส 1 วันที่ 10 ม.ค. ไตรมาส 2 วันที่ 10
เม.ย. ไตรมาส 3 วันที่ 10 ก.ค. ไตรมาส 4 วันที่ 10 ต.ค.

ผลการดาเนินงาน
1.รายงานเมื่อแผนงาน/โครงการผ่านการอนุมตั ิ
2.เมื่อมีการเบิกจ่ายตามแผนงาน/โครงการ


Slide 38

รายงานสรุปผลการดาเนินงานกองทุนประจาปี
กองทุนรายงานให้เสร็จสิ้นภายในเดือนธันวาคมของ
ทุกปี โดยมีองค์ประกอบของรายงาน อย่างน้ อย
1.ข้อมูลทัวไป

2.สรุปผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ
3.รายงานสรุปผลรายงานการเงิน
จัดส่งให้ อปท. 1 ชุด เก็บไว้ที่กองทุน 1 ชุด


Slide 39

ลักษณะการจ่ายเงินกองทุน
ก่อนจ่ายเงินกองทุน ต้องมีองค์ประกอบครบ 4 องค์ประกอบ 1)
คณะกรรมการกองทุน แต่งตัง้ โดย สปสช. 2)มีงบประมาณสมทบจาก
สปสช. และ อปท. 3)มีระเบียบการใช้เงินกองทุน ที่ผา่ นมติเห็นชอบจาก
คณะกรรมการกองทุนฯ 4)มีแผนงาน/โครงการผ่านการอนุมตั ิ จาก
คณะกรรมการกองทุนฯ กองทุนฯอาจทดรองจ่ายให้ผร้ ู บั ผิดชอบโครงการ 3
ลักษณะ
1.จ่ายตามข้อตกลง -จ่ายบางส่วน -จ่ายเต็มจานวน ตามที่
คณะกรรมการเห็นสมควรเป็ นรายข้อตกลง
2.จ่ายตามใบยืม -จ่ายบางส่วน -จ่ายเต็มจานวน แต่มีการส่ง
เอกสารประกอบการใช้เงินยืม
3.จ่ายตามกิจกรรม จ่ายหลังมีกิจกรรมตามกิจกรรม โครงการแล้ว
กองทุนเป็ นผูร้ บั ผิดชอบจัดทาเอกสารการเบิกจ่ายเองทัง้ หมด ส่วนใหญ่เป็ น
กิจกรรมบริหารจัดการกองทุน เช่น ประชุมกรรมการ จัดหาวัสดุ


Slide 40

การติดตามและประเมินผล
วัตถุประสงค์ เกิดการพัฒนาบริหารจัดการกองทุนให้มี
ประสิทธิภาพ
1.แบบประเมินการบริหารจัดการกองทุน
A+ 90-100 คะแนน เป็ นกองทุนที่มีศกั ยภาพสูงและเป็ นศูนย์เรียนรู้
A 70-89 คะแนน เป็ นกองทุนที่มีศกั ยภาพดี
B 50-69 คะแนน เป็ นกองทุนที่มีศกั ยภาพปานกลาง
C <50 คะแนน เป็ นกองทุนที่ยงั ขาดความพร้อม ต้องเร่งพัฒนา
2.แบบประเมินความพึงพอใจและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารประชาชน กองทุนฯควร
สารวจอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้


Slide 41

เป้ าหมายแนวทางที่อยากให้เกิดปี 2554




หน่ วยงานสาธารณสุขใน พท. (สสจ. สสอ. สอ. รพช.) รับรู้ เข้าใจ และ
ร่วมติดตามสนับสนุนการดาเนินงานในพืน้ ที่อย่างเข้มแข็งโดยทีม
วิทยากรจังหวัด
ขยายพืน้ ที่ อบต. หรือเทศบาลที่มีความพร้อมและสนใจร่วมดาเนินงาน
ปี 2553 (มีงบสมทบ/มีคณะกก.บริหาร/มีข้อมูลสุขภาพ/มีกิจกรรมพัฒนา
กรรมการบริหาร)
ทุกพืน้ ที่มีการประชุมคณะกรรมการฯ มีการอบรมพัฒนาศักยภาพของ
กรรมการฯ มีการจัดทาแผนสุขภาพชุมชนหรือแผนที่ยทุ ธศาสตร์และ
ทากิจกรรม(เน้ นโรคเบาหวาน ความดัน โลหิตสูง เอดส์ วัณโรค คน
พิการ ผูส้ งู อายุ) มีการบันทึกรายงานผลการดาเนินงานรายไตรมาส
รายปี และรายงานการเงิน มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่ อง


Slide 42

เป้ าหมายแนวทางที่อยากให้เกิดปี 2554 (ต่อ)







ทุกจังหวัดรวบรวมข้อมูลพืน้ ที่ที่มีผลงานประสบการณ์โดด
เด่นเพื่อเป็ นต้นแบบศึกษาเรียนรู้อย่างน้ อย 1-2 แห่ง มีการ
ถอดบทเรียนเพื่อเผยแพร่
ทุกพืน้ ที่มีและใช้ระบบสารสนเทศข้อมูลสุขภาพชุมชนและ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเป้ าหมายต่างๆ เพื่อประสาน
ข้อมูลกับหน่ วยงานสาธารณสุขในพืน้ ที่ กับ สปสช. ส่วนกลาง
สาขาเขตและสาขาจังหวัด
มีการติดตามค้นหานวัตกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้
มีรายงานผลงานรายไตรมาส รายปี จากทุกพืน้ ที่


Slide 43

ทิศทางกองทุนปี 2554
• กองทุน อบต./เทศบาลบูรณาการร่วมกับ กองทุนพัฒนาระบบปฐมภูมิ กองทุน
ฟื้ นฟูสมรรถภาพฯ และกองทุนบริหารโรคเรือ้ รังเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพในพืน้ ที่
• ร่วมมือกับหน่ วยงานสาธารณสุข อสม. ผูท้ รงคุณวุฒิในพืน้ ที่พฒ
ั นากิจกรรม
สร้างเสริมสุขภาพในพืน้ ที่ มีระบบอาสาสมัครดูแลสุขภาพผูส้ งู อายุ คนพิการ
คนด้อยโอกาสให้มีคณ
ุ ภาพ ประสิทธิภาพ และประชาชนในพืน้ ที่มีความรู้
เข้าใจและมีส่วนร่วมดาเนินการ
• ท้องถิ่นมีการบริหารจัดการสุขภาพในชุมชนได้ครอบคลุม เข้มแข็งมากขึน้ เป็ น
ท้องถิ่นชุมชนสุขภาวะ ประชาชนสุขภาพดีขึน้

• มีนวัตกรรมสุขภาพชุมชนของกองทุนต้นแบบ เพื่อศึกษาเรียนรู้ เผยแพร่สู่
สาธารณะ
• พัฒนาร่วมกับกองทุนสวัสดิการชุมชน ให้มีความต่อเนื่ องและยังยื
่ น


Slide 44

เป้ าหมายกองทุนปี 2554
• อบต. และเทศบาลทุกแห่งร่วมดาเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ

• ทุกกองทุนมีข้อมูลสุขภาพกลุ่มเป้ าหมายในพื้นที่ มีแผนสุขภาพชุมชน แผนที่
ยุทธศาสตร์ชุมชนร่วมกับหน่ วยบริการ
• ทุกกองทุนมีการตรวจคัดกรอง สร้างเสริมสุขภาพป้ องกันโรคเรือ้ รัง เน้ นโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไต โรคมะเร็ง โรคเอดส์
• ทุกกองทุนมีกิจกรรมและอาสาสมัครดูแลส่งเสริมสุขภาพผูส้ ูงอายุ คนพิการ คนด้อย
โอกาสร่วมกับหน่ วยบริการและท้องถิ่น
• ทุกกองทุนมีการติดตามประเมินผลกองทุนโดยคณะทางาน จว. อาเภอ เขต ประเทศ
อย่างมีประสิทธิภาพ และมีรายงานการเงินทุกไตรมาส และประจาปี
• ทุกจังหวัดมีพืน้ ที่กองทุนต้นแบบเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดการความรู้
• ทุกภูมิภาคมีศนู ย์การเรียนรูแ้ ละขยายผลเป็ นเครือข่ายเรียนรู้ทวประเทศ
ั่


Slide 45

ตัวชี้วดั กองทุนฯ
1. มีข้อมูลสุ ขภาพชุมชนในพืน้ ที่
2. มีแผนสุ ขภาพชุมชน หรือ แผนทีย่ ุทธศาสตร์ ชุมชน
3. มีการสมทบงบประมาณรายปี ตามเกณฑ์
4. มีกจิ กรรมตรวจคัดกรองผู้ป่วย DM / HT
5. มีการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พกิ าร ผู้สูงอายุ
6. มีรายงาน รายไตรมาส และ ประจาปี


Slide 46

แนวทางการประเมิน อบต./เทศบาล
ที่พร้อมเข้าร่วมดาเนินงานปี 2554
1. ผูบ้ ริหาร อบต. และเทศบาลเห็นชอบและประสงค์เข้าร่วม
ดาเนินงาน
2. มีการดาเนินกิจกรรมและจัดทาแผนด้านสุขภาพหรือแผนที่
ยุทธศาสร์ในพืน้ ที่มาก่อนแล้ว
3. มีการจัดเวทีประชาคม ประชาสัมพันธ์การดาเนินงานกองทุน
ให้ประชาชนในพืน้ ที่ทราบและร่วมดาเนินงาน
4. มีการตัง้ งบประมาณหรือสมทบงบประมาณปี 2554 แล้ว
5. มีการประสานความร่วมมือกับหน่ วยงานสาธารณสุขในพืน้ ที่
6. มีข้อมูลสุขภาพของประชาชนในพืน้ ที่


Slide 47

หลักเกณฑ์การต่ออายุกองทุนฯเก่า






กองทุนฯ เก่ามีการบันทึกข้ อมูลและจัดส่ งรายงานประจาปี /รายงาน
ทางการเงิน
มีความพร้ อมสมทบเงินและแต่ งตั้งคณะกรรมการฯตามประกาศฉบับ
แก้ไขหลักเกณฑ์ ภายในเดือนตุลาคม 2552
มีแผนสุ ขภาพชุ มชนหรือแผนทีย่ ุทธศาสตร์ ของกองทุนทีป่ ระชาชน
ในพืน้ ทีม่ ีส่วนร่ วมต่ อเนื่องทุกปี
ประธานกรรมการ เจ้ าหน้ าทีส่ าธารณสุ ขและเลขานุการผ่ านการอบรม
เพิม่ ศักยภาพการบริหารกองทุน


Slide 48

หลักเกณฑ์การคัดเลือกกองทุนฯใหม่






ผู้บริหาร อบต.และเทศบาล เห็นชอบและประสงค์ เข้ าร่ วมดาเนินงาน
กองทุนหลักประกันสุ ขภาพในระดับท้ องถิ่นหรือพืน้ ทีโ่ ดยมีหนังสื อ
แสดงความพร้ อมของผู้บริหาร อบต.และเทศบาล
มีการตั้งงบประมาณหรือสมทบเงินในปี 2554 และเปิ ดบัญชีรองรับ
มีความพร้ อมในการตั้งหรือคัดเลือกคณะกรรมการบริหารกองทุนแบบ
มีส่วนร่ วม
มีนโยบายหรือมีแผนจัดทาข้ อมูลชุมชน แผนชุ มชนหรือแผนที่
ยุทธศาสตร์ ในพืน้ ที่
กรรมการ,เจ้ าหน้ าทีส่ าธารณสุ ขและเลขานุการผ่ านการอบรมเตรียม
ความพร้ อม ความเข้ าใจกองทุน


Slide 49

ขัน้ ตอนการจัดตัง้ กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่

• อบต./เทศบาล ส่ งหนังสื อแสดงความ
จานงไปยังหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
• ตรวจสอบคุณสมบัติ
• อบต./เทศบาล ส่ งหลักฐานการจัดตั้ง
กองทุน(ข้ อตกลง,บัญชีกองทุน,รายชื่อ
คณะกรรมการ)


Slide 50

การยุบเลิกกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ระดับท้องถิ่นหรือพืน้ ที่

• ไม่ มีเงินสมทบจาก อบต./เทศบาล หรือไม่
มีกจิ กรรมดาเนินงานต่ อเนื่อง 2 ปี ขึน้ ไป
• สปสช.ประกาศยุบเลิก โดยทรัพย์ สินที่
เหลือตกเป็ นของหน่ วยบริการปฐมภูมิ
ตามวิธีการที่ สปสช.กาหนด


Slide 51

หน่ วยงาน/องค์กร ชมรม กลุ่มประชาชน
ที่สามารถขอรับการสนับสนุน
จากกองทุนสุขภาพชุมชน

1.หน่ วยบริการ สถานบริการสาธารณสุ ขในพืน้ ที่
(สถานีอนามัย โรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตาบล
โรงพยาบาลทีอ่ ยู่ในพืน้ ที่ ศูนย์ บริการสาธารณสุ ข
เทศบาล)
2.ชมรมประชาชน


Slide 52

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ
1.กิจกรรมการจัดบริการส่ งเสริมสุ ขภาพ ป้องกันควบคุม
โรคและฟื้ นฟูสมรรถภาพตามชุดสิ ทธิประโยชน์ 5 กลุ่ม
หลัก
-กลุ่มหญิงมีครรภ์
-กลุ่มเด็กแรกเกิด-ต่ากว่ า 6 ปี
-กลุ่มเด็กโตและเยาวชน(6-25 ปี ขึน้ ไป)
-กลุ่มผู้ใหญ่
-กลุ่มผู้พกิ าร กลุ่มทุพพลภาพ


Slide 53

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

2.สนับสนุนงบประมาณแก่หน่ วยบริการ สถาน
บริการสาธารณสุ ขตามแผนงาน/โครงการด้ าน
การสร้ างเสริมสุ ขภาพ ป้ องกันควบคุมโรค การ
รักษาพยาบาลปฐมภูม(ิ การจ้ างนัก
กายภาพบาบัด แพทย์ แผนไทย) การฟื้ นฟู
สมรรถภาพในชุมชน


Slide 54

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ
3.กิจกรรมการจัดบริการส่ งเสริมสุ ขภาพ ป้องกันควบคุม
โรคและฟื้ นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน เป็ นการริเริ่มของ
ประชาชน ชุมชนเอง หรือกิจกรรมบาบัดรักษาโดยใช้ ภูมิ
ปัญญาพืน้ บ้ าน
-ระดับบุคคล พัฒนาศักยภาพด้ านสุ ขภาพของบุคคล
โดยตรง
-ระดับชุมชน ให้ เกิดสิ่ งแวดล้ อมทีด่ ตี ่ อสุ ขภาพ


Slide 55

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

4.กิจกรรมการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพ
กรรมการกองทุนสุ ขภาพชุมชน
-การบริหารจัดการ(สนับสนุนค่ าใช้ จ่ายแก่
คณะกรรมการกองทุนฯ,ค่ าวัสดุ ครุภัณฑ์ ,
ค่ าตอบแทน ค่ าจ้ างเจ้ าหน้ าทีก่ องทุน)
-การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ(แลกเปลีย่ น
เรียนรู้กบั กองทุนอืน่ )


Slide 56

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

การพิจารณางบประมาณ ไม่ กาหนด
สั ดส่ วนการใช้ จ่ายเงินดาเนินงานใน 4
กิจกรรมหลัก ยกเว้ นกิจกรรมบริหาร
จัดการกองทุนไม่ เกินร้ อยละ 10 ของ
ค่ าใช้ จ่ายตามแผนงานทีอ่ นุมตั แิ ล้วในแต่
ละปี


Slide 57

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถออกระเบียบ
ต่ างๆได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ โดยอาศัยอานาจตามประกาศ
คณะกรรมการหลักประกันสุ ขภาพแห่ งชาติ เรื่อง
การกาหนดหลักเกณฑ์ เพือ่ สนับสนุนให้ อบต.หรือ
เทศบาลดาเนินงาน และบริหารจัดการกองทุน
หลักประกันสุ ขภาพระดับท้ องถิน่ หรือพืน้ ที่ แต่
ต้ องไม่ ขัดต่ อประกาศฯดังกล่ าว


Slide 58

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : ระเบียบต่ างๆทีอ่ อกมานั้น ผูกพันในทาง
นิตสิ ั มพันธ์ กบั บุคคล กลุ่มบุคคลหรือหน่ วยงาน
ทีข่ อรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน
หรือไม่
คาตอบ : มีผลผูกพันทางนิตสิ ั มพันธ์ กบั บุคคล กลุ่ม
บุคคล หรือหน่ วยงานทีข่ อรับการสนับสนุน
จากกองทุน


Slide 59

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
กาหนดค่ าตอบแทนแก่ คณะกรรมการ
กองทุน คณะอนุกรรมการหรือ
คณะทางานย่ อยได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ ในอัตราไม่ เกิน 200 บาทต่ อคน
ต่ อครั้ง


Slide 60

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ
คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถกาหนดค่ าตอบแทน
ทางานล่ วงเวลา(OT)แก่ บุคลากรทีป่ ฏิบัตงิ านกองทุน
สุ ขภาพชุมชน หรือจ้ างบุคคลทางานกองทุนสุ ขภาพ
ชุมชนได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ โดยกาหนดเป็ นระเบียบของกองทุนฯว่ าจ่ าย
ค่ าตอบแทนทางานล่ วงเวลาในอัตราชั่วโมงละเท่ าใด
หรือจัดจ้ าง จ้ างเหมาได้ ในลักษณะจ้ างชั่วคราว ตรวจนับ
ผลงานเป็ นรายเดือน ทั้งนีข้ นึ้ อยู่กบั ฐานะการเงินของ
กองทุนเป็ นหลัก


Slide 61

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถจ้ างนัก
กายภาพบาบัด แพทย์ แผนไทยเพือ่ ดูแลสุ ขภาพผู้
พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในชุมชนได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ โดยจ้ างตามวุฒิการศึกษาหรือราคา
ตลาดแรงงาน ส่ วนสถานทีป่ ฏิบัตงิ านจะอยู่ที่หน่ วย
บริการปฐมภูมิใด ให้ เป็ นมติของคณะกรรมการ
กองทุนฯ


Slide 62

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถสนับสนุน
เงินกองทุนแก่สถานีอนามัย ศูนย์ บริการ
สาธารณสุ ขเทศบาลในพืน้ ทีไ่ ด้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ โดยสนับสนุนตามแผนงาน/โครงการ
ทีเ่ สนอขอรับการสนับสนุนจากกองทุนฯเป็ น
รายปี


Slide 63

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : สถานีอนามัยขอรับการสนับสนุนเป็ นค่ า
ยา เวชภัณฑ์ มใิ ช่ ยา วัสดุการแพทย์ และวัสดุ
อืน่ ๆจากกองทุนฯ ค่ าสาธารณูปโภคได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ เนื่องจากค่ าใช้ จ่ายดังกล่ าวมี
งบประมาณสนับสนุนเป็ นการเฉพาะอยู่แล้ ว


Slide 64

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : สถานีอนามัยขอรับการสนับสนุน
เป็ นจ้ างเจ้ าหน้ าทีบ่ ันทึกข้ อมูล ค่ าจ้ างทา
ความสะอาดได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ เนื่องจากค่ าใช้ จ่ายดังกล่ าวมี
งบประมาณสนับสนุนเป็ นการเฉพาะอยู่
แล้ ว


Slide 65

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมตั ิ
งบประมาณสนับสนุนโครงการของสถานี
อนามัย โดยค่ าใช้ จ่ายส่ วนหนึ่งเป็ นค่ าตอบแทน
ค่ าใช้ จ่ายดาเนินงานแก่เจ้ าหน้ าที่สถานีอนามัย
ได้ หรือไม่ เช่ น ค่ า เบีย้ เลีย้ ง ค่ าพาหนะ
คาตอบ : ได้ โดยให้ เป็ นค่ าใช้ จ่ายในโครงการ


Slide 66

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั งิ บประมาณสนับสนุนโครงการของ
สถานีอนามัย โดยค่ าใช้ จ่ายปรับปรุง
สถานีอนามัย ซ่ อมแซม ต่ อเติมอาคารได้
หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้


Slide 67

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อุดหนุนเงินกองทุนแก่ อสม.ในอบรม
การศึกษาดูงานได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ ให้ ใช้ จ่ายจากเงินพัฒนา
ศักยภาพ อสม.หมู่บ้านละ 10,000 บาท
แทน


Slide 68

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อุดหนุนเงินกองทุนฯเป็ นค่ าใช้ จ่ายในการ
การศึกษาดูงานของคณะกรรมการกองทุน
ฯได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ โดยให้ ค่าใช้ จ่ายนีอ้ ยู่ในกิจกรรม
บริหารจัดการกองทุนร้ อยละ 10


Slide 69

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัติ
งบประมาณซื้อทรายอะเบท น้ายาพ่นสารเคมีได้
หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ หากจัดซื้อเพียงอย่ างเดียว
ได้ หากเป็ นการจัดซื้อ เป็ นค่ าตอบแทนใน
โครงการเพือ่ ป้ องกันควบคุมโรคทีเ่ สนอโดยหน่ วย
บริการ โดยชุมชน และคณะกรรมการกองทุนฯ
เห็นชอบ


Slide 70

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัติ
งบประมาณซื้อวัคซีนโรคพิษสุ นัขบ้ าได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ หากจัดซื้อเพียงอย่ างเดียว
ได้ หากเป็ นการจัดซื้อ เป็ นค่ าตอบแทนใน
โครงการเพือ่ ป้ องกันควบคุมโรคทีเ่ สนอโดยหน่ วย
บริการ โดยชุมชน และคณะกรรมการกองทุนฯ
เห็นชอบ


Slide 71

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมตั ิ
งบประมาณซื้อชุดของขวัญแจกให้ ผู้สูงอายุ ให้
แม่ และเด็กแรกเกิดได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ เพราะไม่ ได้ เป็ นการสร้ างเสริ ม
สุ ขภาพ ป้ องกันโรค ฟื้ นฟูสมรรถภาพทีจ่ าเป็ น
ต่ อสุ ขภาพและการดารงชีวติ


Slide 72

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัติ
งบประมาณซื้อแว่ นสายตาให้ กบั ผู้สูงอายุได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ หากเป็ นการซื้อเพือ่ แจกเป็ นการทั่วไป
ได้ หากมีข้อบ่ งชี้ทางการแพทย์ กบั ผู้สูงอายุ
คนนั้นๆ(ผ่ านการตรวจสายตาโดยจักษุแพทย์ ) และ
คณะกรรมการกองทุนฯเห็นชอบ


Slide 73

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ
คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมตั งิ บประมาณ
ซื้อเครื่องออกกาลังกาย เครื่องคอมพิวเตอร์ โต๊ ะทางาน
ได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ แต่ ไม่ ควรซื้อ ซื้อเมือ่ จาเป็ นจริงๆและค่ าใช้ จ่าย
ซื้อครุภณ
ั ฑ์ ทุกรายการ เป็ นค่ าใช้ จ่ายในกิจกรรมบริหาร
จัดการร้ อยละ 10
ซื้อได้ ในราคาไม่ เกิน 20,000 บาทต่ อหน่ วย


Slide 74

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั งิ บประมาณซื้อวัสดุสานักงานใช้ ใน
กิจการกองทุนฯได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 75

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ
คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมตั งิ บประมาณ
ซื้อเครื่องพ่นหมอกควัน(FOG)ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ หากเป็ นการซื้อเพียงรายการเดียว
ได้ หากเป็ นการซื้อวัสดุหรือมีค่าตอบแทน การ
ประชาสั มพันธ์ ให้ ความรู้ แก่ ประชาชน ชุมชนร่ วมด้ วย
และเสนอโดยสถานีอนามัย ชุมชนในพืน้ ที่ โดยค่ าใช้ จ่าย
ครุภณ
ั ฑ์ นีร้ วมเป็ นค่ าใช้ จ่ายในกิจกรรมบริหารจัดการ
ร้ อยละ 10


Slide 76

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั งิ บประมาณสร้ างสนามเปตอง
สนามฟุตซอล ลานกีฬาฯลฯ ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้


Slide 77

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมตั ิ
งบประมาณเป็ นค่ าตอบแทนนาเต้ นแอโรบิค
ในชุมชนได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ ให้ เขียนว่ า “เป็ นตอบแทนวิทยากรนา
เต้ น” ไม่ เขียนในลักษณะการจ้ าง และต้ องมี
โครงการชัดเจน คณะกรรมการกองทุนฯ
เห็นชอบ


Slide 78

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมตั ิ
งบประมาณเป็ นจ้ างครู ฝึกสอนนวดได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ แต่ ให้ เขียนว่ า “เป็ นตอบแทน
วิทยากร” ไม่ เขียนในลักษณะการจ้ าง และต้ อง
มีโครงการชัดเจน คณะกรรมการกองทุนฯ
เห็นชอบ


Slide 79

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั งิ บประมาณเป็ นค่ าจ้ างพนักงานเก็บ
ขยะในชุมชนได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ เนื่องจากเป็ นภารกิจของ
อบต./เทศบาล


Slide 80

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัติ
งบประมาณเป็ นทุนการศึกษาแก่ นักศึกษาพยาบาล
ศาสตร์ สาธารณสุ ขศาสตร์ แพทยศาสตร์ หรือ
ทุนการศึกษาแก่ เด็กนักเรียนได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ เนื่องจากเป็ นการสนับสนุนด้ าน
การศึกษา ไม่ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ ของ
กองทุนฯ


Slide 81

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ
คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัตงิ บประมาณเป็ น
ทุนการศึกษาแก่ อสม.ที่เป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัยชีวติ ได้
หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ เนื่องจากเป็ นการสนับสนุนด้ านการศึกษา ไม่
สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ ของกองทุนฯ แต่ หากนักศึกษา
จัดทาโครงการด้ านส่ งเสริมสุ ขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ฟื้ นฟู
สมรรถภาพแก่ ประชาชนในชุมชน เสนอต่ อคณะกรรมการ
กองทุนฯ และคณะกรรมการฯเห็นชอบก็สามารถกระทาได้


Slide 82

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ
คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัตงิ บประมาณ
สนับสนุนกิจกรรมเยีย่ มบ้ านผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ผู้พกิ าร โดย
กิจกรรมส่ วนหนึ่งจัดทากระเช้ าของเยีย่ มเพือ่ มอบให้ ผ้ ูสูงอายุ
ผู้ป่วย ผู้พกิ าร เป็ นการเสริมขวัญกาลังใจได้ หรือไม่
คาตอบ : หากโครงการดังกล่ าวเป็ นความต้ องการของประชาชน อยู่
ภายใต้ แผนงานสุ ขภาพของกองทุนฯ โดยในชุดของเยีย่ มนั้นมี
ความรู้ คาแนะนาดูแลสุ ขภาพตนเองรวมอยู่ด้วย ก็สามารถให้
การสนับสนุนได้


Slide 83

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ
คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมตั งิ บประมาณ
สนับสนุนบริษทั ตรวจทางห้ องปฏิบัตกิ ารได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ หากเป็ นมติของคณะกรรมการฯ ก็สามารถให้
การสนับสนุนได้ กองทุนฯจะดาเนินการได้ กต็ ่ อเมือ่
บริษทั ตรวจทางห้ องปฏิบัตกิ ารดังกล่ าว ต้ องได้ รับ
อนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุ ขให้ ตรวจสุ ขภาพและ
ให้ บริการนอกพืน้ ทีไ่ ด้ ตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง


Slide 84

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถจ้ าง
เจ้ าหน้ าที่ อบต./เทศบาลมาทางานให้ กบั กองทุน
สุ ขภาพชุมชนได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้ หรือไม่ ขึน้ อยู่กบั การพิจารณาของ
คณะกรรมการกองทุนฯ และระเบียบการ
บริหารบุคคลของ อบต./เทศบาล


Slide 85

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั งิ บประมาณซื้อเครื่องขับ ธาตุเหล็ก
เพือ่ ลดความรุนแรงของโรคแก่ ผู้ป่วย
ธาลัสซีเมียทีม่ ีฐานะยากจนได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ เพราะเป็ นการรักษาพยาบาล


Slide 86

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถตกลงว่ าจ้ าง
และอนุมัตงิ บประมาณสนับสนุนบริษทั เอกชนที่
เสนอโครงการตรวจสุ ขภาพประชาชนเคลือ่ นที่ ได้
หรือไม่
คาตอบ : ถ้ าการตรวจสุ ขภาพนั้น ไม่ เป็ นไปตามความ
จาเป็ นของประชาชนกลุ่มอายุต่างๆ และ/หรือ
ให้ บริการโดยไม่ มีคุณภาพ มาตรฐาน ก็ย่อมไม่
เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ของกองทุนฯ


Slide 87

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯอนุมตั ิ
โครงการป้ องกัน แก้ ไขปัญหา ยาเสพติด
เช่ น กลุ่ม To Be No. 1 โครงการ
รั้วชุมชน ได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 88

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯอนุมตั ิ
โครงการสายใยรักแห่ งครอบครัว(เพิม่
อัตราการเลีย้ งลูกด้ วยนมแม่ พัฒนาการ
เด็ก สุ ขภาพจิต)ได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 89

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการโรงเรียนส่ งเสริมสุ ขภาพ
“เด็กไทยทาได้ ”(อาหารปลอดภัย)ได้
หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 90

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการรณรงค์ ขบั ขีป่ ลอดภัย ร่ วม
ใจรักษากฎจราจร “โทรไม่ ขับ”ได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 91

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯอนุมตั ิ
โครงการเยีย่ มบ้ านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ผู้พกิ าร ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสได้
หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 92

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯอนุมตั ิ
โครงการเปลีย่ นหม้ อก๋ วยเตี๋ยวไร้ สาร
ตะกัว่ ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้


Slide 93

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯอนุมตั ิ
โครงการยิม้ สวย ฟันดี บริการตรวจฟันได้
หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 94

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯอนุมตั ิ
โครงการดูแลสุ ขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
(จัดซื้ออาหารเสริมให้ ผู้ป่วย)ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้


Slide 95

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถโครงการ
พัฒนาคุณภาพชีวติ แม่ และลูก(ส่ วนหนึ่งจัดซื้อของ
เยีย่ ม รับขวัญเด็กเกิดใหม่ วัสดุในการประกวด
หนูน้อยด้ วยนมแม่ )ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ ถ้ าซื้อของอย่ างเดียว
ได้ ถ้ ามีกจิ กรรมและค่ าใช้ จ่ายเกีย่ วกับการ
ให้ ความรู้แก่ มารดา


Slide 96

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัติ
โครงการช่ วยเหลือผู้ได้ รับกระทบจากการติดเชือ้
เอดส์ (จัดซื้ออาหารเสริม นม ไข่ อาหารเหลว)ได้
หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ หากซื้ออาหาร วัสดุ สิ่ งของอย่ างเดียว
ได้ หากมีกจิ กรรมและค่ าใช้ จ่ายในการให้
ความรู้การปฏิบัตติ นแก่ ผู้ป่วยและญาติ


Slide 97

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมตั ิ
โครงการขยะในครัวเรือน หมู่บ้านสะอาดได้
หรือไม่
คาตอบ :ไม่ ได้ ถ้ าซื้อถังขยะ ขยะจากประชาชน
ชุมชน
ได้ ถ้ าเป็ นการให้ ความรู้ ปรับเปลีย่ น
พฤติกรรมคนในชุมชน


Slide 98

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัติ
โครงการน้าหมักชีวภาพ จัดทาตะไคร้ หอม
ประดิษฐ์ ดอกไม้ แห้ งได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ หากไม่ ตรงกับวัตถุประสงค์ ของการ
ดาเนินงานกองทุน
ได้ หากเป็ นด้ านอาชีวบาบัด ฟื้ นฟูผู้พกิ าร
ผู้สูงอายุ โรคจิตและประสาท


Slide 99

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัติ
โครงการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษได้
หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ หากไม่ ตรงกับวัตถุประสงค์ การ
ดาเนินงานของกองทุน
ได้ หากเป็ นการสนับสนุนการพึง่ ตนเอง
ด้ านอาหารปลอดภัย สร้ างสุ ขภาพด้ านโภชนาการ


Slide 100

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการกรองนา้ ก่ อนประปาเข้า
บ้ าน(ซื้อวัสดุก่อสร้ าง) โครงการโอ่งนา้
ปลอดภัย ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้


Slide 101

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการเรียนรู้ เรื่องสุ ขภาพ เรียนรู้
การใช้ ยาสามัญประจาบ้ าน สารปนเปื้ อน
ในอาหารได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 102

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการอบรมกลุ่มประชาชน
ในการนวดแพทย์ แผนไทย พัฒนาแพทย์
แผนไทยได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 103

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการสนับสนุนเครื่องสนามเด็ก
เล่ น เช่ น ชิงช้ า ม้ าหมุน การดานลืน่
สาหรับศูนย์ เด็กเล็กประจาตาบลได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้


Slide 104

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมัติ
โครงการรณรงค์ ประชาสั มพันธ์ การป้ องกัน
อุบัตเิ หตุในช่ วงเทศบาลสงกรานต์ โดยทาการ
จัดซื้อผ้ าเย็นแจกให้ กบั ประชาชนที่สัญจรไปมา
หรือจัดซื้อธงสี แดงแจ้ งเตือนภัยติดบริเวณถนน
โค้ งอันตราย ได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 105

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการส่ งเสริมสุ ขภาพ(มวยไทย)
โดยจัดซื้ออุปกรณ์ ในการชกมวย กางเกง
มวย เสื้อยืด เสื้อวอร์ มให้ กบั ผู้เข้ าร่ วม
โครงการได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 106

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถอนุมตั ิ
โครงการส่ งเสริมสุ ขภาพจิตโดยใช้ หลักธรรมะ
โครงการนุ่งขาวห่ มขาวเข้ าวัดปฏิบัตธิ รรมเพือ่
สุ ขภาพจิตผู้สูงอายุ โครงการอบรมเข้ าค่าย
คุณธรรม จริยธรรมสาหรับนักเรียนได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 107

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถพก
ถุงผ้ าใส่ ยาประจากาย(ซื้อถุงผ้ าใส่ ยาแจก
ให้ กบั ประชาชน)ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้ เพราะไม่ สอดคล้ องกับ
วัตถุประสงค์ ของกองทุน


Slide 108

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการปรับปรุงห้ องภายในอาคาร
โรงเรียน สร้ างห้ องนา้ ห้ องสุ ขาโรงเรียน
ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้


Slide 109

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการรวมพลังด้ านสุ ขภาพเนื่อง
ในวันอาสาสมัครสาธารณสุ ขแห่ งชาติ
(สนับสนุนงบประมาณให้ แก่ อาสาสมัคร)
ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้


Slide 110

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั คิ ่ าจัดซื้อเสื้อสาหรับคณะกรรมการ
กองทุน คณะอนุกรรมการกองทุนได้
หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 111

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั โิ ครงการแพทย์ ตรวจคัดกรอง
ฟื้ นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย ผู้พกิ าร
(ค่ าตอบแทนแพทย์ พยาบาล
นักกายภาพบาบัด)ได้ หรือไม่
คาตอบ : ได้


Slide 112

หลักเกณฑ์พิจารณาการจ่ายเงิน
ของกองทุนสุขภาพชุมชนแต่ละแผนงาน/โครงการ

คาถาม : คณะกรรมการกองทุนฯสามารถ
อนุมตั เิ งินอุดหนุนกองทุนชมรมผู้สูงอายุ
อปพร.ได้ หรือไม่
คาตอบ : ไม่ ได้


Slide 113

เป้ าหมาย
ประชาชน-สุขภาพดี
ชุมชน-เข้มแข็ง
สังคม-อยู่ดีมีสขุ
เมืองไทย-แข็งแรง


Slide 114

ประสานงาน
ศิริศกั ด์ ิ เผือกวัฒนะ 081 3448579

[email protected]
อัษฎาวุธ สาระสิทธ์ ิ 084 5441004
[email protected]


Slide 115

ขอบคุณครับ