Alternative Medicine

Download Report

Transcript Alternative Medicine

การดูแลสุขภาพด้ วยยาสมุนไพร
และ
การแพทย์ ทางเลือก
นพ.วิทย์ สมบัตวิ รพัฒน์
ปั ญหาของการแพทย์ แผนปั จจุบัน
โรคเรื อ้ รั ง & มะเร็ง
สาเหตุการเสี ยชีวติ ในอเมริกา ปี 1900 & 1997
Metabolic Syndrome (Syndrome X)
กลุ่มโรคเมตาบอลิก
สถิตกิ ารรักษามะเร็งในประเทศไทย
คนไทยตายด้ วยมะเร็งปี ละ50,000ราย
บ่ งบอกถึงความล้ มเหลวของการรักษา?
อัตราการอยู่รอดถึง5ปี ในผู้ป่วยมะเร็ง เปรียบเทียบปี 1973-1997
ผลการรักษาแทบไม่ มีการเปลีย่ นแปลงเลย โดยเฉพาะมะเร็งชนิดทีก่ ระจายแล้ ว
ชนิดที่ยงั ไม่ กระจาย
ชนิดที่กระจายแล้ว
ปั ญหาของการแพทย์ แผนปั จจุบัน(2)
อันตรายที่เกิดจากยา
อันตรายจากยาแผนปัจจุบัน (สถิติในอเมริกา)
คนไข้ ในโรงพยาบาลที่ได้ รับยาโรคหัวใจ Digoxin ประสพ
ปัญหายาเป็ นพิษต่ อหัวใจ ปี ละ28,000ราย
ผู้สูงอายุทรี่ ับประทานยาแก้ไขข้ ออักเสบ เกิดแผลในกระเพาะอาหาร
จนต้ องส่ งโรงพยาบาลปี ละ41,000ราย และเสี ยชีวติ ถึง3,300
ราย
ผู้สูงอายุมีปัญหาความจาเสื่ อม สมองเสื่ อมปี ละ163,000ราย ซึ่ง
เกิดจากยาหรือยาเป็ นสาเหตุให้ อาการเป็ นมากขึน้
– 46% เกิดจากยากล่อมประสาท/ยานอนหลับ
– 14% เกิดจากยาลดความดัน
– 11% เกิดจากยาจิตเวช
ผู้สูงอายุเกิดอาการparkinson
(อาการมือเท้ าสั่ น ตัวแข็ง ยืนไม่ มั่นคง)
จากการใช้ ยาจิตเวชปี ละ61,000ราย
ผู้สูงอายุเกิดการติดยาประเภทยากล่อม
ประสาทหรือยานอนหลับปี ละ2ล้านราย
ผู้สูงอายุเกิดอาการdyskinesia
(การเคลือ่ นไหวแบบไม่ ต้งั ใจ) จากยา
ทางจิตเวชปี ละ73,000ราย
Parkinson’s disease
dyskinesia
ผลข้ างเคียงทีร่ ุนแรงของยาแผนปัจจุบัน
(ข้อมูลจาก http://www.worstpills.org/)
ยาเบาหวาน
– Troglitazone (Rezulin) : severe hepatotoxicity
– Rosiglitazone (Avandia) : myocardial infarct &
heart failure
ยาหลอดเลือดและหัวใจ
– Amiodarone (Cordarone) : fatal lung & liver
toxicity
– Clopidogel (Plavix) : GI bleeding
– Verapamil (Covera HS) : heart failure & bleeding
ยาAlzheimer & Parkinson
– Galantamine (Reminyl) : heart attack & stroke
– Pergolide (Permax) : heart valve damage
ยาระบบจิตประสาท
– Promethazine (Phenergan) : respiratory
depression
– Antidepressant : suicide risk
– Attention Deficit Drugs : hypertension,
tachycardia and death
– Nefazodone (Serzone) : fatal liver toxicity
ยาลดไขมัน
– Rosuvastatin (Crestor) : rhabdomyolysis & kidney
damage
ยาปวดข้ อ
– Celecoxib (Celebrex) : myocardial infarct & stroke
– Leflunomide (Arava) : fatal interstitial pneumonia &
liver toxicity
ยามะเร็ง
– Imantinib (Gleevec) : heart cell death & heart failure
– Doxorubicin : heart damage
– Iressa : fatal interstitial pneumonia
"นา้ เดอะสตาร์ "สิ้นลมแล้ว!
“ตอนแรกที่ให้คีโม เขาก็ยงั อาการปกติ
เพราะคีโมยังไม่ออกฤทธิ์ พอคีโมเริ่ ม
ออกฤทธิ์ ก็ไปฆ่าทั้งเซลล์ดีและไม่ดี ทา
ให้ภาวะเชื้อแทรกซ้อน และทาให้เชื้อติด
กระแสเลือดที่รุนแรงมาก ตับทางานไม่
เต็มที่ ภูมิตา้ นทานก็ต่า ร่ างกายก็สูไ้ ม่ไหว
อาการเขาก็ค่อยๆ แย่ไปทุกทีๆ ตอนนี้เขา
ก็ทรมานมากที่ได้ยาคีโม”
ผลข้ างเคียงของChemotherapy
ข้ อมูลจากNational Institute of Health (NIH) 2001
พบว่ า 42%ของสารก่ อมะเร็งมาจากยาแผนปัจจุบัน
ปัญหาเรื่องโรคเรื้อรัง&
มะเร็ง
ปัญหาเรื่องอันตรายจากยา
การแพทย์ ทางเลือก
Alternative Medicine
คือทางออกของปัญหา
Alternative Medicine Classification
National Institute of Health (NIH) แบ่งเป็ น5กลุ่ม
1. Alternative Medical System: oriental
medicine (acupuncture, herbal med),
ayurveda, homeopathy
2. Biological Based Practices: vitamin or herbal
supplement
3. Manipulative & Body Based Therapies:
chiropractice, massage
4. Mind-Body Interventions: meditation, yoga
5. Energy Therapies: qigong, reiki
ข้ อแตกต่ างระหว่ างการแพทย์ แผนปั จจุบันและ
การแพทย์ ทางเลือก
การแพทย์ ตะวันตก
การแพทย์ ทางเลือก
มีจุดเด่นในการรักษาภาวะฉุกเฉินที่ มีจุดเด่นในการรักษาโรคเรื้ อรัง
เร่ งด่วนและการบาดเจ็บ
เน้นการรักษาที่ตน้ เหตุและเน้นการ
เน้นการรักษาอาการ
ป้ องกัน
มองเป็ นองค์รวม (holistic)
เจาะจงเฉพาะอวัยวะ
เน้นการรักษาที่ค่อยเป็ นค่อยไป
เน้นการรักษาที่รวดเร็ วและเฉียบขาด เพื่อให้ร่างกายปรับคืนสู่สมดุล
การแพทย์ ตะวันตก
วิธีการรักษาหลักประกอบด้วย ยา
สารเคมี การผ่าตัด เคมีบาบัด การ
ฉายรังสี
มองร่ างกายเป็ นระบบกลไก และ
เชื่อว่าความผิดปกติส่วนใหญ่เกิด
จากความไม่สมดุลทางเคมี จึง
เหมาะที่จะรักษาด้วยยาสารเคมี
การแพทย์ ทางเลือก
รักษาด้วยตัวยาจากธรรมชาติซ่ ึ ง
ผ่านการใช้มาเป็ นเวลายาวนาน
รวมทั้งหัตถการที่นุ่มนวล
มองร่ างกายประกอบด้วยพลัง
ปราณซึ่งเป็ นพลังชีวิตที่วิ่งเป็ น
โครงข่ายทัว่ ร่ างกาย ความไม่
สมดุลหรื อการอุดตันของพลัง
นาไปสู่การเกิดโรค การปรับความ
สมดุลให้กบั พลังปราณเป็ น
เป้ าหมายของการรักษา
ภาพรวมของการแพทย์ ทางเลือกในต่ างประเทศ
นักวิจยั จาก Harvard Medical School รายงานว่า
ความนิยมการแพทย์ทางเลือกในอเมริ การะหว่างปี 1990 ถึง
1997 เพิม่ สูงขึ้นถึง 47.3 %
ในปี 1997 ประชาชนไปรับการรักษาด้วยการแพทย์
ทางเลือกถึง 629 ล้านครั้งซึ่ งสูงกว่าการไปพบแพทย์เสียอีก
การศึกษาในปี 2005 พบว่า มากกว่า70%ของชาว
อเมริ กนั ที่มีอายุ50ปี ขึ้นไปมีการใช้การแพทย์ทางเลือกเช่น ยา
สมุนไพร การฝึ กสมาธิ ไคโรแพรคติก
หลักสูตรการแพทย์ ทางเลือกในต่ างประเทศ
ในปี 1998 มีรายงานว่าโรงเรี ยนแพทย์ในแคนาดา13แห่ง
จาก 16 แห่ง (81%) บรรจุการแพทย์ทางเลือกไว้ในหลักสู ตร
(http://www.cfpc.ca/cfp/2004/Jun/vol50-jun-editorials-2.asp)
ระหว่างปี 1998-2003 ได้มีการพัฒนาหลักสูตรการแพทย์
ทางเลือกในโรงเรี ยนแพทย์ที่อเมริ กาและอังกฤษ เช่น ที่
Harvard ตั้งDivision for Research and Education in
Complementary and Integrative Therapies ในปี 2000
ความปลอดภัย
ของ
ยาสมุนไพร
Acute Toxicity Test
Cytotoxicity Test
Microbial Limit
ผลการตรวจ liver function test
ผูป้ ่ วยมะเร็ งตับอายุ78ปี ที่ได้รับยาสมุนไพร5ขนานเป็ นเวลา12เดือน
6เดือนหลังการรักษา 12เดือนหลังการรักษา
21
31
SGPT
13
19
(5.00-35.00 U/L)
Alkaline
Phosphatase
57
68
SGOT
(5.00-40.00 U/L)
(35.00-125.00)
Principle of Herbal Medicine Formulation
ทฤษฎีการตัง้ ตารับยาสมุนไพร
ยาหัวหน้ า Leader Group : provide major action
ยาช่ วยฤทธิ์ Assistant Group : provide supporting
action
ยาคุมพิษ Detoxified Group : control any possible
toxicity
ยานาทาง Carrier Group : provide target along
meridian channels
เภสัชวิทยาของการแพทย์ แผนจีน
สมุนไพร5สี 5รส
สี
รส อวัยวะเป้าหมาย ธาตุ
เขียว เปรี ย้ ว
ตับ
ไม้
น ้ำตำล
ขม
เหลือง หวำน
หัวใจ
ไฟ
ม้ ำม
ดิน
ขำว
เผ็ด
ปอด
ทอง
ดำ
เค็ม
ไต
น ้ำ
เภสัชวิทยาของการแพทย์ แผนไทย
ยา9รส
รสฝาดชอบสมาน
รสหวานซึมซาบเนื้อ
รสเมาเบื่อนั้นแก้พิษ
ดีโลหิ ตชอบรสขม
โรคทางลมชอบเผ็ดร้อน
เส้นเอ็นอ่อนชอบรสมัน
หอมเย็นนั้นหัวใจชอบ
ส่ วนเค็มมอบให้ผวิ หนัง
อีกเสมหังชอบรสเปรี้ ยว
แนวคิดใหม่ ของการใช้ ยาสมุนไพร
กับการรักษาโรคในปั จจุบัน
การวิเคราะห์ สาเหตุของโรคทีแ่ ท้ จริง
อาศัยองค์ ความรู้ เรื่องพลังปราณผสานกับความรู้ ของการแพทย์
แผนปัจจุบันในระดับmolecular biology
วงจรชีวติ ของเซล(Cell Cycle)ซึ่งสั มพันธ์ กบั การเกิดมะเร็ง
ระยะG1 และ G2 มีการ
สร้ างproteinและRNA
ระยะS มีการสร้ างDNA
ระยะM เป็ นช่ วงเวลาที่มี
การแบ่ งตัว
Cell Cycle
การสร้ างโปรตีนที่ผิดปกติ
คือสาเหตุหลักของการ
สร้ างเซลที่ผิดปกติ
คุณประโยชน์ ของพืชทีม่ ผี ลต่ อวงจรชีวติ ของเซล
ACE Inhibitor Activity Test
การแพทย์ แผนตะวันออก
Oriental Medicine
เรื่องพลังปราณคือหัวใจสาคัญ
ตามหลักสรีรวิทยา
การตรวจวินิจฉัยโรค
ตามหลักการแพทย์ ตะวันออก
การตรวจชีพจรตามหลักพลังปราณชั้นสู ง
มือซ้ าย
วาตะ ปิ ตตะ เสมหะ
จุดที่
ไตรธาตุ
อวัยวะทีเ่ กีย่ วข้ อง
1
วาตะ
หัวใจ เยือ่ หุ้มหัวใจ มดลูก
2
ปิ ตตะ
ตับ ลาไส้ เล็ก สมอง ถุงนา้ ดี
3
เสมหะ
ไต ต่ อมหมวกไต
วาตะ ปิ ตตะ เสมหะ ในการตรวจชีพจรเพือ่ การวินิจฉัยโรค
โดยจะเกีย่ วข้ องกับระบบการไหลเวียนของพลังปราณ14เส้ น
เสมหะ ปิ ตตะ วาตะ
มือขวา
จุดที่ ไตรธาตุ
อวัยวะทีเ่ กีย่ วข้ อง
1
เสมหะ ปอด หลอดลม เส้ นเอ็นกล้ามเนือ้ หน้ าอก
2
ปิ ตตะ ตับอ่อน ม้ าม กระเพาะอาหาร ลาไส้ ใหญ่ เส้ นเอ็นกล้ามเนือ้ กลางลาตัว
3
วาตะ
ไต ต่ อมหมวกไต เส้ นเอ็นกล้ามเนือ้ ตั้งแต่ ช่วงบั้นเอวลงไป
การวัดพลังปราณเครื่อง electromeridian imaging (EMI)
การแพทย์แผนไทย วิชาเวชกรรม
พลังปราณจักระไทย14เส้นซึ่งเป็ นหลัก
สรี ระวิทยาทางการแพทย์ (แต่เป็ นองค์ความรู ้
ที่ขาดหายไปของแพทย์แผนไทยในปัจจุบนั )
ไตรธาตุ (วาตะ ปิ ตตะ เสมหะ)
อาพาธ5ประการ
( ดี ลม เลือด เสมหะ กาเดา )
ธาตุ(รู ป)สมุฏฐาน & มหาภูตรู ป4
อายุสมุฏฐาน
ฤดูสมุฏฐาน
กาลสมุฏฐาน
ประเทศสมุฏฐาน
โหราศาสตร์ในวิชาแพทย์
การตรวจประตูลมที่ขอ้ มือ หน้าท้อง
การนวด อบ ประคบ ด้วยหลักพลังปราณจักระ
การแพทย์แผนจีน วิชาเวชกรรม
พลังปราณจักระจีนซึ่งเป็ นหลักสรี ระวิทยา
ทางการแพทย์
(12เส้นหลัก 15เส้นย่อย 8เส้นพิเศษ)
หลักวิชา5ธาตุ
ระบบหยินหยาง
หลักอาพาธหรื อสาเหตุความเจ็บป่ วย 8
ประการ (พลังปราณ ลม อ่อนแอ เลือด
กาเดา ชื้น เย็น ร้อน)
การตรวจชีพจร27แบบของ
LiShiZhen (李时珍)
และการเชื่อมโยงกับทฤษฎีต่างๆข้างต้น
การกระตุน้ จุดจักระเพื่อปรับสมดุล พลัง
ปราณด้วยวิธีMoxibustion
การตั้งตารับยาตามหลักของ
Shennong Materia
Medica
การแพทย์แผนอินเดีย วิชาเวชกรรม
ไตรธาตุ (วาตะ ปิ ตตะ เสมหะ)
ปัญจธาตุ (ดิน น้ า ลม ไฟ
อากาศ)
พลังปราณจักระอินเดีย
(14 เส้นกับ6จักระ)
การตรวจชีพจรหรื อกูรูนาดี
อจ.สุ รพรรณ ศิริธรรมวานิช
ศึกษาภาษาจีนโบราณและ
การแพทย์แผนจีนตั้งแต่อายุ17ปี
ศึกษาการแพทย์แผนไทยจากหมอ
โบราณหลายคนรวมถึงพระธุดงค์หลาย
องค์ และได้เข้าป่ าสารวจสมุนไพรมา
ตลอดเวลาหลายสิ บปี
ศึกษาภาษาอังกฤษด้วยตนเอง โดยเรี ยน
จากวิทยุบีบีซีอยูถ่ ึง5ปี เพื่อศึกษาความรู ้
การแพทย์ตะวันตก
ได้รับการแต่งตั้งเป็ นที่ปรึ กษารัฐมนตรี สาธารณสุ ขถึง2สมัย
ในปี 2540-2541
ได้รับเชิญเป็ นอาจารย์ประจาคณะการแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิ ต
ตั้งแต่ปีพ.ศ.2547
ได้รับปริ ญญาโทมหาบัณฑิตจากม.ราชภัฏจอมบึง จ.ราชบุรีเมื่อปี
พ.ศ.2548
เป็ นอาจารย์พิเศษในหลักสูตรปริ ญญาเอกของภาควิชาเภสัชวินิจฉัย
คณะเภสัช ม.มหิ ดล
เป็ นอาจารย์พิเศษให้กบั นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สถาบันแพทย์
แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิ ต
แนวคิดในการรักษาโรคของอจ.สุ รพรรณ
ยึดหลักpathophysiologyของการแพทย์ตะวันตกในระดับ
molecular biology ผสมผสานกับความรู ้ของการแพทย์
ตะวันออกในระดับพลังปราณ เพื่อนามาใช้รักษาโรคเรื้ อรังและโรคที่
เป็ นปัญหาสาหรับการแพทย์ตะวันตก
รักษาด้วยตารับยาสมุนไพรตามหลักการตั้งตารับยาที่ประกอบไปด้วย
– ยาหัวหน้า
– ยาช่วยฤทธิ์
– ยาคุมพิษ
– ยานาทาง
โรคที่ประสพความสาเร็ จสูงในการรักษา
โรคความดันโลหิ ตสูงและหลอดเลือด
โรคเก๊าท์และโรคข้อต่างๆ
โรคมะเร็ ง
โรคเอดส์
โรคภูมิแพ้
ฯลฯ