การนาเสนอผลงานวิจย ั ส่วนที่จ การใช้ประโยชนไม ้ ์ เศรษฐกิ ลดโลกรอนด วยวั สดุทดแทนไม้ ้ ้ นายวรธรรม อุนจิ ั ่ ตติชย นาเสนอในการประชุมวิชาการดานป ้ ่ าไม้ “เทคโนโลยีดานป ่ ประชาชน” ้ ่ าไมเพื ้ อ วันที่ 28 - 29 มิถุนายน 2554 ณ อาคารกริต สามะพุทธิ กรมป่าไม้

Download Report

Transcript การนาเสนอผลงานวิจย ั ส่วนที่จ การใช้ประโยชนไม ้ ์ เศรษฐกิ ลดโลกรอนด วยวั สดุทดแทนไม้ ้ ้ นายวรธรรม อุนจิ ั ่ ตติชย นาเสนอในการประชุมวิชาการดานป ้ ่ าไม้ “เทคโนโลยีดานป ่ ประชาชน” ้ ่ าไมเพื ้ อ วันที่ 28 - 29 มิถุนายน 2554 ณ อาคารกริต สามะพุทธิ กรมป่าไม้

การนาเสนอผลงานวิจย
ั ส่วนที่
2
จ
การใช้ประโยชนไม
้
์ เศรษฐกิ
ลดโลกรอนด
วยวั
สดุทดแทนไม้
้
้
นายวรธรรม อุนจิ
ั
่ ตติชย
นาเสนอในการประชุมวิชาการดานป
้
่ าไม้
“เทคโนโลยีดานป
่ ประชาชน”
้
่ าไมเพื
้ อ
วันที่ 28 - 29 มิถุนายน 2554
ณ อาคารกริต สามะพุทธิ กรมป่าไม้
1
ลดโลกร้ อน
ด้ วย วัสดุทดแทนไม้
กรมป่ าไม้
2
3
คุณประโยชน์ ของวัสดุทดแทนไม้
ที่มีต่อการลดปัญหาสิ่ งแวดล้อมปัจจจจุััน
1. ช่ วยรั กษาป่ าไม้ ให้ เกิดความสมดลุ ป่ าไม้
เป็ นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่ใหญ่และสาคัญ
ที่ สุด ต่ อความสมดุ ลของระบบนิ เ วศวิทยาและ
เป็ นปั จจั ย สี่ ในการด ารงชี พของสิ่ งมี ชี วิ ต
ทั้งหลาย นอกจากนี้ ยงั เป็ นแหล่งต้นน้ าลาธาร
และยังช่วยปกป้ องหรื อบรรเทาภัยธรรมชาติได้
ด้ว ยการน าวัส ดุ ท ดแทนไม้ม าใช้ ป ระโยชน์
แทนไม้จริ งธรรมชาติ จึ งช่ วยลดความสู ญเสี ย
และเสื่ อมโทรมของป่ าไม้ได้อีกทางหนึ่ง
4
2. ช่ วยลดภาวะโลกร้ อน การเกิดภาวะโลกร้อนส่ วน
หนึ่งมาจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ เช่น การเผาเศษ
วัสดุเหลือใช้ต่างๆ ซึ่งเป็ นกิจกรรมหนึ่งที่มีผลทาให้เกิด
ภาวะเรื อนกระจกจนทาให้โลกร้อนขึ้น ทั้งนี้การนาเศษ
วัสดุดงั กล่าวมาผลิตเป็ นวัสดุทดแทนไม้แทนการเผาทิ้ง
ช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อย่างมาก
3. ช่ วยเพิม่ ขีดความสามารถในการใช้ ประโยชน์ ไม้ ได้ อย่ างค้ มุ ค่ า
ไม้ที่ น ามาใช้ใ นอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ จะมี เ ศษไม้ ปลายไม้
เหลื อ ทิ้ ง เป็ นจ านวนมาก การน าเศษไม้ ปลายไม้ที่ เ หลื อ ทิ้ ง เหล่ า นี้
มาผลิตเป็ นแผ่นวัสดุทดแทนไม้จะเป็ นการช่วยลดปริ มาณเหลือทิ้งและ
เป็ นการช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการใช้ประโยชน์ได้อย่างคุม้ ค่าด้วย
5
4. ช่ วยเพิ่มมูลค่ าของเศษใบหญ้ าแฝกและวัสดุการเกษตรเหลือทิ้ง
การบารุ งรักษาต้นหญ้าแฝก ซึ่ งรณรงค์ปลูกเพื่อสภาพพื้นที่และ
ยึดหน้าดิ น ป้ องกัน การชะล้างพังทลายของดิ น จ าเป็ นต้องตัด ใบทิ้งเพื่อ
บารุ งรั กษาเป็ นระยะๆ ทุก 3-6 เดื อน ในบางส่ วนใช้คลุมหน้าดิ นและ
นาไปใช้ทาผลิตภัณฑ์หัตถกรรม แต่ยงั คงมีปริ มาณของใบเหลือทิ้งอีกมาก
และสามารถนามาผลิตเป็ นวัสดุทดแทนไม้เพื่อเพิ่มมูลค่าของเศษใบหญ้าแฝก
เหลือทิ้งและเป็ นแรงจูงใจเกิดเป็ นรายได้ให้กบั เกษตรกรที่ปลูกหญ้าแฝกใน
ทานองเดี ยวกันนี้ วัสดุ การเกษตรเหลือทิ้งอื่นๆ เช่ น ฟางข้าว ซังข้าวโพด
ใบอ้อย ปาล์มน้ ามัน ฯลฯ สามารถเพิ่มมูลค่า สร้างรายได้เช่นเดียวกับใบ
หญ้าแฝกได้ดว้ ยเช่นกัน
6
วัสดุทดแทนไม้ หรือไม้ ประกอั
วัส ดุ ท ดแทนไม้ห รื อ ไม้ป ระกอบ (WoodSubstitute Composite) เป็ นวัสดุ ที่ประกอบจาก
ส่ ว นประกอบ 2 ชนิ ด ขึ้ นไป โดยมี ว ัส ดุ ไ ม้ห รื อ
ลิ ก โนเซลลู โ ลสเป็ นส่ ว นประกอบหนึ่ งร่ วมกั บ
วัสดุอื่น
เช่น โพลีเมอร์ หรื อสารอนินทรี ย ์ ทั้งนี้ส่วนประกอบแต่ละชนิ ดจะต้องแสดง
สมบัติของแต่ละส่ วนแยกกันอย่างเด่นชัด แต่เมื่อนามาผสมกันจะมีสมบัติที่
ส่ ง เสริ มกัน มี คุ ณ สมบัติ ค ล้า ยคลึ ง และน ามาใช้ใ นงานทดแทนไม้จ ริ ง
ธรรมชาติ
7
กล่ ุมวัสดุทดแทนไม้
1. กลุ่มไม้ แปรรู ป
1.1 ไม้ ประกััโครงสร้ าง
(Glued Laminated Timber, Glulam)
ใช้กบั งานโครงสร้างในรู ปคานและเสา
8
1.2 แผ่ นไม้ ประสาน (Laminated Board)
เป็ นการนาไม้แปรรู ปขนาดเล็กที่มีการคัดเลือกไม้ที่ ดี แล้วนามา
ติดกันด้วยกาวเรซิ่ น เพื่อให้ได้แผ่นไม้ประสานที่มีขนาดหน้ากว้าง
และยาวขึ้ น มัก น าไปใช้เ ป็ นไม้พ้ื น กระดาน ผนัง ในอาคารและ
ชิ้นส่ วนเฟอร์นิเจอร์ เช่น ตู้ โต๊ะ เป็ นต้น
9
2. กลุ่มไม้ ัาง
2.1 แผ่ นไม้ อดั (Plywood)
ผลิ ต โดยการน าไม้บ างมาทากาวแล้ว เรี ย ง
ประกบกัน เป็ นชั้น ๆ โดยให้แ นวเสี้ ยนของไม้
บางแต่ ล ะชั้น เรี ย งตั้ง ฉากกับ ไม้บ างชั้น ถัด ไป
นิยมประกบเป็ นชั้นในจานวนคี่ เช่น 3 ชั้น 5 ชั้น
7 ชั้น เป็ นต้น
2.2 แผ่ นไม้ อดั ไส้ ไม้ ระแนง (Blockboard)
เป็ นแผ่นไม้อดั ที่มีช้ ันไส้เป็ นไม้ระแนงขนาดหน้ากว้าง 7-30 มม.
เรี ยงอัดประสานต่อเนื่องกัน แล้วประกบหน้าหลังด้วยไม้บางสลับเสี้ ยน
10
2.3 แผ่นไม้อดั ไส้ไม้ประกับตั้ง (Laminboard)
2.4 แผ่นไม้อดั ไส้ไม้คร่ าว (Battenboard)
2.5 แผ่นไม้อดั สอดไส้ (Sandwich Board)
2.6 แผ่นไม้บางประกับ (Laminated Veneer
Lumber, LVL)
11
3. กลุ่มชิ้นไม้
3.1 แผ่ นชิ้นไม้ อดั (Particleboard)
ผลิ ต จากการน าชิ้ น ไม้ห รื อชิ้ นวัสดุ
ลิกโนเซลลูโลสอื่นๆที่ถูกย่อยให้มีขนาด
ต่างๆมารวมกันเป็ นแผ่น โดยมีกาวเป็ น
ตัวประสานเชื่ อมให้ติดกันภายใต้ความ
ร้อนและแรงอัด
3 . 2 แผ่ น เ กล็ ด ไ ม้ อั ด (Flakeboard)
คล้ายคลึงกับแผ่นชิ้ นไม้อดั แต่ใช้ชิ้นไม้
หรื อ ชิ้ น วัส ดุ ลิ ก โนเซลลู โ ลสอื่ น ๆที่ มี
ลักษณะยาวและบางกว่าเป็ นวัตถุดิบ
12
3.3 แผ่ นแถัไม้ อดั เรียงชิ้น (OSB)
ชิ้นไม้หรื อชิ้นวัสดุลิกโนเซลลูโลสอื่นๆที่ใช้
เป็ นแถบไม้ที่มีลกั ษณะบางและยาวมาก โดยมีการ
เรี ยงตัวของแถบไม้อย่างเป็ นชั้นคล้ายแผ่นไม้อดั
3.4 แผ่ นไม้ อดั ไส้ ปาร์ ตเิ กิล (Composite Plywood, COM-PLY)
เป็ นแผ่นชิ้นไม้อดั ที่ถูกปิ ดผิวทั้งสองด้านด้วยไม้บางหรื อไม้อดั
13
4. กลุ่มเส้ นใยไม้
4.1 แผ่ นใยไม้ อดั แข็ง (Hardboard)
ผลิ ต จากการน าเส้ น ใยจากไม้ห รื อวัส ดุ
ลิกโนเซลลูโลสอื่นๆที่ให้เส้นใยมารวมกันเป็ น
แผ่ น ด้ว ยกรรมวิ ธี เ ปี ยก แล้ว ท าการอัด ร้ อ น
เพื่อให้เกิ ด การยึดเหนี่ ยวระหว่างเส้นใย แผ่น
เรี ยบหน้าเดียว สี น้ าตาลดา
15
4.2 แผ่ นใยไม้ อดั ความหนาแน่ นปานกลาง
(Medium Density Fiberboard, MDF)
ผลิตจากการนาเส้นใยจากไม้หรื อวัสดุ ลิกโนเซลลูโลสอื่นๆ ที่ให้
เส้นใยมารวมกันเป็ นแผ่นด้วยกรรมวิธีแห้งโดยมีกาวเป็ นตัวประสาน
แล้วทาการอัดร้อนสามารถผลิตให้มีความหนา 1.8–60 มิลลิเมตร มี
แผ่นเรี ยบ 2 หน้า สี ขาว-น้ าตาลอ่อน ตกแต่งผิวได้ดี
16
5. กลุ่มไม้ อดั สารแร่
5.1 แผ่ นฝอยไม้ อดั ซีเมนต์
(Wood Wool-Cement Board)
ผลิ ต จากการน าฝอยไม้ ห รื อวั ส ดุ ลิ ก โน
เซลลูโลสอื่นๆ ซึ่ งมี ลกั ษณะแถบแต่มีความยาว
กว่าและโค้งงอจากเครื่ องขูดมาผสมกับซี เมนต์
แล้วขึ้นรู ปเป็ นแผ่นด้วยการอัดค้างไว้ในแบบจน
ซีเมนต์แข็งตัว
5.2 แผ่ นชิ้นไม้ อดั ซีเมนต์ และแผ่ นใยไม้ อดั ซีเมนต์
(Particle-Cement Board and Fiber-Cement Board)
ผลิตจากการนาชิ้ นไม้หรื อเส้นใยไม้หรื อวัสดุ ลิกโนเซลลูโลสอื่นๆ
ที่แห้งคลุกกับซีเมนต์เป็ นตัวประสาน ร่ วมกับน้ าและสารปรับปรุ งคุณภาพตาม
อัตราส่ วนที่กาหนด แล้วขึ้นรู ปในแบบอัดจนซี เมนต์แข็งตัวเต็มที่ดว้ ยการบ่ม
เพื่อให้เกิดการยึดเหนี่ ยวระหว่างชิ้นไม้หรื อเส้นใยหรื อวัสดุลิกโนเซลลูโลส
อื่นๆ คุณภาพจึงขึ้นอยู่กบั ความสามารถในการเข้ากันได้ระหว่างชิ้ นไม้หรื อ
เส้นใยหรื อวัสดุลิกโนเซลลูโลสอื่นๆ และซีเมนต์ที่ใช้เป็ นสาคัญ
18
6. กลุ่มไม้ พลาสติก
แผ่นประกอบพลาสติกเสริ มวัสดุเซลลูโลสธรรมชาติ
(Natural Lignocellulose Reinforced Plastic Composites)
เป็ นแผ่นประกอบที่มีสารหลัก (matrixs) ส่ วนใหญ่เป็ นเทอร์โมพลาสติกโดยใช้
วัสดุธรรมชาติที่เป็ นลิกโนเซลลูโลสทั้งในรู ปของเส้นใยหรื อผงเป็ นสารตัวเติม
เสริ มแรง
20
ตัวอย่ าง การแปรรูปเป็ นไม้ อดั
22
ตัวอย่ าง การแปรรูปเป็ นไม้ พาร์ ทเิ คิล ฮาร์ ดัอร์ ด และเอ็มดีเอฟ
23
กระัวนการผลิตแผ่ นวัสดุทดแทนไม้ จจากเศษไม้ และวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตร
เตรี ยมชิ้นวัตถุดิบ
อบหรื อตากชิ้นวัตถุดิบ
คัดแยกขนาด
ผสมชิ้นวัตถุดิบกับสารเชื่อมยึด
เตรี ยมแผ่นก่อนอัด
อัดแผ่น
24
25
26
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
การถ่ ายทอดเทคโนโลยี
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67