ศูนย์อำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม
Download
Report
Transcript ศูนย์อำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม
การเลิกรับบุตรบุญธรรม
ฝ่ ายติดตามผลการรับบุตรบุญธรรม
ข้อกฎหมายตามพระราชบัญญัติการรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
• ตามมาตรา ๓๑/๑ วรรคหนึ่ ง แห่งพระราชบัญญัติการรับเด็กเป็ นบุตร
บุญธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการรับเด็กเป็ น
บุตรบุญธรรม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
• “มาตรา ๓๑/๑ ในกรณีที่ผรู้ บั บุตรบุญธรรมประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรม
หากบุตรบุญธรรมนั้นยังเป็ นเด็ก ก่อนที่จะมีการขอจดทะเบียนเลิกรับ
บุตรบุญธรรมหรือก่อนที่จะยื่นคาร้องต่อศาลตามาตรา ๑๕๙๘/๓๑
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้รับบุตรบุญธรรมจะต้ องแจ้ งให้
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ทราบเพื่อดาเนินการแก้ ไขปั ญหาและพัฒนาความสัมพันธ์
ในเบื ้องต้ น และจะต้ องเข้ าสูก่ ระบวนการให้ คาปรึกษาเยียวยาก่อน ทังนี
้ ้
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
ข้อกฎหมายตามพระราชบัญญัติการรับเด็กเป็ น
บุตรบุญธรรม(ต่อ)
(ต่อ) ในกรณีที่มีการเลิกรับบุตรบุญธรรม หากบุตรบุญธรรมนันยั
้ งเป็ นเด็ก และเด็กนันเคยอยู
้
่ใน
ความปกครองของสถานสงเคราะห์ในขณะที่มีการจดทะเบียนรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
หรื อไม่มีบิดามารดาหรื อผู้ปกครองที่จะดูแลเด็กนัน้ ต่อไป ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ดาเนินการ
เพื่อจัดให้ เด็กได้ รับการสงเคราะห์หรื อคุ้มครองสวัสดิภาพตามกฎหมายว่าด้ วยการคุ้มครองเด็ก
โดยผู้รับบุตรบุญธรรมที่เลิกรับบุตรบุญธรรมนันยั
้ งคงมีหน้ าที่ในการเสียค่าใช้ จ่ายในการอุปการะ
เลี ้ยงดูและการศึกษาตามสมควรและตามความสามารถของตนจนกว่าเด็กคนนันจะบรรลุ
้
นิติภาวะ
และจาต้ องเสียค่าใช้ จา่ ยในการอุปการะเลี ้ยงดูต่อไปหากเด็กนันเป็
้ นคนพิการหรื อทุพพลภาพและ
หาเลี ้ยงตนเองไม่ได้ แม้ วา่ จะบรรลุนิติภาวะแล้ ว เว้ นแต่ ในกรณีที่บตุ รบุญธรรมกระทาการต้ อง
ด้ วยมาตรา ๑๕๙๘/๓๓ (๑) (๒) (๓) หรื อ (๖) แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรื อมีผ้ รู ับบุตรบุญ
ธรรมผู้อื่นรับอุปการะเลี ้ยงดู บุตรบุญธรรมผู้นนไม่
ั ้ มีสิทธิได้ ค่าอุปการะเลี ้ยงดูตามความในมาตรานี ้ ทังนี
้ ้
ในการเรี ยกร้ องค่าใช้ จ่ายในการอุปการะเลี ้ยงดูและการศึกษาดังกล่าว ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่เป็ น
ผู้ดาเนินการและพนักงานอัยการจะฟ้องคดีแทนก็ได้ ”
ข้อกฎหมายตามกฎกระทรวง
• ตามกฎกระทรวง กระบวนการให้คาปรึกษาเยียวยาก่อนเลิกรับ
บุตรบุญธรรมซึ่งยังเป็ นเด็ก พ.ศ. ๒๕๕๔
• ข้อ ๑ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รบั แจ้งจากผูร้ บั บุตรบุญธรรมว่า
ประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรมซึ่งยังเป็ นเด็ก ให้พนักงานเจ้าหน้าที่
สอบถามผูร้ บั บุตรบุญธรรมถึงปั ญหาการเลิกรับบุตรบุญธรรมและ
ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อดาเนิ นการแก้ไขปั ญหาและพัฒนา
ความสัมพันธ์ในเบื้ องต้น หากผูร้ บั บุตรบุญธรรมยังคงประสงค์จะ
เลิกรับบุตรบุญธรรมอยู่ ให้มีการเข้าสู่กระบวนการให้คาปรึกษา
เยียวยาตาม ข้อ ๒ และ ๓
ข้อกฎหมายตามกฎกระทรวง (ต่อ)
• ข้อ ๒ ให้พนักงานเจ้ าหน้ าที่ดาเนินการสืบเสาะข้ อเท็จจริ งเกี่ยวกับสภาพ
ปั ญหาการเลิกรับบุตรบุญธรรม ดังต่อไปนี ้ เพื่อดาเนินการให้ คาปรึกษา
เยียวยาให้ แล้ วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งจากผู้รับบุตรบุญธรรม
ว่ายังคงประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรมตามข้ อ ๑
๑. สาเหตุของการเลิกรับบุตรบุญธรรม
๒. สภาพจิตใจและสภาพสังคมของบุตรบุญธรรม
๓. ประเมินสภาพปั ญหาการเลิกรับบุตรุบญ
ุ ธรรม
ในกรณีจาเป็ น ผอ.ศูนย์ฯ บุตร/พมจ. แล้ วแต่กรณี อาจขยาย
ระยะเวลาตามวรรคหนึง่ ได้ ไม่เกิน ๒ ครัง้ ครัง้ ละไม่เกิน ๑๕ วัน)
ข้อกฎหมายตามกฎกระทรวง (ต่อ)
• ข้ อ ๓ ในการดาเนินการตามข้ อ ๒ ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่หารื อร่ วมกันใน
วางแผนและดาเนินการให้ คาปรึกษาเยียวยา โดยอาจเชิญผู้เกี่ยวข้ อง
ดังต่อไปนี ้มาร่วมประชุมหารื อได้ ตามความเหมาะสมและจาเป็ น
-๑. บุคคลผู้ได้ ให้ ความยินยอมในการรับบุตรบุญธรรม
-๒. ผู้รับบุตรบุญธรรม
-๓. บุตรบุญธรรม
-๔. ผู้เกี่ยวข้ องด้ านเด็ก เช่น นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ แพทย์ หรื อ
จิตแพทย์
ข้อกฎหมายตามกฎกระทรวง (ต่อ)
• ข้อ ๔ เมื่อดาเนิ นการตามข้อ ๒ ได้เสร็จสิ้ นลงแล้ว หากผูร้ บั บุตรบุญธรรม
ยังคงยืนยันที่จะเลิกรับบุตรบุญธรรม ให้พนักงานเจ้าหน้าที่สรุปผลการให้
คาปรึกษาเยียวยาเสนอต่ออธิบดีหรือผูว้ า่ ราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี เพื่อ
ใช้ในการพิจารณาออกหนังสือรับรองสาหรับประกอบการขอจดทะเบียน
เลิกรับบุตรบุญธรรม หรือสาหรับประกอบการยืน่ คาร้องขอต่อศาลตาม
มาตรา ๑๕๙๘/๓๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• หนังสือรับรองตามวรรคหนึ่ งให้มีอายุหกเดือนนับแต่วนั ที่ออกหนังสือ
ข้อกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• มาตรา ๑๕๙๘/๓๑ การเลิกรับบุตรบุญธรรม ถ้ าบุตรบุญธรรมบรรลุนิตภิ าวะแล้ ว
จะเลิกโดยความตกลงกันในระหว่างผู้รับบุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมเมื่อใดก็ได้
ถ้ าบุตรบุญธรรมยังไม่ บรรลุนิตภิ าวะ การเลิกรับบุตรบุญธรรมจะทาได้ ตอ่ เมื่อ
ได้ รับความยินยอมของบิดาและมารดา และให้ นามาตรา ๑๕๙๘/๒๐ และมาตรา
๑๕๙๘/๒๑ มาใช้ บงั คับโดยอนุโลม
(๑๕๙๘/๒๐ การรับบุตรบุญธรรม ถ้ าผู้ที่จะเป็ นบุตรบุญธรรมมีอายุไม่ต่ากว่า ๑๕ ปี ผู้นนต้
ั ้ องให้ ความยินยอมด้ วย
๑๕๙๘/๒๑ การรับผู้เยาว์เป็ นบุตรบุญธรรม
- บิดามารดาให้ความยินยอมทัง้ 2 คน
- เสี ยชีวต
ิ + มีชว
ี ต
ิ อยู่ >> ฝ่ายมีชว
ี ต
ิ อยูเป็
่ นผู้ให้ความยินยอม
- ทอดทิง้ ทัง้ 2 คน >> ร้องศาล
- เสี ยชีวต
ิ ทัง้ 2 คน
>> ร้องศาล
- ทอดทิง้ + มีชว
ี ต
ิ อยู่
>> ร้องศาลให้ความยินยอมแทนฝ่ายทีท
่ อดทิง้ +
ฝ่ายมีชว
ี ต
ิ อยูให
่ ้ความยินยอม )
ข้อกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ต่อ)
• มาตรา ๑๕๙๘/๓๑ (ต่อ)
ในกรณีที่ได้ รับผู้เยาว์เป็ นบุตรบุญธรรมตามมาตรา ๑๕๙๘/๒๑
วรรคสอง มาตรา ๑๕๙๘/๒๒ มาตรา ๑๕๙๘/๒๓ มาตรา ๑๕๙๘/๒๔
หรื อ มาตรา ๑๕๙๘/๒๖ วรรคสอง ถ้ าบุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะ
การเลิกรับบุตรบุญธรรมให้ กระทาได้ ต่อเมื่อมีคาสัง่ ศาลโดย
คาร้ องขอของผู้มีส่วนได้ เสียหรื ออัยการ
การเลิกรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์ตอ่ เมื่อได้ จดทะเบียน
ตามกฎหมาย
ข้อกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ต่อ)
• มาตรา ๑๕๙๘/๓๒ การรับบุตรบุญธรรมย่อมเป็ นอัน
ยกเลิกเมื่อมีการสมรสฝ่ าฝื นตามมาตรา ๑๔๕๑
(มาตรา ๑๔๕๑ ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะ
สมรสกันไม่ได้ )
ข้อกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ต่อ)
• มาตรา ๑๕๙๘/๓๓ คดีฟ้องเลิกการรับบุตรบุญธรรมนันเมื
้ ่อ
(๑) ฝ่ ายหนึง่ ทาการชัว่ ร้ ายไม่วา่ จะเป็ นความผิดอาญาหรื อไม่
เป็ นเหตุให้ อีกฝ่ ายหนึง่ อับอายขายหน้ าอย่างร้ ายแรง หรื อถูก
เกลียดชัง หรื อได้ รับความเสียหายหรื อเดือดร้ อนเกินควร อีก
ฝ่ ายหนึง่ ฟ้องเลิกได้
(๒) ฝ่ ายหนึง่ หมิ่นประมาทหรื อเหยียดหยามอีกฝ่ ายหนึง่ หรื อ
บุพการี ของอีกฝ่ ายหนึง่ อันเป็นการร้ ายแรง อีกฝ่ ายหนึง่ ฟ้อง
เลิกได้ ถ้ าบุตรบุญธรรมกระทาการดังกล่าวต่อคูส่ มรสของ
ผู้รับบุตรบุญธรรมให้ ผ้ รู ับบุตรบุญธรรมฟ้องเลิกได้
ข้อกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ต่อ)
• มาตรา ๑๕๙๘/๓๓ คดีฟ้องการเลิกรับบุตรบุญธรรมนันเมื
้ ่อ (ต่อ)
(๓) ฝ่ ายหนึง่ กระทาการประทุษร้ ายอีกฝ่ ายหนึง่ หรื อบุพการี หรื อคูส่ มรส
ของอีกฝ่ ายหนึง่ เป็ นเหตุให้ เกิดอันตรายแก่กายหรื อจิตใจอย่างร้ ายแรง
และการกระทานันเป็
้ นความผิดที่มีโทษอาญา อีกฝ่ ายหนึง่ ฟ้องเลิกได้
(๔) ฝ่ ายหนึง่ ไม่อปุ การะเลี ้ยงดูอีกฝ่ ายหนึง่ อีกฝ่ ายหนึ่งนันฟ
้ ้ องเลิกได้
(๕) ฝ่ ายหนึง่ จงใจละทิ ้งอีกฝ่ ายหนึง่ ไปเกินหนึง่ ปี อีกฝ่ ายหนึ่งนันฟ
้ ้ องเลิกได้
(๖) ฝ่ ายหนึง่ ต้ องคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จาคุกเกินสามปี เว้ นแต่ความผิด
ที่กระทาโดยประมาท อีกฝ่ ายหนึง่ นันฟ
้ ้ องเลิกได้
ข้อกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ต่อ)
• มาตรา ๑๕๙๘/๓๓ คดีฟ้องการเลิกรับบุตรบุญธรรมนันเมื
้ ่อ (ต่อ)
(๗) ผู้รับบุตรบุญธรรมทาผิดหน้ าที่บิดามารดา และการกระทานันเป็
้ น
การละเมิดหรื อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๕๖๔ มาตรา ๑๕๗๑ มาตรา
๑๕๗๓ มาตรา ๑๕๗๔ หรื อ มาตรา ๑๕๗๕ เป็ นเหตุให้ เกิดหรื ออาจ
เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรงต่อบุตรบุญธรรม บุตรบุญธรรมฟ้อง
เลิกได้
(๘) ผู้รับบุตรบุญธรรมผู้ใดถูกถอนอานาจปกครองบางส่วนหรื อทังหมด
้
และเหตุที่ถกู ถอนอานาจปกครองนันมี
้ พฤติการณ์แสดงให้ เห็นว่าผู้นนั ้
ไม่สมควรเป็ นผู้รับบุตรบุญธรรมต่อไป บุตรบุญธรรมฟ้องเลิกได้
โดยสรุป การเลิกรับบุตรบุญธรรม
• กรณีบุตรบุญธรรมอายุ 20 ปี บริบรู ณ์
สามารถไปจดเลิกรับบุตรบุญธรรมได้ ที่สานักงานเขต /
อาเภอได้ ด้วยตนเอง
• กรณีบุตรบุญธรรมอายุยังไม่ ถงึ 20 ปี บริบรู ณ์
ต้ องติดต่อเลิกรับบุตรบุญธรรมที่ศนู ย์อานวยการรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม หรื อ พมจ. เพื่อเข้ าสูก่ ระบวนการเยียวยา
การเลิกรับบุตรบุญธรรมตามกฎหมายก่อน
กระบวนการเลิกรับบุตรบุญ
ธรรม รั้ บบุตรบุญธรรมประสงคจะ
พนักงานเจาหน
้
้ าทีไ่ ดรั
้ บคารองจากผู
้
์
เลิกรับบุตรบุญธรรมซึ่งยังเป็ นเด็ก
พนักงานเจาหน
่ อบขอเท็
จจริง ถึงปัญหาสาเหตุการเลิกรับบุตร
้
้ าทีส
้
ข้ อ ๑
บุญธรรมและขอมู
เ่ กีย
่ วของ
้ ลตางๆที
่
้
วางแผนแกไขปั
ญ
หา
และพั
ฒนาความสั มพันธเบื
้ งตน
้
์ อ
้
(เป็ นการสอบถามปัญหาเบือ
้ งตนพร
อมทั
ง้ ให้คาปรึกษาเยียวยา เพือ
่ ให้ผูขอและเด็
ก
้
้
้
สามารถอยูร่ วมกั
นได)้
่
ยังคงประสงคจะ
์
ไมประสงค
จะ
่
์
เลิกรับ
พนักงานเจ้าหน้าทีส
่ ื บเสาะขอเท็
จ
จริ
งเกีย
่ วกับสภาพปัญหาการเลิกรับ
เลิกรับ
้
(ท
าหนังสื อ
บุตรบุญธรรม ดังตอไปนี
้
(ทาหนังสื อ
่
๑. สาเหตุของการเลิกรับบุตรบุญธรรม ยืนยัน)
ยื
น
ยั
น
)
ติดตามผลเป็ น
๒. สภาพจิตใจและสภาพสั งคมของบุตรบุญธรรม
ระยะ
๓. ประเมินสภาพปัญหาการเลิกรับบุตรุบุญธรรม
ข้ อ ๒
ในการดาเนินการขางต
น
่ ารือรวมกั
น
้
้ ให้พนักงานเจ้าหน้าทีห
่
วางแผนให้คาปรึกษาเยียวยาโดยอาจเชิญผู้เกีย
่ วของดั
งตอไปนี
้
้
่
มารวมประชุ
มหารือไดตามความเหมาะสมและจ
าเป็ น
่
้
- บุคคลผูให
้ ้ความยินยอมในการรับบุตรบุญธรรม
- ผูรั
้ บบุตรบุญธรรม
ข้ อ ๓
- บุตรบุญธรรม
- ผูเกี
่ วของด
านเด็
ก เช่น แพทย ์ จิตแพทย ์ นักจิตวิทยาและนัก
้ ย
้
้
สั งคมสงเคราะห ์
( ตองด
าเนินการให้แลวเสร็
จภายใน ๖๐ วัน นับแตวั
้
้
่ นไดรั
้ บแจ้ง
จากผูรั
้ บฯ วายั
่ งคงประสงคเลิ
์ กรับ
สาเร็จ
(ไมประสงค
จะเลิ
ก
่
์
รับ)
สรุปผลดาเนินงานรายงาน
ผู้บังคับบัญชา
ติดตามผลเป็ นระยะ
ไมส
่ าเร็จ
(ยืนยันจะเลิกรับบุตรบุญ
ธรรม)
สรุปผลการดาเนินงานเสนออธิบดี/ผู้วา่
ฯ
เพือ
่ ออกหนังสื อเพือ
่ รับรองแกผู
่ ้รับบุตร
๔ร
บุญธรรมเพือ
่ ดาเนินการยกเลิกรับข้บุอ ต
บุญธรรมตอไป
่
(มีอายุ ๖ เดือนนับแตวั
่ นออก
หนังสื อ)
• * กรณีท่ เี ด็กนัน้ เคยอยู่ในความปกครองของสถานสงเคราะห์ หรื อไม่ มีบดิ า
มารดาหรื อผู้ปกครองที่จะดูแลเด็กนัน้ ต่ อไป (หรื อมีแต่ ไม่ ประสงค์ จะรับเด็ก
กลับไปดูแลอีก) ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ดาเนินการ :• ๑. จัดให้ เด็กได้ รับการสงเคราะห์หรื อคุ้มครองสวัสดิภาพตามกฎหมายว่าด้ วยการ
คุ้มครองเด็ก (สามารถดาเนินการได้ ตามความจาเป็ นเร่งด่วนก่อน)
• ๒. ผู้รับบุตรบุญธรรมที่เลิกรับบุตรบุญธรรมยังคงมีหน้ าที่เสียค่าใช้ จา่ ยในการอุปการะ
เลี ้ยงดูและการศึกษาตามสมควร และตามความสามารถจนกว่าเด็กจะบรรลุนิติภาวะ
และจะต้ องเสียค่าใช้ จา่ ยในการอุปการะเลี ้ยงดูตอ่ ไปหากเด็กนันเป็
้ นคนพิการหรือ
ทุพ พลภาพและหาเลี ย้ งตัว เองไม่ ไ ด้ แ ม้ ว่ า จะบรรลุนิ ติ ภ าวะแล้ ว
• เว้ น แต่ ใ นกรณี ที่ บุต รบุญ ธรรมกระทาการต้ อ งด้ ว ยมาตรา ๑๕๙๘/๓๓ (๑) (๒)
(๓) หรื อ (๖) แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรื อมีผ้ รู ับบุตรบุญธรรมผู้อื่น
รับอุปการะเลี ้ยงดูบตุ รบุญธรรมนันไม่
้ มีสทิ ธิได้ คา่ อุปการะเลี ้ยงดูตามความในมาตรา
นี ้ ทังนี
้ ้ ในการเรี ยกร้ องค่าใช้ จา่ ยในการอุปการะเลี ้ยงดูและการศึกษาดังกล่าว ให้
พนักงานเจ้ าหน้ าที่เป็ นผู้ดาเนินการ และพนักงานอัยการจะฟ้องคดีแทนก็ได้
กล่าวคือ :• ๑. เว้ นแต่ กรณี ศาลมี คาสั่ง ให้ มี ก ารเลิก รั บบุต รบุญธรรมจากเหตุที่
บุตรบุญธรรมกระทาการดังต่อไปนี ้
- กระทาการชัว่ ร้ ายต่อผู้รับบุตรบุญธรรม ไม่วา่ จะเป็ นความผิดอาญา หรื อไม่
- กระทาการหมิ่นประมาทหรื อเหยียดหยามอย่างร้ ายแรงต่อผู้รับบุตรบุญธรรม
- กระทาการประทุษร้ ายต่อผู้รับบุตรบุญธรรม คูส่ มรส หรื อทุพการี เป็ นเหตุ
ให้ เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรื อจิตใจอย่างร้ ายแรง และการกระทานันเป็
้ น
ความผิดที่มีโทษทางอาญาต้ องคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จาคุกเกินสามปี
เว้ นแต่ความผิดที่กระทาโดยประมาท
• ๒. มีผ้ รู ับบุตรบุญธรรมผู้อื่นรับอุปการะเลี ้ยงดู
แบบฟอร์มการเลิกรับบุตรบุญธรรม
1 แบบขอรับคาปรึกษาการ
เลิกรับบุตรบุญธรรม
แบบฟอร์มการเลิกรับบุตรบุญธรรม
2. หนังสือยืนยันความประสงค์
เลิกรับบุตรบุญธรรม
ก่ อนการเยียวยา
แบบฟอร์มการเลิกรับบุตรบุญธรรม
3. แบบรายงานการให้ คาปรึกษาเยียวยา
แบบฟอร์มการเลิกรับบุตรบุญธรรม
แนบใบบันทึกข้ อเท็จจริง
แบบฟอร์มการเลิกรับบุตรบุญธรรม
4. หนังสือยืนยันการเลิกรับบุตรบุญธรรม
ภายหลังการได้ รับคาปรึกษาเยียวยา
ก่ อนเลิกรับบุตรบุญธรรมซึ่งยังเป็ นเด็ก
กรณีขอเลิกรับบุตรบุญธรรมทีเ่ ป็ นญาติสืบสาย
โลหิต
ยกกันเอง
หรือบุตรของคูสมรส
่
1. ให้ ผ้ รู ับบุตรบุญธรรมกรอกรายละเอียดในแบบฟอร์ มหมายเลข 1 “แบบ
ขอรับคาปรึกษาการเลิกรับบุตรบุญธรรม” จากนันพนั
้ กงาน
เจ้ าหน้ าที่สอบถามปั ญหาในการเลิกรับบุตรบุญธรรมและข้ อมูลที่
เกี่ยวข้ อง รวมถึงให้ คาแนะนาปรึกษา ซึง่ จะต้ องบันทึกข้ อมูลดังกล่าวใน
ด้ านล่างของแบบฟอร์ มหมายเลข 1 เช่นเดียวกัน พร้ อมทังตรวจสอบ
้
เอกสารประกอบการยื่นคาขอ
2. ภายหลังที่ผ้ รู ับบุตรบุญธรรมได้ รับคาปรึกษาเพื่อแก้ ไขปั ญหาและพัฒนา
ความสัมพันธ์เบื ้องต้ นของครอบครัวจากพนักงานเจ้ าหน้ าทีแ่ ล้ ว ให้ ผ้ รู ับ
บุตรบุญธรรมกรอกในแบบฟอร์ ม “หนังสือยืนยันความประสงค์ เลิก
รับบุตรบุญธรรมก่ อนการเยียวยา” แบบฟอร์ มหมายเลข 2
• ถ้ าผู้รับบุตรบุญธรรมไม่ประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรมต่อ พนักงาน
เจ้ าหน้ าที่ยตุ กิ ารดาเนินงาน
• แต่ถ้าผู้รับบุตรบุญธรรมประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรมตามเดิม ให้
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ดาเนินการตามขันตอนต่
้
อไป
3. การให้ คาปรึกษาเยียวยา ใช้ แบบฟอร์ มหมายเลข 3 “แบบรายงานการให้ คาปรึกษา
เยียวยา” พนักงานเจ้ าหน้ าที่เป็ นผู้ทาหน้ าที่สืบเสาะข้ อเท็จจริ งเกี่ยวกับสภาพปั ญหา
การรับบุตรบุญธรรม ดังต่อไปนี ้
• สาเหตุของการเลิกรับบุตรบุญธรรม
• สภาพจิตใจและสภาพสังคมของบุตรบุญธรรม
• ประเมินปั ญหาการเลิกรับบุตรบุญธรรม
ในการดาเนินการข้ างต้ น ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่หารื อร่วมกันวางแผนให้ คาปรึกษา
เยียวยา โดยอาจเชิญผู้เกี่ยวข้ องดังต่อไปนี ้มาร่วมประชุมปรึกษาหารื อได้ ตามความ
เหมาะสมและจาเป็ น
• ผู้ให้ ความยินยอมในการรับบุตรบุญธรรม
• ผู้รับบุตรบุญธรรม
• บุตรบุญธรรม
• ผู้เกี่ยวข้ องด้ านเด็ก เช่น แพทย์ จิตแพทย์ นักจิตวิทยา หรื อนักสังคมสงเคราะห์
ในการให้ คาปรึกษาเยียวยาให้ คานึงถึงสวัสดิภาพและประโยชน์ของเด็ก
เป็ นสาคัญ ว่าภายหลังการเลิกรับบุตรบุญธรรมใครจะเป็ นผู้ดแู ลเด็กต่อไป
อย่างไร ซึง่ ในบางกรณีอาจจะต้ องส่งต่อหน่วยงานทางด้ านจิตเวชเด็กและ
วัยรุ่น เพื่อให้ จิตแพทย์บาบัดรักษาในเรื่ องพฤติกรรมของเด็ก หรื อเพื่อฟื น้ ฟู
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
หมายเหตุ : - พนักงานเจ้ าหน้ าที่ต้องดาเนินงานให้ แล้ วเสร็จภายใน 60 วัน
นับแต่วนั ได้ รับยืนยันจากผู้รับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรมว่ ายังคงประสงค์
เลิกรับบุตรบุญธรรม (นับจากวันที่ที่ลงในแบบฟอร์ มหมายเลข 2 )
- กรณีจาเป็ น ผอ. ศูนย์อานวยการรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม / พมจ.
อาจขยายระยะเวลาได้ 2 ครัง้ ครัง้ ละไม่เกิน 15 วัน
4. ภายหลังที่ได้ รับคาปรึกษาเยียวยาเสร็จสิ ้นแล้ ว ให้ ผ้ รู ับบุตรบุญธรรม
กรอกรายละเอียดในแบบฟอร์ มหมายเลข 4 “หนังสือยืนยันการเลิก
รับบุตรบุญธรรม ภายหลังการได้ รับคาปรึกษาเยียวยาก่ อนเลิก
รับบุตรบุญธรรมซึ่งยังเป็ นเด็ก”
• ถ้ าผู้รับบุตรบุญธรรมไม่ประสงค์เลิกรับบุตรบุญธรรม สรุปผลการ
ดาเนินงานรายงานผู้บงั คับบัญชา
• ถ้ าผู้รับบุตรบุญธรรมยืนยันเลิกรับบุตรบุญธรรม พนักงานเจ้ าหน้ าที่
ดาเนินการตามขันตอนต่
้
อไป
ทัง้ นีจ้ ะต้ องมีผ้ ูให้ ความยินยอม ( มารดาและ/หรือบิดาผู้ให้ กาเนิด )
ลงลายมือชื่อต่ อหน้ าพนักงานเจ้ าหน้ าที่ด้วย
5. สรุปผลการดาเนินงานต่ออธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ/ผู้วา่
ราชการจังหวัด เพื่อออกหนังสือเพื่อรับรองแก่ผ้ รู ับบุตรบุญธรรมเพื่อ
ดาเนินการยกเลิกรับบุตรบุญธรรมต่อไป (หนังสือรับรองมีอายุ 6 เดือน
นับแต่วนั ออกหนังสือ)
6. การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม ผู้รับบุตรบุญธรรม สามารถนา
หนังสือรับรองที่กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ หรื อสานักงานพัฒนา
สังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวัดออกให้ พร้ อม ทังเอกสารอื
้
่นๆ
เช่น สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน สาเนาทะเบียนบ้ าน ไปดาเนินการ
จดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมได้ ที่สานักงานเขต /อาเภอแห่งใดก็ได้
• หมายเหตุ :- ผู้ให้ ความยินยอม ( มารดาและ/หรื อบิดาผู้ให้ กาเนิด )
ต้ องไปลงลายมือชื่อพร้ อมกัน และกรณีบตุ รบุญธรรมที่มีอายุเกินกว่า
15 ปี ต้ องไปลงลายมือชื่อในการจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมเช่นกัน
กรณีขอเลิกรับบุตรบุญธรรมทีเ่ ป็ นเด็ก
ในความอุปการะของกรมพัฒนาสั งคม
และสวัสดิการ และเด็กทีม
่ ค
ี าสั่ งศาล
1. ผู้รับบุตรบุญธรรมกรอกรายละเอียดในแบบฟอร์ มหมายเลข 1 “แบบ
ขอรับคาปรึกษาการเลิกรับบุตรบุญธรรม” จากนันพนั
้ กงาน
เจ้ าหน้ าที่สอบถามปั ญหาในการเลิกรับบุตรบุญธรรมและข้ อมูลที่
เกี่ยวข้ อง รวมถึงให้ คาแนะนาปรึกษา ซึง่ ต้ องบันทึกข้ อมูลดังกล่าวใน
ส่วนล่างของแบบฟอร์ มหมายเลข 1 เช่นเดียวกัน พร้ อมทังตรวจสอบ
้
เอกสารประกอบการยื่นคาขอ
2. ภายหลังที่ผ้ รู ับบุตรบุญธรรมได้ รับคาปรึกษาเพื่อแก้ ไขปั ญหาและ
พัฒนาความสัมพันธ์เบื ้องต้ นของครอบครัวจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่แล้ ว
ให้ ผ้ รู ับบุตรบุญธรรมกรอกแบบฟอร์ มหมายเลข 2“หนังสือยืนยันความ
ประสงค์ เลิกรับบุตรบุญธรรมก่ อนการเยียวยา”
• ถ้ าผู้รับบุตรบุญธรรม ไม่ประสงค์เลิกรับบุตรบุญธรรมต่อ ให้ ติดตามผล
เป็ นระยะ
• แต่ถ้าผู้ขอฯ ประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรมตามเดิม ให้ พนักงาน
เจ้ าหน้ าที่ดาเนินการตามขันตอนของการให้
้
คาปรึกษาเยียวยาต่อไป
3. การให้ คาปรึกษาเยียวยา ใช้ แบบฟอร์ มหมายเลข 3 “แบบรายงานการให้
คาปรึกษาเยียวยา” พนักงานเจ้ าหน้ าที่เป็ นผู้ทาหน้ าที่สืบเสาะข้ อเท็จจริ ง
เกี่ยวกับสภาพปั ญหาการรับบุตรบุญธรรม ดังต่อไปนี ้
• สาเหตุของการเลิกรับบุตรบุญธรรม
• สภาพจิตใจและสภาพสังคมของบุตรบุญธรรม
• ประเมินปั ญหาการเลิกรับบุตรบุญธรรม
ในการดาเนินการข้ างต้ น ให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่หารื อร่วมกันวางแผนให้
คาปรึกษาเยียวยา โดยอาจเชิญผู้เกี่ยวข้ องดังต่อไปนี ้มาร่วมประชุม
ปรึกษาหารื อได้ ตามความเหมาะสมและจาเป็ น
• ผู้ให้ ความยินยอมในการรับบุตรบุญธรรม
• ผู้รับบุตรบุญธรรม
• บุตรบุญธรรม
• ผู้เกี่ยวข้ องด้ านเด็ก เช่น แพทย์ จิตแพทย์ นักจิตวิทยา หรื อนักสังคมสงเคราะห์
ในการให้ คาปรึกษาเยียวยาให้ คานึงถึงสวัสดิภาพเด็กและประโยชน์ของ
เด็กเป็ นสาคัญ ซึง่ ในบางกรณีอาจจะต้ องส่งต่อหน่วยงานทางด้ านจิต
เวชเด็กและวัยรุ่น เพื่อให้ จิตแพทย์บาบัดรักษาในเรื่ องพฤติกรรมของเด็ก
หรื อเพื่อฟื น้ ฟูความสัมพันธ์ในครอบครัว
• หมายเหตุ : - พนักงานเจ้ าหน้ าที่ต้องดาเนินงานให้ แล้ วเสร็ จภายใน 60
วัน นับแต่วนั ได้ รับยืนยันจากผู้รับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรมว่ายังคงประสงค์
เลิกรับบุตรบุญธรรม (นับจากวันที่ที่ลงในแบบฟอร์ มหมายเลข 2 )
- กรณีจาเป็ น ผอ. ศูนย์อานวยการรับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม/พมจ.
อาจขยายระยะเวลาได้ 2 ครัง้ ครัง้ ละไม่เกิน 15 วัน
4. ภายหลังจากที่ได้ รับคาปรึกษาเยียวยาเสร็จสิ ้นแล้ ว ให้ ผ้ รู ับบุตรบุญ
ธรรมกรอกรายละเอียดแบบฟอร์ มหมายเลข 4 “หนังสือยืนยันการเลิก
รับบุตรบุญธรรม ภายหลังการได้ รับคาปรึกษาเยียวยาก่ อนเลิก
รับบุตรบุญธรรมซึ่งยังเป็ นเด็ก”
• ถ้ าผู้รับบุตรบุญธรรม ไม่ประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรม ให้ สรุปผล
ดาเนินงานรายงานผู้บงั คับบัญชา
• ถ้ าผู้รับบุตรบุญธรรมยังคงประสงค์จะดาเนินการเลิกรับบุตรบุญธรรม
ให้ ดาเนินงานขันตอนต่
้
อไป
* ทัง้ นีไ้ ม่ จาเป็ นต้ องมีผ้ ูให้ ความยินยอมลงลายมือชื่อ
5. สรุปผลการดาเนินงาน ต่ออธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ/ผู้วา่
ราชการจังหวัด เพื่อออกหนังสือเพื่อรับรองแก่ผ้ รู ับบุตรบุญธรรมเพื่อ
ดาเนินการร้ องขอต่อศาลเพื่อให้ มีคาสัง่ ยกเลิกรับบุตรบุญธรรมต่อไป
(หนังสือรับรองมีอายุ 6 เดือนนับแต่วนั ออกหนังสือ)
6. ผู้รับบุตรบุญธรรมไปดาเนินการทางศาล (ตามมาตรา 31/1 วรรค 2)
7. การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม ผู้รับเด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
สามารถนาคาสัง่ ศาล พร้ อมทังเอกสารอื
้
่นๆ เช่น สาเนาบัตรประจาตัว
ประชาชน สาเนาทะเบียนบ้ าน เป็ นต้ น ไปดาเนินการจดทะเบียนเลิกรับ
บุตรบุญธรรมได้ ที่สานักงานเขต /อาเภอแห่งใดก็ได้
• *นอกจากนี ้กรณีบตุ รบุญธรรมที่มีอายุเกินกว่า 15 ปี ต้ องไปลงลายมือ
ชื่อในการจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมเช่นกัน
เอกสารที่ใช้ในการเลิกรับบุตรบุญธรรม
• ทะเบียนบุตรบุญธรรม
บิดา/มารดาบุญธรรม
• สาเนาบัตรประชาชน
• สาเนาทะเบียนบ้ าน
• ทะเบียนสมรส
• ทะเบียนหย่า
• คาสัง่ ศาล (ถ้ ามี)
• ใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล (ถ้ ามี)
บิดา/มารดาผู้ให้ กาเนิด
• สาเนาบัตรประชาชน
• สาเนาทะเบียนบ้ าน
• ทะเบียนสมรส
• ทะเบียนหย่า
• คาสัง่ ศาล (ถ้ ามี)
• ใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล (ถ้ ามี)
บุตรบุญธรรม
• สูติบตั ร
• สาเนาบัตรประชาชน
• สาเนาทะเบียนบ้ าน
• ใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล (ถ้ ามี)
ตัวอย่ าง case กรณีเลิกรับบุตรบุญธรรมที่เป็ นญาติสืบสายโลหิต ยกกันเอง
หรือบุตรของคู่สมรส
นาย ก. สมรสกับนาง ข. รับนายเอ ปั จจุบนั อายุ 15 ปี ซึ่งเป็ นบุตรติดภรรยา เป็ นบุตรบุญธรรม ต่อมา นาย ก. ประสงค์
จะเลิกรับนายเอ เป็ นบุตรบุญธรรม เนื่องจากหย่าร้างกับนาง ข. มารดาผูใ้ ห้กาเนิดเด็ก และแยกทางกันอยูแ่ ล้ว
เข้าสู่กระบวนการเยียวยา สอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
1.
สาเหตุ >> หย่าร้างกับมารดาผูใ้ ห้กาเนิ ดของบุตรบุญธรรม
2.
สภาพจิตใจและสังคม >> บุตรบุญธรรมสภาพจิตใจและสังคมปกติดี รับทราบเกี่ยวกับการหย่าร้างของบิดาบุญธรรมและมารดา
3.
ประเมินสภาพปั ญหาการเลิกรับบุตรบุญธรรม >> เนื่ องจากบิดาบุญธรรมหย่าร้างกับมารดาผูใ้ ห้กาเนิ ด ซึ่งโดยปกติบุตรบุญธรรมอยูก่ บั
มารดาผูใ้ ห้กาเนิ ด และมารดาผูใ้ ห้กาเนิ ดประกอบอาชีพมัน่ คง สามารถเลี้ ยงดูเด็กได้ ดังนั้นการเลิกรับบุตรบุญธรรมจึงไม่มี
ปั ญหาใด
หมายเหตุ ทะเบียนหย่าได้ระบุเกี่ยวกับการเลี้ ยงดูอุปการะบุตรบุญธรรมหรือไม่
บุคคลที่ตอ้ งมาเข้าสู่กระบวนการเยียวยา
1.
บิดาบุญธรรม
2.
มารดาผูใ้ ห้กาเนิ ดเด็ก >> ผูใ้ ห้ความยินยอม
3.
บุตรบุญธรรม (เนื่ องจากอายุไม่ตา่ กว่า 15 ปี ) >> ผูใ้ ห้ความยินยอม
สรุปผลการให้คาปรึกษาเยียวยาเสนอต่ออธิบดีหรือผูว้ า่ ราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี เพื่อใช้ในการพิจารณาออกหนังสือรับรอง
สาหรับประกอบการขอจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
ออกหนังสือเพื่อรับรองสาหรับประกอบการขอจดทะเบียนยกเลิกบุตรบุญธรรม
ได้รบั ทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
ตัวอย่ าง case กรณีเลิกรับบุตรบุญธรรมที่เป็ นเด็กในความอุปการะของกรม
พัฒนาสังคมและสวัสดิการ และเด็กที่มีคาสั ่งศาล
นาย A และนาง B คู่สามีภรรยารับ เด็กหญิง C เด็กจากสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพญาไท ต่อมาเด็กหญิง C มีปัญหาพฤติกรรม เช่น ลักขโมย
เกเร นาย A และนาง B จึงประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรม
เข้าสู่กระบวนการเยียวยา สอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
1.
สาเหตุ >> เด็กมีปัญหาพฤติกรรม เนื่ องจากเพิ่งมาทราบจากเพื่อนบ้านว่าตนไม่ใช่ลกู แท้ แต่เป็ นบุตรบุญธรรม จึงถูกล้อเลียน และมี
ปั ญหาพฤตืกรรมเพื่อเรียกร้องความรัก และความสนใจจากพ่อแม่ อีกทั้งพ่อแม่ไม่ค่อยมีเวลาให้บุตรบุญธรรมมากนั กเนื่ องจากทางาน
หนัก ปั ญหาเกิดจาก การไม่บอกความจริงกับเด็ก และพ่อแม่ไม่ค่อยมีเวลาให้กบั เด็ก
2.
สภาพจิตใจและสังคม >> บุตรบุญธรรมมีสภาพจิตใจที่เปราะบาง จึงแสดงออกด้วยการลักขโมยเงินพ่อแม่ไปแจกเพื่อน เพื่อต้องการ
ความรักและการยอมรับ
3.
ประเมินสภาพปั ญหาการเลิกรับบุตรบุญธรรม >> เมื่อเลิกรับบุตรบุญธรรม เด็กจะถูกส่งคืนสู่สถานสงเคราะห์ ซึ่งเด็กมีสภาพจิตใจที่งเปราะบาง
มาก และอาจจะไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ในสถานสงเคราะห์ได้
การเยียวยา ครั้งที่ 1 เยีย่ มบ้านเด็กและครอบครัวประเมินสภาพปั ญหา และส่งต่อเด็กและครอบครัวเข้ารับการบาบัดที่สถาบันจิตเวชเด็กและ
วัยรุ่นราชนครินทร์ (ครอบครัวมาพบแพทย์ตามนัดจ่อเนื่ อง)
การเยียวยา ครั้งที่ 2 เยีย่ มบ้านเด็กและครอบครัว ประเมินสภาพหลังจากเข้ารับการบาบัดฟื้ นฟูที่สถาบันจิตเวชเด็กและ
วัยรุ่นราชนครินทร์
การเยียวยา ครั้งที่ 3 พาเด็กและครอบครัวเยีย่ มชมสถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้านราชวิถี
เมื่อผ่านกระบวนการเยียวยาแล้ ว นาย A นาง B และเด็กหญิง C มีความเข้ าใจกันมากขึ ้น และความสัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ ้น เนื่องจาก
รู้ถึงสาเหตุพฤติกรรมเด็ก และพยายามปรับตัวเข้ าหากันภายในครอบครัว จึงไม่ประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรมแล้ ว จึงมาลงนามใน
แบบฟอร์ มที่ 4 เพื่อยืนยันว่าไม่ประสงค์จะเลิกรับบุตรบุญธรรมแล้ ว
การติดตามผล >> ฝ่ ายติดตามผลฯ ได้ เชิญครอบครัวเข้ าร่วม โครงการสานสัมพันธ์ส่คู วามเข้ าใจ ครัง้ ที่ 3 (2556) เป็ นครัง้ แรก เด็กและ
ครอบครัวได้ ทาความรู้จกั กับครอบครัวบุญธรรมครอบครัวอื่น และเข้ าร่วมโครงการสานสัมพันธ์ส่คู วามเข้ าใจ ครัง้ ที่ 4 (2557) เด็กมี
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดั เจน
ครอบครัวเข้ าสู่เครื อข่ายครอบครัวบุญธรรม
สถิติการเลิกรับบุตรบุญธรรม ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2554- ปั จจุบนั
เรื่อง
จานวน
ผลการดาเนินการ
ขอรับคาปรึกษาเรื่องการเลิกรับบุตรบุญธรรม
33 ให้ขอ้ มูล และขั้นตอนเกี่ยวกับการ
เลิกรับบุตรบุญธรรม
กรณีเลิกรับบุตรบุญธรรมที่เป็ นญาติสืบสาย
โลหิต ยกกันเอง หรือบุตรของคู่สมรส
48
เยียวยา และยกเลิก 48 ราย
กรณีเลิกรับบุตรบุญธรรมที่เป็ นเด็กในความ
อุปการะของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
และเด็กที่มีคาสัง่ ศาล
6
เยียวยา และไม่ยกเลิกทั้ง 6 ราย
การติดต่อ
• www.adoption.dsdw.go.th
ฝ่ ายติดตามผลการรับบุตรบุญธรรม
แบบฟอร์มเยียวยา
• เครือข่ายครอบครัวบุญธรรม เข้าได้ที่ facebook
โครงการ สานสัมพันธ์ ครั้งที่/