การจัดทาแผนกลยุทธ์ วรรณา เต็มสิริพจน์ การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง การพัฒนานักบริหารตามยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา Gussan Khuntan Golf & Resort ลาพูน วันที่ 23 กรกฎาคม 2550

Download Report

Transcript การจัดทาแผนกลยุทธ์ วรรณา เต็มสิริพจน์ การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง การพัฒนานักบริหารตามยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา Gussan Khuntan Golf & Resort ลาพูน วันที่ 23 กรกฎาคม 2550

การจัดทาแผนกลยุทธ์
วรรณา เต็มสิริพจน์
การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง การพัฒนานักบริหารตามยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
Gussan Khuntan Golf & Resort ลาพูน
วันที่ 23 กรกฎาคม 2550
สาระการนาเสนอ
• พัฒนาการอุดมศึกษาไทยและการจัดทาแผนอุดมศึกษา
ระยะยาว ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2550-2564)
• ประสบการณ์การจัดทาแผนพัฒนามหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีระยะยาว (KMUTT
Roadmap 2020) และการนาแผนฯ ไปสู่การปฏิบตั ิ (แผน
กลยุทธ์ 5 ปี พ.ศ. 2550-2554)
สถิตอิ ุดมศึกษาไทย
•
•
•
•
•
•
จานวนสถาบัน รัฐ (78) เอกชน (67) วิทยาลัยชุ มชน (18)
นักศึกษาใหม่ 2549 รัฐ (535,120) เอกชน (104,015)
นักศึกษาทั้งหมด 2549 รัฐ (1,845,633) เอกชน (276,723)
ผู้สาเร็จการศึกษา 2548 รัฐ (290,099) เอกชน (53,816)
นักศึกษาจาแนกตามสาขาหลัก
นักศึกษาทั้งหมด (2549)
นักศึกษาเข้ าใหม่ (2549)
- สั งคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ 76.4% - สั งคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ 73%
- วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 20%
- วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 23.9%
- วิทยาศาสตร์ สุขภาพ 3.5%
- วิทยาศาสตร์ สุขภาพ 3.1%
สถิตอิ ุดมศึกษาไทย
•
•
•
•
•
อาจารย์ ม.รัฐ (44,385) เอกชน (12,737)
อาจารย์ ม.รัฐเดิม (27,246) ราชภัฏ (10,021) ราชมงคล (7,118)
อาจารย์ ม.รัฐ ตรี (15%) โท (60%) เอก (25%)
อาจารย์ ม.เอกชน ตรี (18%) โท(63%) เอก (20%)
อาจารย์ วิทยาลัยชุ มชน อาจารย์ ประจา (135) อ. พิเศษ (1,095)
• จานวนอาจารย์ เกษียณ 2550-2564 (รวมทั้งหมด 16,641 ปี ละ ~ 1000 )
– ม.รัฐเดิม 8,899 (ปี ละ ~ 500-600)
– ราชภัฏ 3,702 (ปี 50-54 ปี ละ ~ 300 กว่ า, ปี 55-64 ปี ละ ~ 200)
– ราชมงคล 2,338 (ปี ละ ~ 100-200)
– เอกชน 1,702 (ปี 50-57 ปี ละ ~ 60, ปี 58-64 ปี ละ ~ 100)
ความเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากร
ของประเทศไทย
วัยทางาน
วัยเด็ก
วัยสูงอายุ
ความเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากรของ
ภาคเหนือ
วัยทางาน
วัยเด็ก
วัยสูงอาย ุ
ความเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากรของ
จังหวัดเชียงใหม่
วัยทางาน
วัยเด็ก
วัยสูงอาย ุ
ความเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากรของ
จังหวัดน่าน
วัยทางาน
วัยเด็ก
วัยสูงอาย ุ
ความเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากรของ
จังหวัดลาปาง
วัยทางาน
วัยเด็ก
วัยสูงอาย ุ
ความเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากรของ
จังหวัดเชียงราย
วัยทางาน
วัยเด็ก
วัยสูงอาย ุ
ความเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากรของ
จังหวัดตาก
วัยทางาน
วัยเด็ก
วัยสูงอาย ุ
ความเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากรของ
จังหวัดพิษณุโลก
วัยทางาน
วัยเด็ก
วัยสูงอาย ุ
ปัจจัยสถานการณ์โลกที่อาจส่งผลกระทบต่ออุดมศึกษา
• การเปิ ดเสรี ทางการค้า พหุภาคี ทวิภาคี
• การรวมตัวของกลุ่มประเทศเพื่อเศรษฐกิจ สังคม ความมัน่ คง
การเมือง (ASEAN, AFTA, APEC, GMS, BIMSTEC, IMT Growth
Triangle, ACMECS)
• ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี: สารสนเทศและการสื่ อสาร ชีวภาพ
และพันธุกรรม นาโน
• ความขัดแย้งทางการเมือง การทหาร
• การปกป้ องผลประโยชน์ทางทรัพย์สินทางปัญญา
• อิทธิพลของประเทศ จีน อินเดีย
ASEAN Outlook 2006
Country
Brunei Darussalam
Population
('000)
GDP (US$m)
GDP per
capita
(US$)
Total
trade
(US$m)
383
11,846
30,929
6,797
13,996
6,105
436
4,749
222,051
364,288
1,641
182,357
6,135
3,527
575
678
Malaysia
26,686
149,729
5,611
292,969
Myanmar
57,289
11,951
209
5,630
The Philippines
86,910
117,132
1,348
98,560
4,484
132,273
29,500
510,104
Thailand
65,233
206,552
3,166
256,797
Viet Nam
84,222
60,965
724
84,015
Cambodia
Indonesia
Lao PDR
Singapore
ASEAN Population 2006
Total 567,390 million
8.57% of world pop.
Population ('000)
250,000
200,000
150,000
100,000
50,000
Br
un
ei
D
ar
us
sa
la
m
Ca
m
bo
di
a
In
do
ne
sia
La
o
PD
R
M
al
ay
sia
M
ya
nm
Th
ar
e
1/
Ph
ilip
pi
ne
s
Si
ng
ap
or
e
Th
ai
la
nd
Vi
et
Na
m
0
The Bologna Accord
• Create a system of comparable and
understandable degrees throughout EU
• Establish a clear and standard division
between UG and G studies
• Promote student mobility among different fields
of study, institutions, & nations
• Develop a QA process and governing body to
ensure standard qualifications & quality
throughout participating countries
• Define a European focus for higher education
The Chindia Century
World Population 6,671,266,000
China
1,318,818,000
India
1,169,016,000
USA
302,132,000
Indonesia
231,627,000
Brazil
186,800,000
Here Come
Chinese Cars
(19.77%)
(17.52%)
(4.53%)
(3.47%)
(2.80%)
ความขัดแย้ งทางการเมืองการทหาร
"International Terrorist Incidents, 2001" by the US Department of State
การอุดมศึกษาสาหรับเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะภาคใต้
สามจังหวัดภาคใต้และสีอ่ าเภอ(เทพา สะบ้าย้อย นาทวี จะนะ) ของ
จังหวัดสงขลา (เขตพัฒนาเฉพาะภาคใต้จะรวมสตูลและสงขลา)
หกมหาวิทยาลัยรัฐ (ม.สงขลานครินทร์หาดใหญ่และปตั ตานี ม.ทักษิณ
มทร.ศรีวชิ ยั มรภ.สงขลา มรภ.ยะลา ม.นราธิวาส) สามมหาวิทยาลัยเอกชน
(ม.หาดใหญ่ ว.อิสลามยะลา ว.พระพุทธศาสนานานาชาติ) สีว่ ทิ ยาลัยชุมชน
(ปตั ตานี ยะลา นราธิวาส สตูล)
ทาความเข้าใจบทบาทของทหาร ศอบต. อุดมศึกษา
ขอความร่วมมือจากทีป่ ระชุมอธิการบดี ให้ถอื ว่าเป็ นหน้าทีข่ องทุก
สถาบันอุดมศึกษาและทุกคนช่วยกัน
สาหรับเขตพัฒนาเฉพาะภาคใต้
: สร้างความสมานฉันท์
: สร้างความเข้าใจแก่เด็กและเยาวชน
: ให้โอกาสแก่เด็กและเยาวชนด้านอุดมศึกษา
โควตา พร้ อมทุนการศึกษา และการสร้ างความพร้ อม
•ติดต่ อ ม/ส เพือ่ สร้ างความเข้ าใจ ให้ ข้อมูล
•สร้ างเวทีติดต่ อระหว่ างม/ส ในพืน้ ที่ และส่ วนอืน่
One stop service
•เป็ นแหล่ งฐานข้ อมูล
•ทิศทางกยศ. กรอ.
สันติศึกษา
อุดมศึกษาภาคใต้
การส่ งเสริม mobility สองทาง
•ให้ มีการแลกเปลีย่ นนักศึกษา (เป็ นบางส่ วน
ของวิชา ของหลักสู ตร ระหว่ างม/สใน
พืน้ ที่ และม/สทัว่ ประเทศ)
•เพิม่ กิจกรรมเด็กเยาวชน นิสิตนักศึกษาที่
เสริม mobility สองทิศทาง
•การแลกเปลีย่ นอาจารย์ และบุคลากร
การพัฒนาและการผลิตครู
•วางแผนร่ วมกันระหว่ างผู้พฒ
ั นา
และผลิต(สกอ.) และผู้ใช้ (สพฐ.
สช./สป. แผนยาว 15 ปี
แผนพัฒนา 5 ปี
งบประมาณ 2551
ปรับแผน 2550
วิทยาลัยชุ มชนและโปรแกรมจรยุทธ์
•รับผู้จบการศึกษาอนุปริญญา จาก
วิทยาลัยชุ มชน มาเรียนต่ อ
•สนับสนุนการทางานของวิทยาลัย
ชุ มชน (หลักสู ตรอนุปริญญา ฝึ ก
อาชีพ)
•พัฒนาอาจารย์ วิทยาลัยชุ มชน
(สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา)
Global Trends in Higher Education
Teaching & Learning Active Recruitment Research Excellence
Networking &
Partnership
Internationalization
Diversity
Social Services &
Life Long Learning
Human-focus
Modern Management
บริบทการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในประเทศที่เปลี่ยนไป
• การกระจายอานาจผ่านกลไกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
• เป้ าหมายโครงสร้างพืน้ ฐานทางปัญญา (Intellectual
Infrastructure)
• การเคลื่อนตัวของสังคมการเกษตร/อุตสาหกรรม/บริการ/
ฐานความรู้ (knowledge worker)
• ผลกระทบการใช้พลังงานและสิ่งแวดล้อมของประเทศ (มทร
ช่วยเหลืออย่างไรเช่น global warning … )
• บทบาทของเศรษฐกิจพอเพียงต่อการพัฒนาประเทศ
• (Positioning RMUTL ชัดเจนได้อย่างไร)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับโจทย์อดุ มศึกษา
• กากับโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
• อบต. 7,800 แห่ง หมู่บา้ น 70,000 แห่ง
• ศูนย์พฒ
ั นาเด็กก่อนวัยเรียน 17,000 แห่ง เด็กหนึ่ งล้านคน ผูด้ แู ล
เด็ก 30,000 คน (95% อยู่นอกเมือง)
• โรงเรียนเทศบาล > 600 แห่ง
• โรงเรียนตชด. 200 แห่ง
• โรงเรียนอาชีวะ
• โรงเรียนกีฬา
*ตัวเลขโดยประมาณ
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาอุตสาหกรรม กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
• พืน้ ที่ 17 จังหวัด 106 ล้านไร่
• ประชากรรวม 12.12 ล้านคน (20%ของประเทศ)
• โครงสร้างเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมรายภาค
(GRP) 9% ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมทั้งประเทศ
สาขาการผลิตที่สาคัญ อุตสาหกรรมเกษตร การค้ า
ปลีก ค้ าส่ ง และบริการ
• การจ้างงาน (ปี 48 ส. สถิตแิ ห่งชาติ) แรงงาน
รวม 6.6 ล้านคน เป็ นผูม้ งี านทา 6.5 ล้านคน
• จังหวัดทีม่ ผี ลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP)
สูงสุด คือ เชียงใหม่ (49,515 ลบ) ต่าสุดคือ
แม่ฮอ่ งสอน (4,010 ลบ)
• รายได้ประชากรเฉลีย่ ต่อหัว 52,860 บาท จังหวัด
สูงสุด ลาพูน 138,164 บาท ต่าสุด แม่ฮอ่ งสอน
34,571 บาท
• ภาคเหนือตอนบน เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลาพูน ลาปาง พะเยา แพร่ น่าน และตาก
• ภาคเหนือตอนล่าง พิษณุโลก อุตรดิตถ์ สุโขทัย กาแพงเพชร พิจติ ร นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ และอุทยั ธานี
ทีม่ า สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ธค. 2549
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัดภาคเหนื อ
ภาคเหนื อตอนบน : อุตสาหกรรมเป้ าหมาย
• เกษตรแปรรูป (อาหาร และอาหารสัตว์)
• แฟชัน่ (สิง่ ทอและและเครือ่ งนุ่งห่ม อัญมณีและเครือ่ งประดับ เครือ่ งหนัง)
• เซรามิกส์
• เหมืองแร่
• ICT
• เครือ่ งไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
• ยาและเครือ่ งสาอางจากสมุนไพร
• OTOP
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัดภาคเหนื อ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ภาคเหนื อตอนล่างกลุ่ม 1 (พิษณุโลก สุโขทัย ตาก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์) :
อุตสาหกรรมเป้ าหมาย
เกษตรแปรรูป
เครือ่ งจักรกลการเกษตร
สิง่ ทอและเครือ่ งนุ่งห่ม
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
พลังงาน (เอทานอล หรือ ไบโอดีเซล)
อัญมณีและเครือ่ งประดับ
วัสดุก่อสร้าง
ยานยนต์และชิน้ ส่วน
อุตสาหกรรมทีต่ ่อเนื่องกับการท่องเทีย่ วและการบริการ
OTOP (มทร ล้านนามี core capability ใน issues เหล่านี้อย่างไร)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัดภาคเหนื อ
•
•
•
•
•
•
•
•
ภาคเหนื อตอนล่างกลุ่ม 2 (นครสวรรค์ กาแพงเพชร อุทยั ธานี
พิจิตร) :อุตสาหกรรมเป้ าหมาย
เกษตรแปรรูป (แปรรูปข้าว)
เครือ่ งจักรกลการเกษตร
อุตสาหกรรมอาหาร
อุตสาหกรรมเอทานอล
ไม้และเครือ่ งเรือน
สิง่ ทอ (ตัดเย็บเสือ้ ผ้า)
เหมืองแร่
OTOP
ประเด็นสาคัญ
การเมือง
ธรรมาภิบาล
พัฒนาอาจารย์
พัฒนาระบบ
ทักษะอาชีพ
การเงินและงบประมาณ
การพัฒนาบุคลากรอุดมศึกษา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
จัดกลุ่มมหาวิทยาลัย
ทดแทนอัตราเกษียณเชิงยุทธศาสตร์
ร่ วมมือกับภาคอุตสาหกรรมและภาควิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
Life cycle ของนักเรี ยนทุนไปถึงอาจารย์อาวุโสมหาวิทยาลัย
ตั้งเป้ าคุณวุฒิอาจารย์
สร้างกลไกความรับผิดชอบของอาจารย์ประจา/ไม่ประจา
เน้นหน้าที่หลักของอาจารย์ โดยมีจรรยาบรรณกากับ
พัฒนาความสามารถอาจารย์ รวมถึงสภาพแวดล้อมการทางาน
จัดตั้งสถาบันพัฒนาบุคลากรอุดมศึกษา
กรอบอัตรากาลังเพิม่ ใหม่ ของมหาวิทยาลัยใหม่
มหาวิทยาลัย
อาจารย์
สายสนับสนุน
รวม
ม. ราชภัฏ
7,807
5,271
13,078
มทร.
2,849
2,184
5,033
ส.ปทุมวัน
60
53
113
ม. นราธิวาส
132
62
194
ม. นครพนม
270
175
445
11,118
7,745
18,863
รวม
Five domains of Learning
1.ความรู้ ความเข้ าใจ
2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา
3. การพัฒนาคุณธรรมจริ ยธรรม
4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ
5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่ อสาร
การเตรี ยม
ความเป็ นครู
การแนะแนวอาชีพ
โปรแกรมการศึกษา
และสถานศึกษา
โควตา
ระบบ
Admission
O Net
A Net
มัธยมปลาย
ทุน
การเริ่มสร้ าง
ความเข้ าใจ
ในมิตวิ ชิ าชีพ
การพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบ
ความสามารถ
บริ หารจัดการ
การพัฒนา เบื้องต้น
ความเป็ นครู
ความสามารถบริ หาร
จัดการช่วงกลาง
(นบม. นบข.)
Brain
Thrust
Mentoring
(10 ปี )
การพัฒนา
นักวิจยั รุ่ นกลาง
การเพิ่มสมรรถนะ
ทางวิชาชีพและ
การเริ่ มขัดเกลา
ครู อาวุโส
การจั
ด
การระดั
บ
ทางสังคม
นักวิจัยอาวุโส
กลาง
/
สู
ง
การเพิ่มความเข้าใจ
ผู้บริหาร
(Shadowing,
ในวิชาชีพ (Work
Sabbatical)
อาวุโส
Attachment)
การขัดเกลาทางสังคม นักวิชาชีพ
โดยประชาอาสา
อาวุโส
และบริ การสังคม
การพัฒนา
นักวิจัยรุ่นใหม่
ครู นักวิจยั
ผู้บริหาร นักวิชาชีพ
รุ่นกลาง
ช่ วงบ่ มเพาะ - Early career
ช่ วงเรียนอุดมศึกษา development ( 5-10 ปี ) ช่ วงเก็บเกีย่ ว (20 + ปี )
ชีวิตนิสิตนักศึกษาไทย
มิตสิ อ่ื การเรียนรู้
-91% มีโทรศัพท์มอื ถือ
-23% ส่ง sms ทุกวัน
-16% โหลดภาพเพลงทุกวัน
-34% เล่นเกมคอมพิวเตอร์/เกม ออนไลน์
เป็ นประจา
- พูดโทรศัพท์ 74 นาทีต่อวัน ดูทวี ี 154 นาที
ต่อวัน
- 56%เข้าเน็ตทุกวันเฉลีย่ วันละ 105นาที
- 39% ดู VCD โป๊
- 27% ดูเว็ปโป๊
- 30% ดูการ์ตนู โป๊
- อ่านหนังสือ 81 นาทีต่อวัน ทาการบ้าน/
รายงาน 86 นาทีต่อวัน
- 35% โดดเรียนอย่างน้อย 1 ครัง้ ต่อสัปดาห์
-9% เรียนพิเศษ เสียค่าใช้จา่ ยเฉลีย่ คอร์สละ
2,000 บาท
มิตปิ ญั หา/ภาวะเสีย่ ง
- 18% เคยพบเป็ นการเสพติดในสถานศึกษาใน
รอบ 1 ปีทผ่ี า่ นมา
-6% เคยถูกขูก่ รรโชกทรัพย์
- 9% เคยถูกทาร้ายร่างกายในสถานศึกษาใน
รอบ 1 ปีทผ่ี า่ นมา
- 2% ออกกลางคืน
- 3% ย้ายสถานศึกษา
- เยาวชนต่ากว่า 25 ปีก่อคดีอาชญากรรม
32,000 คดีต่อปี
- วัยรุน่ ต่ากว่า 19 ปีมาทาคลอดปีละ 70,000
คน
- เยาวชนต่ากว่า 25 ปีเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุ
มอเตอร์ไซค์ปีละ 7,000 คน
- เยาวชน 19-25 ปี พยายามฆ่าตัวตายปีละ
4,000 คน
ปัจเจกชนในอนาคต
Industrial
Post-industrial
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Lifelong career
Long-term loyalty
Occupational identity
Work-study consistency
Org membership
Stable employment
Escalating salaries
Upward mobility
Foreseeable retirement
Constant networks
Stable relations
Security, certainty
Multiple careers
Multiple jobs
Blurred identity
Work-study mismatch
Possible free-lancing
Frequent off-jobs
Precarious incomes
Fluctuating status
Unpredictable future
Varying networks
Changing partners
Insecurity, uncertainty
คุณสมบัตทิ พี่ งึ ประสงค์
Industrial
Post-industrial
• Special skills
• Planning &
implementation
• Navigating the
bureaucracy
• Following the heritage
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Communications
Team-working
Human relations
Problem-solving
Risk-taking
Design & innovations
Personal responsibility
Continuous learning
Self-management
Ethics, values, principles
Vertical
Disciplines
Social Capacity
Creativity
Practical Capacity
Theoretical Knowledge
Baseline
Competence
New Production of Knowledge
Mode 1
Mode 2 (prob solving + applicable)
- ศาสตร์เดียว (Single disciplinary) - สหวิทยาการ
-ความเป็ นหนึ่ งเดียว (Homogeneity) (Trans/inter/multidisciplinary)
- ความหลากหลาย (Heterogeneity)
-ลาดับชัน้ (Hierarchy)
- แนวราบ (Heterarchy)
- การควบคุมคุณภาพด้วยระบบ
peers
- การควบคุมคุณภาพเกี่ยวกับ ความ
รับผิดชอบทางสังคมและเกี่ยวข้องกับ
หลายกลุ่มชุมชนมากขึน้
ทีม่ า Gibbons และคณะ 1994 “The New Production of Knowledge : The Dynamic of Science and
Research in the Contemporary Societies”
ทักษะ และ อาชีพ
• ผลิตบัณฑิตโดยมีเป้ าหมายการอาชีพ (มทร ล ตกงาน?)
• มุ่งสู่สมดุลของอุปสงค์และอุปทาน
• ใช้กลไกการเงินขับเคลื่อนนโยบายการผลิตบัณฑิตเพื่อ
–
–
–
–
รองรับอาชีพในตลาดแรงงาน
ลดภาวการณ์ ตกงานในสาขาที่ไม่มีความต้องการ
จ้างเรียนในสาขาที่สงั คมต้องการ
ผูเ้ รียนในสาขาที่ตลาดต้องการช่วยรับภาระการเงินมากขึน้
• ความรู้ค่ทู กั ษะ การยกระดับตลาดแรงงาน
– (take this pg into future curriculum productives) SC TC focus
each campus clearly)
การเงินอุดมศึกษา
• จัดสรรตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย
• Financial Autonomy บนพืน้ ฐานของ
– การลดภาระด้านงบประมาณของรัฐ
– การเพิ่มทรัพยากรอุดมศึกษา
• Sources & Diversification of Funds (รัฐ ผูเ้ รียน ความรู้ บริการ
วิชาการ พาณิชย์ บริจาค ศิษย์เก่าฯ)
• Allocation of Funds เพื่อรองรับการผลิตบัณฑิตตามความ
ต้องการของสังคม (Social demand) และของตลาด (Market
demand) (เงินบริจาคจากศิษย์เก่า?)
• Uses of Funds (เพื่อประสิทธิภาพ ตามพันธกิจและภารกิจ)
Resources for Higher Education (strategic investment
– RMUTL?)
• Government sources:
–
–
–
–
Appropriation
Projects
Student subsidies
Land and capital grants
• Learners’ Fees
• Other private sources:
– Private foundations projects
– Private donations
– Corporate donations
• Institutional income
– Investments
– Commercial activities
A different paradigm
• Pure public funding
– No money, no plan
– Budget cut,
activity reduction
– Look for small money
– Ask for money when
poor
– Funding is the limit
– Doing what we did
– Advancement
– Appropriation
• Advancement
– No vision, no
money
– Great vision,
big money
– Look for big money
– Ask for money when
strong
– Sky is the limit
– Scaling new plans
– Steady progress
– Partnership
ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการ
• ระบบอุดมศึกษา
– ประเมินและวางหลักเกณฑ์การดาเนินงานของ กกอ.ในลักษณะคณะกรรมาธิการ
(Commission) และ สกอ. ในลักษณะ (Secretariat)
• ระบบมหาวิทยาลัย คานึงถึง
– อิสระทางวิชาการ (Academic Freedom)
– การมีสว่ นร่วมของผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง (Stakeholders Participation)
– ความโปร่งใส (Transparency)
– ความรับผิดชอบ (Responsibility & Accountability)
– จริยธรรมและความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ (Ethics & Professional Code of
Conduct)
– ทบทวนโครงสร้างสภามหาวิทยาลัย การสรรหาและแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารมหาวิทยาลัย
สภามหาวิทยาลัยยุคใหม่กบั ธรรมาภิบาล
• สกอ.กระตุ้นให้สภามหาวิทยาลัยเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเข้มแข็ง
• โครงสร้าง: มีความเป็ นตัวของตัวเองมากขึน้ เป็ นสภานโยบาย จัดวาระ
ร่วมกันกับฝ่ ายบริหาร มีเลขาและสานักงานสภาขึน้ ตรงต่อนายกสภา
• องค์ประกอบ: ผูแ้ ทนมหาวิทยาลัยเท่าที่จาเป็ น ส่วนใหญ่เป็ นกรรมการ
ภายนอกที่ช่วยพัฒนามหาวิทยาลัยได้
• วิธีการทางาน: มอบอานาจให้คณะกรรมการบุคคล การเงิน audit โดยมี
แผนกลยุทธ์กากับทิศทาง และมีการรายงานผลงานเป็ นระยะ สภามี
เครื่องมือในการตรวจสอบ เช่น balanced scorecard เลขาสภาเป็ น
ตัวเชื่อม สภารับผิดชอบการแต่งตัง้ อธิการบดี
• Leadership นาโดยนายกสภาฯ สภาaccountableกับรัฐบาลและสังคม
ความต่อเนื่ องและการสนับสนุนจากการเมือง
ให้ ความรู้ กบั นักการเมือง
ทาให้ พรรคการเมือง
มีนโยบายอุดมศึกษา
ทีก่ ้ าวหน้ า
• รวมถึงการสร้ างความเข้ าใจและการมีส่วนร่ วม
ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
ภาพอุดมศึกษาไทยในอนาคต
Toward
Competitiveness
Global
Players
Toward
Social
Development
Knowledge
Workers
Real Sector
Drivers
Toward
Economic
Development
5 Domains of Learning: Academic, Creativity, Analytical &Communication,
Ethics, Responsibility & Personal Relationship
แผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาวระยะที่ 2
ทางานบนฐานข้อมูล การมีส่วนร่วม
การสั มภาษณ์ กลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ
การรวบรวมและสั งเคราะห์ งานวิจัยที่มี
การทางานวิจัยเพิม่ เติม (ข้ อมูลปริมาณ)
การระดมสมองผ่ านการประชุมโต๊ ะกลม
การรับฟังข้ อมูลความเห็นผ่ านเวทีสาธารณะ
สั งเคราะห์ ประเด็น
กาหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์
เป้ ากาหนดกรอบแผนยาว
เสนอครม.
กันยายน
ทีป่ ระชุ มอธิการบดีท้งั 5 กลุ่ม
เวทีสาธารณะ/โต๊ ะกลมจัดโดย
มหาวิทยาลัย สื่ อมวลชน
กุมภาพันธ์
ร่ วมประชุมอธิการบดี
ทุก 2 เดือน
Retreat
ที่ประชุมอธิการบดี
ทั้งสี่กลุ่ม
นักวิชาการจากมหาวิทยาลัย
คณะทางาน (Task force)
คณะอนุกรรมการกากับ (Steering)
คณะอนุกรรมการนโยบายและแผน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
Experiences from KMUTT
แผนพัฒนา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรี
พ.ศ. 2549-2563
ความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัย
• มุ่งมัน่ เป็ นมหาวิทยาลัยที่ใฝ่ เรี ยนรู ้ > University that Learns
• มุ่งสู่ความเป็ นเลิศทางเทคโนโลยีและการวิจยั > Excellent Research
University
• มุ่งธารงปณิ ธานในการสร้างบัณฑิตที่เก่งและดี > Produce Capable &
Responsible Citizens
• มุ่งสร้างชื่อเสี ยงและเกียรติภูมิให้เป็ นที่ภูมิใจของประชาคม > Highly
Regarded
• มุ่งก้าวไปสู่การเป็ นมหาวิทยาลัยชั้นนาในระดับโลก > Global Institution
Themes for Development
New Approach
To Learning
Organization
Reform
Bangmod
Clustering
S&T Core Capability
& Humanization
Good Governance
&
Internationalization
Modern Management
Bangkhuntien
Rajburi
City Campus
Design manmt
entr
Teaching & Research
Interaction Integration Innovation
Information
Incentives
Intention
Organization Reform
Administrative Structure
Engineering
Design
Architecture
Industrial
Education
Liberal Arts
Biotech
Energy &
Environment
Knowledge Structure
KMUTT
Energy
Science
Management
Faculties/Schools
Bioresource
Social
Science
GMI
FIBO
Earth
System
IT
Biomed
Engineering
Clusters
*เงื่อนไขสาคัญ: คณะ(Faculties/Schools) ไม่ซา้ ซ้อนกันในแต่ละวิทยาเขต ส่วน Clusters ต่าง ๆ เป็ นการทางานร่วมกัน
ในลักษณะเครือข่าย (Virtual Network) เพื่อใช้ทรัพยากรที่มีจากัดร่วมกันและเสริ มพลังร่วม (Synergy)
Distinctive Features of KMUTT Campuses
Bangmod
Infrastructure
• Add 1 Bldg.,20 flrs.
• Fund raising
Learning
Innovation
Niche
Function
Learning
Innovation
Eng, SC, IE,
Faculty
Art, FIBO,
Multi-Disc.Sc.
Executives
• Add 2 bldgs. &
living quarter
• provide QoL
facilities
Integration
Cluster
University
Research Park
Rajburi
City campus
• ปฐมาคาร &
residence bldg.
•1 Research
bldg.
1 Bldg. downtown
30,000 M2
Networking
Interaction
for development
Science Park
Science Learning Ctr,
Social Development
Energy+Envi, JGSEE,
Science Park,
Biotech, Earth System,
Extension Education
Bioeng+Health Sc.,
WSB&Myanma study ctr.
Food Sc., etc.
Interaction
Modern business
& Creativity
Modern Sector
IT, GMI, Design
President; Provost,
Chief Administrative
Executive
Executive
Executive
Officer
Director
Director
Director
U. Board of
Governance
Bangkhuntien
Trustees+BMD
Executive Board
Executive
Executive
Executive
Board
Board
Board
Human Resource Management
Manpower Masterplan
staff
Active Recruitment
students
interaction
Rewards & Incentives
Innovation, clustering
Career Development
researchers
Knowledge sharing
Knowledge Management
public dissemination
Financial Management
Investment
Fund Management
Risk Management
Cash & Asset Management
Endowments
(ร่ าง)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)
ความสัมพันธ์ระหว่าง Road Map 2020 กับ 6+1 Flagships
เป้ าหมายที่ 1
เป้ าหมายที่ 2
เป้ าหมายที่ 3
เป้ าหมายที่ 4
เป้ าหมายที่ 5
เป้ าหมายที่ 6
พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน
การสร้างความเป็ นเลิ ศทางด้านวิ ชาการและวิ จยั
การสร้างบัณฑิ ตและพัฒนาบุคลากรที่มีความเป็ นคนอย่างสมบูรณ์
การปรับโครงสร้างและการบริ หารจัดการ
การสร้างเครือข่ายเพื่อเพิ่ มและใช้ทรัพยากร
สร้างบรรยากาศและสิ่ งแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาความเป็ นสากล
เป้ าหมายแผนพัฒนามจธ. (พ.ศ.2550-2554)
1.พัฒนาและปรับปรุง
กระบวนการเรียนการสอน
2.การสร้างความเป็ นเลิศ
ทางด้านวิชาการและวิจยั
6.สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม
ให้เอื้อต่อการพัฒนาความเป็ นสากล
มจธ.
2550-2554
5.การสร้างเครือข่าย
เพื่อเพิ่มและใช้ทรัพยากร
3.การสร้างบัณฑิตและพัฒนาบุคลากร
ที่มีความเป็ นคนอย่างสมบูรณ์
4.การปรับโครงสร้างและ
การบริหารจัดการ
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักศึกษามีความใฝ่ รู้ มีทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตและดารงชีวิตอยู่ได้
ในสังคมฐานความรู้
กลยุทธ์
: ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้แบบใหม่
สร้างและพัฒนาสื่อ
และแหล่งเรียนรู้
Intention
สร้างฉันทะ
ทัง้ ผู้เรียนผู้สอน
เป้ าหมายที่ 1
พัฒนาและปรับปรุ ง
กระบวนการเรียนการสอน
Interaction
ทุกระดับ
การเรียนการสอน วิจยั
และบริการวิชาการ
Innovation
การเรียนการสอนและวิจยั
แนวทาง
1. การปฏิสมั พันธ์ทุกระดับ เช่น นักศึกษากับนักศึกษา นักศึกษากับอาจารย์
2. บูรณาการความคิด ความรู้ทางวิชาการ งานวิจยั และหลักสูตร เข้าด้วยกัน
3. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนใหม่ที่สร้างความสนใจแก่ผเู้ รียน
4. ปรับห้องเรียนให้มีหลายๆ แบบ (Learning space)
5. การใช้ Learning resource ร่วมกัน
6. ส่งเสริมระบบ e-contents
โครงการที่คาดว่าจะดาเนินการในแผนพัฒนาฉบับที่ 10
โครงการ
1. Active
Learning
-ปรับหลักสูตรป.ตรี
-นวัตกรรมการเรียนการ
สอน/PBL
- ประกวดแข่งขันโครงงาน
- เรียนรู้ร่วมอุตสาหกรรม/
ชุมชนและสังคม
- e-learning
2550
2551
2552
2553
2554
1
10
9
10
9
10
9
10
10
10
10/6
5
10 /6
5
10 /6
5
10 /6
5
10 /6
5
โครงการ/คณะ
โครงการ
5
5
5
5
5
หลักสูตร/
โครงงาน
จานวนบทเรียน
หลักสูตร
คณะ
2. Active
Recruitment
-ทุนเรียนดี
70
70
70
70
70
ทุน
3. โครงสร้าง
พืน้ ฐาน
- ปรับปรุงห้องเรียน/
ห้องปฏิ บตั ิ การวิ จยั เฉพาะทาง
2
2
2
2
2
ห้อง
129.97
88.00
88.00
68.00
68.00
งบประมาณ
(ล้านบาท)
441.97
KPIs
1. จานวนอาจารย์มีความรู้ความสามารถในการสอนแบบ Active
Learning
2. ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนแบบ Active
Learning (เช่น ลดจานวนหน่ วยกิต เพิ่มกิจกรรม )
3. ในปี 2554 มี e – content ในรายวิชาพืน้ ฐานครบทุกรายวิชา
4. จานวนห้องเรียนได้รบั การปรับปรุงให้มีความพร้อมสาหรับการเรียน
การสอนแบบ Active Learning
5. จานวนโครงการที่สร้างปฏิสมั พันธ์ระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา
นักศึกษากับอาจารย์ อาจารย์กบั เจ้าหน้ าที่ อาจารย์กบั อาจารย์
เพิ่มขึน้ ทุกปี
วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างความสามารถทางวิชาการและวิจยั ด้านสหวิทยาการ รองรับ
เทคโนโลยีอบุ ตั ิ ใหม่ (Emerging technology)
กลยุทธ์
: ส่งเสริมความสามารถทางวิชาการและวิจยั ทางด้านสหวิทยาการ
Cellular
Biology
เป้ าหมายที่ 2
การสร้างความเป็ นเลิศ
ทางด้านวิชาการและวิจยั
Makeup
Of ArrayViz
Mathematics
And Statistics
Computer
Science
บูรณาการระหว่างศาสตร์ เพือ่ ความเป็ นเลิศเชิงสหวิทยาการ
(Multidisciplinary)
แนวทาง
1. สร้างความสามารถทางวิชาการและวิจยั ใหม่ๆ
2. พัฒนาความสามารถใหม่ๆที่เป็ นสหวิทยาการเพิ่มขึน้ เช่น วิศวกรรม
ชีวภาพ (Bio-engineering) นาโนเทคโนโลยี และ Earth systems science
โครงการที่คาดว่าจะดาเนินการในแผนพัฒนาฉบับที่ 10
โครงการ
1. ส่งเสริมความเป็ น
เลิศทางวิชาการ/วิจยั
ใหม่
2. การจัดการเรียน
การสอนแบบ
Multidisciplinary
งบประมาณ
(ล้านบาท)
2550
2551
2552
2553
2554
- ทุนจ้าง TA/RA
- ทุนจ้าง Post Doc
- สนับสนุนผลงาน/
บทความตีพิมพ์ใน
ระดับนานาชาติ
- FTERO
- ครุภณ
ั ฑ์วิจยั
40
6
2
40
6
2
40
6
2
40
6
2
40
6
2
(ทุน/5,000บ.)
ทุน(1.5ล้าน/ปี )
ล้านบาท
25
20
25
20
25
20
25
20
25
20
ล้านบาท
ล้านบาท
- หลักสูตร Bioengineering / Earth
systems science
3
3
3
-
-
ล้านบาท
94.25
58.50
58.50
55.50
55.50
322.25
KPIs
1. จานวนเงินวิจยั ต่อบุคลากรเพื่อการวิจยั เพิ่มขึน้ ร้อยละ 5 ทุกปี
2. จานวนบทความวิจยั เทียบเท่าวารสารนานาชาติต่อบุคลากรเพื่อ
การวิจยั เพิ่มขึน้ ร้อยละ 5 ทุกปี
3. สิทธิบตั ร อนุสิทธิบตั ร ลิขสิทธ์ ิ เพิ่มขึน้ ร้อยละ 5 ทุกปี
4. จานวนหลักสูตรการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการ
เพิ่มขึน้ 4 หลักสูตรในช่วงแผนฯ 10
5. มีงานวิจยั ในสาขาสหวิทยาการเพิ่มขึน้
Strategic Planning Process
•
•
•
•
•
University Direction (สภามหาวิทยาลัย)
Setting Up working group (อธิการบดี)
Environmental Scanning (Working group)
Strategic Questions
Search information
- Interview - Questionnaire
- Internet
- Research
Strategic Questions
1. What is KMUTT now and What are benefits of these?
2. What is the direction of each campus?
3. What should KMUTT be?
4. Where should KMUTT go?
5. How does KMUTT go?
- What are mechanisms?
- When will KMUTT reach there?
Strategic Planning Process
• Participation
- Students/Parents - Executives
- Staff
- Alumni
- Community
- Private sectors
- Other government departments
• Long-term & Mid-term Plan and approved by University
Council
• Plan Implementation
- Financial analysis - Priority Setting
ตัวอย่างการวิเคราะห์ด้านการเงิน
สถานการณ์ทางด้านการเงิน
รายรับ
• อัตราค่าเล่าเรียน
• งบดาเนินการจากรัฐต่อหัวนักศึกษาลดลง
• จากงานวิจยั และงานบริการวิชาการเพิม่ ขึน้ %
รายจ่าย
• ค่าใช้จา่ ยบุคลากรเพิม่ ขึน้
• ค่าใช้จา่ ยสาหรับสวัสดิการและการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
เพือ่ ทดแทนอัตราเกษียณเพิม่ ขึน้
• การลงทุนเพือ่ พัฒนาคุณภาพมหาวิทยาลัย
Priority Setting
• ในการจัดทาแผนปฏิบตั ิ การ ให้มีการกาหนดลาดับ
ความสาคัญของนโยบาย และกิจกรรมในมิติต่าง ๆ
– เรือ่ งด่วน – เรือ่ งระยะยาว
– ใช้กลไกที่มีอยู่ – ใช้กลไกใหม่
– ใช้เงิน – ไม่ใช้เงิน
– ฯลฯ
The Extreme Future
You can influence your future, but you need
1. A future vision – clear vision of where you are
going.
2. A sound strategy to get there.
3. Tools to persuade key people- colleagues,
teammates, family members, and so on – to commit
to a shared vision and strategy’
4. Effective execution
Source: James Canton (2006)