การบริหารความเสี่ยง

Download Report

Transcript การบริหารความเสี่ยง

Slide 1

ระบบบริหารความเสี่ยง
และการพัฒนาคุณภาพอย่างเชื่อมโยงตาม
มาตรฐาน HA


Slide 2

3P (PDSA) คือ Basic Building Block
ของการพัฒนา

ทาไมต้องมีเรา

Purpose

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Plan/Design -> Do
เราทางานกันอย่างไร
ทาได้ดีหรือไม่
ทาไปเพื่ออะไร

Process

Performance
Study/Learn

จะทาให้ดีข้ ึนได้อย่างไร
Act/Improve


Slide 3

Risk Management
การบริหารความเสี่ยง


Slide 4

เป้ าหมาย
 โรงพยาบาลเป็ นสถานที่ที่ปลอดภัยแก่ผมู้ า
รับบริการ ญาติและเจ้าหน้ าที่
 ระดับบุคคล : เจ้าหน้ าที่รบั ทราบข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับความเสี่ยง

 หน่ วยงาน/รพ.
o มีการเฝ้ าระวังและการค้นหาความเสี่ยง
o มีมาตรการป้ องกันและควบคุมความเสี่ยง
o หน่ วยงานสามารถจัดการกับความเสี่ยงที่
เกิดขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


Slide 5

รู้จกั ….ความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยงระดับหน่ วยงาน
การบริหารความเสี่ยงระดับโรงพยาบาล

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM


Slide 6

อะไรคือ ความเสี่ ยง
ความเสี่ยงคือ
โอกาสที่จะประสบกับ………

อะไรคือ

การบาดเจ็บ/ความเสียหาย (harm)
เหตุร้าย (hazard)
อันตราย (danger)
ความไม่แน่ นอน (uncertainty)
การ exposed organ
ความสูญเสีย (loss)

เหตุการณ์ ไม่ พงึ ประสงค์ Adverse Event (AE)


Slide 7

เหตุการณ์ ไม่ พงึ ประสงค์
Adverse Event (AE)
• เป็ นเหตุการณ์ หรือสภาวะทีไม่คาดหวังจากกระบวนการต่างๆในการ
บริการทางการแพทย์ ทีมีผลกระทบต่อ
คนไข้ วิชาชีพ องค์กร ชุมชน
• ได้มาจากเหตุการณ์ จริง เช่น การเกิดภาวะแทรกซ้อน การบาดเจ็บ การ
ร้องเรียน
• ปัญหาเกิดได้ทงั ้ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ

ทีมีความสาคัญคือ
AE ที่มี HARM
การสูญเสียโครงสร้างหรือการสูญเสียการทาหน้ าทีข่ องร่างกายหรือจิตใจ ซึง่
อาจเป็ นการสูญเสียชัวคราวหรื

อถาวรก็ได้


Slide 8

การสูญเสียโครงสร้างหรือการสูญเสียการทาหน้ าทีข่ องร่างกายหรือจิตใจ ซึง่
อาจเป็ นการสูญเสียชัวคราวหรื

อถาวรก็ได้

ที่ใช้กนั มากคือ
ระดับความรุนแรงของความคลาดเคลือ่ นที่ NCC MERP

(กาหนดขึน้ มาประยุกต์ ใช้ โดยเลือกนับเฉพาะเหตุการณ์ ที่
ก่ อให้ เกิดอันตราย (harm) ต่ อผู้ป่วยเท่ านั้น ตั้งแต่ A-I

National Coordinating Council for Medication Error Reporting and Prevention


Slide 9

Harm
การสูญเสียโครงสร้างหรือการสูญเสียการทาหน้ าทีข่ องร่างกายหรือจิตใจ ซึง่
อาจเป็ นการสูญเสียชัวคราวหรื

อถาวรก็ได้

อันตรายในที่นี้จึงได้แก่หวั ข้อ E, F, G, H, และ I ของ NCC MERP
Index
E: อันตรายชัวคราวต่

อผูป้ ่ วยซึ่งต้องให้การบาบัดรักษา
F: อันตรายชัวคราวต่

อผูป้ ่ วยซึ่งต้องทาให้นอนโรงพยาบาลนานขึน้
G: อันตรายถาวรต่อผูป้ ่ วย
H: ต้องรับการบาบัดรักษาเพื่อช่วยชีวิต
I: ผูป้ ่ วยเสียชีวิต


Slide 10

Risk Management

การบริหารความเสี่ ยง

1. กระบวนการบริหารความเสี่ ยง
2. ระบบบริหารความเสี่ ยง
3. การบริหารความเสี่ ยงและความเชื่อมโยงกับ
การปรับปรุงคุณภาพและการประกัน
คุณภาพ
RM
CQI/QA
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM


Slide 11

Risk Management

1.กระบวนการบริหารความเสี่ ยง

1. การค้นหาความเสี่ยง
2. การประเมินความเสี่ยง ระดับความรุนแรง
ระดับความถี่บอ่ ย
3. การจัดการกับความเสี่ยง
4. การประเมินผล
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM


Slide 12

กระบวนการบริ หารความเสี่ยง
ค้ นหาความเสี่ ยง
-ศึกษาจากอดีต
-สารวจในปัจจุบนั
-เฝ้ าระวังไปข้ างหน้ า

ประเมินความเสี่ ยง

การจัดการกับความเสี่ยง

ควบคุมความเสี่ ยง
-หลีกเลีย่ ง
-ป้ องกัน
-ถ่ ายโอน
-แบ่ งแยก
-ลดความสู ญเสี ย

ประเมินผลระบบ
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM

การจ่ ายเงินชดเชย


Slide 13

การค้นหาความเสี่ยง
 การค้นหาเชิงรุก
 การตรวจสอบ เช่น ENV Round IC Round Risk
Round การทบทวนเวชระเบียน การค้นหาจาก
กระบวนการทางาน การทากิจกรรมทบทวน

 การค้นหาแบบตัง้ รับ
 รายงานต่างๆ เช่น รายงานอุบตั ิ การณ์ รายงาน
เวรตรวจการ บันทึกประจาวันของหน่ วยงาน เป็ น
ต้น


Slide 14

แนวทางการประเมินความเสี่ยง
พิจารณาจาก : โอกาสเกิดเหตุการณ์ /ความสูญเสีย
 มีความถี่และรุนแรงมากน้ อยเพียงใด
 มีผลทางคลินิกอย่างไร/ก่อให้เกิดความสูญเสีย
เท่าใด
IMPACT
 มีผลต่อองค์กรอย่างไร


Slide 15

ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงแบบที่1
 ระดับ A เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่จะก่อให้เกิดความ
คลาดเคลื่อน
 ระดับ B เกิดความคลาดเคลื่อนขึน้ แต่ยงั ไม่ถึงผูป้ ่ วย
 ระดับ C เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูป้ ่ วย แต่ไม่ทาให้ผปู้ ่ วย
ได้รบั อันตราย
 ระดับ Dเกิดความคลาดเคลื่อนกับผูป้ ่ วย ส่งผลให้ต้องมีการ
เฝ้ าระวังเพื่อให้มนใจว่
ั ่ าไม่เกิดอันตรายต่อผูป้ ่ วย
 ระดับ E เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูป้ ่ วยส่งผลให้เกิด
อันตรายชัวคราว

และต้องมีการบาบัดรักษา


Slide 16

ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงแบบที่1
 ระดับ F เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูป้ ่ วยส่งผลให้เกิดอันตราย
ชัวคราว

และต้องนอนโรงพยาบาล หรืออยู่โรงพยาบาลนานขึน้
 ระดับ G เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูป้ ่ วยส่งผลให้เกิดอันตราย
ถาวรแก่ผปู้ ่ วย
 ระดับ H เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูป้ ่ วยส่งผลให้ต้องทาการ
ช่วยชีวิต
 ระดับ I เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูป้ ่ วยซึ่งอาจเป็ นสาเหตุของ
การเสียชีวิต


Slide 17

ตัวอย่างการจัดระดับความรุนแรงแบบที่ 2
 ระดับ 0 : เป็ นเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน
แต่ยงั ไม่ถึงผูร้ บั บริการ/ผูป้ ฏิบตั ิ งาน (Nearmiss)
 ระดับ 1 : ผูร้ บั บริการ/ผูป้ ฏิบตั ิ งาน ได้รบั ผลกระทบแต่
ไม่ต้องเฝ้ าระวังหรือรักษา
 ระดับ 2 : ผูร้ บั บริการ/ผูป้ ฏิบตั ิ งาน ได้รบั ผลกระทบ
ส่งผลให้ต้องมีการดูแลหรือเฝ้ าระวัง เพื่อให้มนใจว่
ั ่ าไม่เกิด
อันตราย
 ระดับ 3 : ส่งผลให้เกิดอันตรายถาวร ต้องทาการ
ช่วยชีวิต และถึงแก่ชีวิต


Slide 18

ระบบรายงานอุบตั ิ การณ์
 มีคาจากัดความของอุบตั ิ การณ์/เหตุการณ์ไม่พึง
ประสงค์ของรพ.
 มีแนวทางที่ชดั เจนว่า ในกรณี ใดที่จะต้องรายงาน
 กาหนดผูม้ ีหน้ าที่ในการเขียนรายงาน
 กาหนดเส้นทางเดินของรายงานที่รดั กุม เป็ น
หลักประกันในการรักษาความลับ และไม่อนุญาตผู้
ที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าถึงได้
 การสร้างความเข้าใจว่า การแก้ปัญหานี้ มิใช่การ
ลงโทษ


Slide 19

ประเภทของรายงานอุบตั ิ การณ์
 เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่รนุ แรง (Sentinel events)
 เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (Adverse events)
 เหตุการณ์ผิดปกติ


Slide 20

จัดระบบเพื่อป้ องกัน/แก้ไขความเสี่ยง
 จัดระบบที่สามารถป้ องกันความผิดพลาด

 จัดระบบค้นหาความผิดพลาดให้ปรากฏเพื่อ
หยุดยัง้ ได้ทนั
 จัดระบบที่จะลดความรุนแรงของ ความเสียหาย
จากความผิดพลาด


Slide 21

การประเมินผล/เฝ้ าระวังความเสี่ยง
 การทบทวนระบบ/กระบวนการที่ได้วางไว้/ความเสี่ยงที่
เกิดขึน้ ใหม่ๆ
 สามารถบอกประสิทธิภาพของระบบบริหารความเสี่ยงได้
เช่น
o จานวน และประเภท risk/อุบตั ิ การณ์/อุบตั ิ เหตุ
o อัตราของความเสี่ยง/อุบตั ิ การณ์ตามกลุ่มประเภทความ
เสี่ยง/ความรุนแรง
o ระดับความรุนแรง
o อัตราการเกิดซา้ ฯ


Slide 22

Risk Management

2. ระบบบริหารความเสี่ ยง
• โปรแกรมที่เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง
• การบริหารความเสี่ยงในหน่ วยงาน
• การประสานกิจกรรมบริหารความเสี่ยง

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM


Slide 23

โปรแกรมที่เกีย่ วข้ องกับการบริหารความเสี่ ยง
 ความเสี่ยงทางคลินิค
 ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม
ความปลอดภัยจากการใช้ยา
 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 การควบคุม/เฝ้ าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
 การป้ องกันอัคคีภยั /อุบตั ิ ภยั
 อื่นๆ(ตามที่โรงพยาบาลกาหนด)


Slide 24

3. การบริหารความเสี่ ยงและความเชื่อมโยงกับ
การปรับปรุงคุณภาพและการประกันคุณภาพ

รักษามาตรฐานและ
ยกระดับคุณภาพ
การดูแลผูป้ ่ วย หรือ
ระบบ หรือ Key Process ต่างๆ

QA/CQI

RM



บาดเจ็บ



ทรัพย์สิน
สูญเสีย
การป้ องกันปัญหา
ควบคุมความสูญเสีย
การตอบสนอง


Slide 25

II – 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และค ุณภาพ
(Risk, Safety, and Quality Management System)

มีระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ ของโรงพยาบาลที่มี
ประสิทธิผลและประสานสอดคล้องกัน รวมทัง้ การพัฒนาคุณภาพการดูแล
ผูป้ ่ วยในลักษณะบูรณาการ.
ก. ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย
1

ประสาน
โปรแกรมความเสี่ยง
ระบบสารสนเทศ

2

ค้นหาและจัดลาดับ
ความสาคัญของ
ความเสี่ยง

6

ปรับปรุง
3

กาหนดมาตรการ
ป้ องกัน, สื่อสาร,
สร้างความตระหนัก

4

ประเมิน
ประสิทธิผล
5

ระบบรายงานอุบตั ิ การณ์

วิเคราะห์สาเหตุ

ทบทวนการดูแลผูป้ ่ วย

พัฒนาคุณภาพการดูแล
สาหรับกลุ่มเป้ าหมาย

รายงาน วิเคราะห์ ใช้ประโยชน์

1

แก้ปัญหา

ข. คุณภาพการดูแลผูป้ ่ วย

2 กาหนดกลุม่ /วัตถุประสงค์
3 กาหนด KPI
4 ใช้วธิ กี ารทีห่ ลากหลาย


Slide 26

ประเด็นสาคัญของมาตรฐาน
 มีการประสานระหว่างโปรแกรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบบริหารความเสี่ยง
- ความปลอดภัยของเจ้าหน้ าที่และ อาชีวอนามัย
- ระบบรักษาความปลอดภัย( security)
- การควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
- ความเสี่ยงในการดูแลผูป้ ่ วย ( clinical risk)
- การจัดการกับคาร้องเรียน
 มีการเชื่อมโยงระบบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความเสี่ยง
( risk MIS)


Slide 27

ประเด็นสาคัญของมาตรฐาน
 มีการจัดการกับความสูญเสีย/ความเสียหายที่เกิดขึน้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ
 ทุกหน่ วยงานวิเคราะห์ความเสี่ยงของตนเอง
 มีการกาหนดมาตรการป้ องกันที่รดั กุม
 มีการเฝ้ าระวัง/ระบบรายงานอุบตั ิ การณ์


Slide 28

บทบาทคณะกรรมการ RM
 กาหนดทิศทาง นโยบายและติดตามประเมินผลว่าระบบที่ใช้อยู่
นัน้ มีประสิทธิภาพเพียงใด
 สามารถป้ องกันและจัดการกับความเสี่ยงหรือความสูญเสียได้ดี
เพียงใด
 ทาหน้ าที่ประสานเชื่อมโยงกิจกรรมและข้อมูลข่าวสารระหว่าง
โปรแกรมต่างๆ เพื่อให้เห็นภาพรวมของความเสี่ยงทัง้
โรงพยาบาล
 ให้ความช่วยเหลือแก่หน่ วยงานต่างๆเพื่อสร้างความเข้าใจ และ
สงบความไม่พึงพอใจแก่ผสู้ ญ
ู เสียให้เร็วที่สดุ


Slide 29

ผูจ้ ดั การความเสี่ยง มีหน้าทีป่ ระสานกิจกรรมบริหาร
ความเสีย่ งของรพ. ทีเ่ ป็ นรายงานประจาวัน ได้แก่
 การรวบรวมและวิเคราะห์รายงานอุบตั ิ การณ์
 การประสานกับคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับ

ความเสี่ยงนัน้ ๆ
 การติดตามประเมินผลการจัดการ
 การให้ความรูแ้ ละสร้างความตระหนัก
 การประสานงานด้านกฎหมาย