PHP - คณะเทคโนโลยีการจัดการ

Download Report

Transcript PHP - คณะเทคโนโลยีการจัดการ

PHP
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีการจัดการ
การเตรียมการเพือ่ เขียนภาษา PHP
 ติดตั้ง AppServ





Web Server ชื่อ Apache
ตัวแปลภาษา PHP
ระบบฐานข้ อมูล MySQL
ระบบช่ วยจัดการฐานข้ อมูล phpMyAdmin
Virtual Directory ชื่อ C:\AppServ\www\
การใช้ งานเว็บเซิร์ฟเวอร์ จาลอง


เปิ ดโปรแกรม เบราว์ เซอร์ เช่ น internet explorer, google chrome, Firefox
พิมพ์ข้อความ http://localhost หรือ http://127.0.0.1
ทดสอบระบบ


เริ่มต้ นโดยการไปที่ C:\AppServ\www
ตรงนีจ้ ะเป็ นที่เก็บไฟล์ ข้อมูลเว็บไซต์
รูปแบบการเรี ยกใช้ งาน
รู ปแบบ
การเรี ยกเว็บไซต์
ที่อยูเ่ ว็บไซต์
สถานที่อยู่
http://localhost/
C:\AppServ\www\
โฟลเดอร์เว็บที่สร้าง
web
web
นามสกุลของภาษา php
ภาษา php นามสกุลของไฟล์ คือ .php
-------------------------------------------------------------------------------------------------------ตัวอย่าง
index.php
รู ปแบบ
การเรี ยกเว็บไซต์
ที่อยูเ่ ว็บไซต์
จะได้
สถานที่อยู่
http://localhost/
C:\AppServ\www\
โฟลเดอร์
ไฟล์
web
index.php
web
index.php
http://localhost/web/index.php
ชนิดข้ อมูล
ตัวแปร
ตัวแปรและค่ าคงที่
ตัวแปร
ตั ว แปร (Variables) คื อ ชื่ อ ที่ ต้ั ง ขึ้น มาเพื่ อ ให้ จั ด ข้ อ มู ล ในหน่ ว ยความจ า
(RAM) ของคอมพิวเตอร์ ตัวแปรสามารถจัดเก็บข้ อมูลใดๆ ก็ได้ ไม่ ว่าจะเป็ นข้ อมูล
ตัวเลข ตัวอักษร เครื่องหมาย เป็ นต้ น ลักษณะทีส่ าคัญของตัวแปร คือ
ตัวแปร
ตัวแปรและค่ าคงที่
การประกาศตัวแปร
- ตัวแปรใน PHP ไม่ จาเป็ นต้ องระบุชนิดของข้ อมูล เนื่องจากตัวแปรแต่ ละตัวสามารถ
เก็บข้ อมูลชนิดใดก็ได้
- ตัวแปรใน PHP จะต้ องขึน้ ด้ วยสั ญลักษณ์ เครื่องหมาย $ (Dollar Sign) แล้วตามด้ วย
ชื่อของตัวแปรทีต่ ้ องการใช้ งาน เช่ น $name, $value, $a, $x เป็ นต้ น
- ตามข้ อกาหนดดั้งเดิมนั้น ตัวแปรต้ อง ขึน้ ต้ น ด้ วยอักษร a-z หรือ A-Z หรือ
เครื่องหมาย _ เท่ านั้น ห้ ามขึน้ ต้ นด้ วยตัวเลข 0-9 หรืออักขระอืน่ ๆ นอกเหนือจากนี้
ตัวอย่ างการกาหนดตัวแปรทีถ่ ูกต้ อง เช่ น $name, $_price, $value1, $num2string
- การเขียนตัวแปรด้ วยลักษณะ ตัวพิมพ์ ทแี่ ตกต่ างกัน ถือว่ าเป็ นตัวแปรคนละตัว เช่ น
$abc, $ABC จะถือว่ าไม่ ใช่ ตวั แปรเดียวกัน
ตัวแปร
ตัวแปรและค่ าคงที่
การกาหนดค่ าตัวแปรแบ่ งออกเป็ น 2 วิธี
1) การกาหนดค่ าตัวแปรปกติ (Value Assignment)
การกาหนดค่าตัวแปรรู ปแบบนี้ เป็ นการกาหนดค่าตัวแปรแบบง่ายที่สุดและ
นิยมใช้งานโดยทัว่ ไป สามารถกาหนดได้หลายลักษณะขึ้นอยูก่ บั ชนิ ดข้อมูล ดังนี้
การประกาศตัวแปรสาหรับข้ อมูลชนิดตัวเลข ตัวอย่ างดังนี้
การกาหนดค่าตัวแปรปกติ
$x = 123;
$y = 4.56;
$z = -789;
// กาหนดให้ตวั แปร $x มีค่าเท่ากับ 123
// กาหนดให้ตวั แปร $y มีค่าเท่ากับ 4.56
// กาหนดให้ตวั แปร $z มีค่าเท่ากับ -789
ตัวแปร
ตัวแปรและค่ าคงที่
การกาหนดค่ าตัวแปรปกติ (Value Assignment)
สาหรับข้ อมูลชนิดข้ อความก็กาหนดตามรู ปแบบการเขียนข้ อความ นั่นคือ
ต้ องเขียนไว้ ในเครื่ องหมาย “ ” หรื อไม่ก็ ‘ ’ เท่านัน้ ตัวอย่างดังนี ้
การกาหนดค่าตัวแปรชนิดข้ อความหรื อสตริง
$name = “ปริ ญญา”;
$country = ‘Thailand’;
$phone = ‘0123456789’;
// กาหนดให้ตวั แปร $name มีค่าเท่ากับ ปริ ญญา
// กาหนดให้ตวั แปร $country มีค่าเท่ากับ Thailand
// กาหนดให้ตวั แปร $phone มีค่าเท่ากับ 0123456789
ตัวแปร
ตัวแปรและค่ าคงที่
การกาหนดค่ าตัวแปรปกติ (Value Assignment)
ตัวเลขที่เขียนในแบบข้อความ เช่น “123” จะถือว่าเป็ น “ชนิ ดข้อความ” แต่
สามารถนาไปใช้คานวณได้ตามปกติ ทั้งนี้ การกาหนดข้อความด้วยเครื่ องหมาย “…”
และ ‘…’ จะมีขอ้ แตกต่างกันบางกรณี
ตัวแปร
ตัวแปรและค่ าคงที่
การกาหนดค่ าตัวแปรปกติ (Value Assignment)
ตัวแปรเป็ นชนิดบูลีนก็กาหนดค่าเป็ น true หรื อ false อย่างใดอย่างหนึ่ ง ดังนี้
การกาหนดค่าตัวแปรชนิดบูลีน
$first_time = true ;
$is_valid = false ;
ตัวแปร
ตัวแปรและค่ าคงที่
การกาหนดค่ าตัวแปรปกติ (Value Assignment)
การใช้งานตัวแปรใน PHP มีความยืดหยุน่ ไม่จากัดชนิดของตัวแปรเป็ นชนิด
ใดชนิดหนึ่ง และยังสามารถสลับปรับเปลี่ยนได้ในทันที มีตวั อย่าง ดังนี้
การกาหนดค่าตัวแปรแบบไม่จากัดชนิดของตัวแปร
$color = "red";
$number = 12;
$age = 12;
$sum = 12 + "15";
// ผลลัพธ์ ตัวแปร $sum = 27
ตัวแปร
ตัวแปรและค่ าคงที่
การกาหนดค่ าตัวแปรแบ่ งออกเป็ น 2 วิธี
2) การกาหนดค่ าตัวแปรโดยการอ้ างอิง (Reference Assignment)
PHP ตั้งแต่เวอร์ ชนั 4 ได้นาความสามารถในการกาหนดค่าตัวแปรโดยการ
อ้างอิง ซึ่ งจะช่วยให้สามารถสร้างตัวแปรใหม่ให้มีค่าเช่นเดียวกันกับตัวแปรใดๆ ก็ได้
และมี ก ารสร้ า งความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งตัว แปรหลัก และตัว แปรอ้า งอิ ง เมื่ อ มี ก าร
เปลี่ ยนแปลงค่าในตัวแปรใดๆ ค่าของตัวแปรทั้งหมดที่ มีการอ้างอิ งกันจะมี ค่าหรื อ
ข้อมูลเดี ยวกัน การกาหนดตัวแปรโดยอ้างอิงสามารถทาได้โดยการเพิ่มเครื่ องหมาย
แอนด์ (&) ด้านขวาของเครื่ องหมายเท่ากับหรื อด้านหน้าของตัวแปรก็ได้ ดังนี้
ตัวแปร
ตัวแปรและค่ าคงที่
การกาหนดค่ าตัวแปรโดยการอ้างอิง (Reference Assignment)
การกาหนดค่าตัวแปรโดยการอ้ างอิง
<?php
$value1 = "Hello";
$value2 =& $value1; // $value1 และ $value2 มีค่าเท่ากับ "Hello"
$value2 = "Goodbye"; // $value1 และ $value2 มีค่าเท่ากับ "Goodbye"
?>
ชนิดข้ อมูล แบ่ งชนิดของของมูลได้ เป็ น 4 ชนิด
ข้ อมูลชนิดจำนวนเต็ม
ข้ อมูลชนิดจำนวนเต็มเป็ นตัวเลขจำนวนเต็มใดๆ แบ่ งออกได้ 3 กลุ่ม ออ
จำนวนเต็มบวก ( 1,2 ,3...)
จำนวนเต็มลบ (-1, -2, -3 ...)
และจำนวนเต็มศูนย์
ชนิดข้ อมูล แบ่ งชนิดของของมูลได้ เป็ น 4 ชนิด
ข้ อมูลชนิดจานวนเต็ม
<?php
$num1=20;
$num2 = 020;
$num3 = 0x20;
echo “ค่ าของ 20 ในเลขฐานสิ บมีค่าเท่ ากับ $num1 <br>”;
echo ค่ าของ 020 ในเลขฐานแปดมีค่าเท่ ากับ $num2 <br>”;
echo “ค่ าของ 0x20 ในเลขฐานสิ บหกมีค่าเท่ ากับ $num3 <br>”;
?>
ชนิดข้ อมูล แบ่ งชนิดของของมูลได้ เป็ น 4 ชนิด
ข้ อมูลชนิดจานวนทศนิยม
ลักษณะของข้ อมูลชนิดจานวนทศนิยม คือตัวเลขทีม่ จี ุดทศนิยมหลังเลข
จานวนเต็ม หรือเป็ นตัวเลขแบบเศษส่ วน หรือเป็ นตัวเลขในลักษณะเลขยกกาลัง
<?php
$num1=3.58;
$num2 = 4.5e3;
$num3= 3e-4;
echo “ค่ าของ 3.58; มีค่าเท่ ากับ $num1 <br>”;
echo “ค่ าของ 3e-4; มีค่าเท่ ากับ $num2 <br>”;
echo “ค่ าของ 4.5e3; มีค่าเท่ ากับ $num3 <br>”;
?>
ชนิดข้ อมูล แบ่ งชนิดของของมูลได้ เป็ น 4 ชนิด
ข้ อมูลชนิด ข้ อมูลชนิดสตริง (String)
ลักษณะข้ อมู ลชนิ ด สตริ งคือข้ อมู ลที่นาตัว อักษรมาประกอบกันขึ้น โดย
ตัวอักษร 1 ตัวเราอาจจะเรียกว่ าอักขระก็ได้ เมื่อนาหลายอักขระมาประกอบกันแล้ วก็
จะเรียกว่ าสตริงนั่นเอง ในการกาหนดค่ าของอักขระและสตริงจะต้ องใช้ เครื่ องหมาย “
“ (Double quote)
<?php
$num1=”A”;
$num2 = “Jimmy”;
echo “ค่ าของตัวแปร/ มีค่าเท่ ากับอักขระ $num1 <br>”;
echo “ค่ าของตัวแปร/ มีค่าเท่ ากับอักขระ $num2 <br>”:
?>
ชนิดข้ อมูล แบ่ งชนิดของของมูลได้ เป็ น 4 ชนิด
ข้ อมูลชนิดตรรกะ (Boolean)
ลักษณะของข้ อมูลชนิดตรรกะจะเก็บค่ าเพื่อใช้ สาหรั บการตรวจสอบเงื่อง
ไข ซึ่งมีค่าที่เก็บเพียง 2 ค่ าเท่ านั้น คือเป็ นค่ าจริง(True) หรือเท็จ (False)
<?php
$num1=$num01<$num02;
?>
ชนิดข้ อมูลพิเศษ
ตัวแปรอาร์ เรย์
ชุ ด ของค่ าตัว แปรเดียวกัน ซึ่ งสมาชิ กของอาร์ เ รย์ จ ะเป็ นตัวแปรพื้นฐาน
จานวนสมาชิ กในอาร์ เรย์ มีขนาดแน่ นอน และสมาชิ กของอาร์ เรย์ แต่ ละตัว ในที่นี้จะ
ขอเรียกว่ า Element) จะมีลาดับ (Index) ประจาตัว
<?php
ชื่อตัวแปรอาร์ เรย์ =array(“ค่ าของอาร์ เรย์ช่องที่ 0”. “ค่ าของอาร์ เรย์ช่องที1่ ”.....);
$score = array (“58”, “65”, “74”, “62”, “85”);
?>
ค่ าคงที่
ค่ าคงที่
ค่ าคงที่ (Constant) คือ ชื่อที่กาหนดขึน้ มาเพือ่ เก็บค่ าใดๆ เอาไว้ โดยปกติเรา
จะนาค่ าคงที่มาเก็บค่ าใดๆ ที่ไม่ ค่อยมีการเปลีย่ นแปลง รู ปแบบการใช้ งานคาสั่ งค่ าคงที่
คือ
<?php
define(ชื่อค่ าคงที่ , ค่ า)
define(“vat” , 0.07);
?>
ตัวดาเนินการและนิพจน์ ใน PHP
ตัวดาเนินการและนิพจน์ ใน PHP
ตัวดำเนินกำร (Operator) คือ เครื่ องหมายต่าง ๆ ที่ใช้ในการคานวณ หรื อการทา
ฟั ง ก์ชัน ทางคณิ ต ศาสตร์ ตัว ด าเนิ น การบางตัว เป็ นตัว เลขใด ๆ ตัว การบางตัว ให้
ผลลัพธ์เป็ นค่าความจริ งเป็ นจริ ง (True) หรื อเท็จ (False) เท่านั้น ตัวดาเนิ นการบาง
ตัวก็ใช้จดั การเฉพาะข้อมูลที่เป็ นสตริ งหรื ออักขระเท่านั้น และตัวดาเนิ นการบางตัวก็
ให้ผลลัพธ์เป็ นเลขฐาน 2 ซึ่ งเราสามารถแบ่งประเภทตัวดาเนิ นการในภาษา PHP ได้
เป็ น 5 ประเภท ดังนี้
ตัวดาเนินการทางคณิ ตศาสตร์ (Arithmetic Operator)
ตัวดาเนินการเปรี ยบเทียบ (Comparison Operator)
ตัวดาเนินการทางตรรกะ (Logical Operator)
ตัวดาเนินการสตริ ง (String Operator)
ตัวดาเนินการระดับบิต (Bitwise Operator)
ตัวดำเนินกำรทำงอณิตศำสตร์
ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ เป็ นตัวดาเนินการในกลุม่ ที่เกี่ยวข้ องกับการ
คานวณหาค่าผลลัพธ์ตา่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์ ผลลัพธ์จากการใช้ ตวั ดาเนินการทาง
คณิตศาสตร์ นี ้จะได้ ผลลัพธ์เป็ นตัวเลขใดๆ
ตัวดาเนินการ
บวก
ลบ
คูณ
หาร
หารเอาเศษ
เพิม่ ค่าขึ ้น 1
ลดค่าลง 1
สัญลักษณ์
+
*
/
%
++
--
ตัวอย่าง
$a + $b (ความหมายก็คือ 10+3 ซึง่ ค่าเท่ากับ 13)
$a - $b (ความหมายก็คือ 10-3 ซึง่ ค่าเท่ากับ 7)
$a * $b (ความหมายก็คือ 10*3 ซึง่ ค่าเท่ากับ 30)
$a / $b (ความหมายก็คือ 10/3 ซึง่ ค่าเท่ากับ 3.33)
$a %$b (ความหมายก็คือ 10%3 ซึง่ ค่าเท่ากับ 1)
$a ++ (ความหมายก็คือ เพิม่ ค่าให้ กบั ตัวแปร $a ขึ ้น ซึง่ ค่าเท่ากับ 11)
$b - - (ความหมายก็คือ ลดค่าให้ กบั ตัวแปร $b ลง 1 ซึง่ ค่าเท่ากับ 13)
ตัวดำเนินกำรทำงอณิตศำสตร์
<?php
$a = 10;
$b = 3;
$add = $a + $b;
$minus = $a - $b;
$multiply = $a * $b;
$divide = $a % $b;
Echo “ผลบวกของ $a และ $b มีค่าเท่ากับ $add <br>”;
Echo “ผลลบของ $a และ $b มีค่าเท่ากับ $minus <br>”;
Echo “ผลคูณของ $a และ $b มีค่าเท่ากับ $multipl <br>”;
Echo “ผลหารของ $a และ $b มีค่าเท่ากับ $divide <br>”;
Echo “ผลหารเอาเศษของ $a และ $b มีค่าเท่ากับ $modulus <br>”;
?>
ตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ
ตัวดาเนินการเปรี ยบเทียบเป็ นตัวดาเนินการที่ใช้สาหรับการเปรี ยบเทียบ
ตัวเลข หรื อตัวแปรโดยผลลัพธ์จากการใช้ตวั ดาเนินการเปรี ยบเทียบนี้ จะได้ผลลัพธ์มี
ค่าความจริ งเป็ นจริ ง (True) หรื อเท็จ (False)
ตัวดาเนินการ
เท่ากับ
ไม่เท่ากับ
น้ อยกว่า
มากกว่า
น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ
มากกว่าหรื อเท่ากับ
สัญลักษณ์
==
! = หรื อ < >
<
>
<=
>=
ตัวอย่าง
$a + $b (ได้ ผลลัพธ์เป็ นเท็จ เพราะ 10 ไม่เท่ากับ 3)
$a - $b (ได้ ผลลัพธ์เป็ นจริง เพราะ 10 ไม่เท่ากับ 3)
$a * $b (ได้ ผลลัพธ์เป็ นเท็จ เพราะ 10 มากกว่า 3)
$a / $b (ได้ ผลลัพธ์เป็ นจริง เพราะ 10 มากกว่า 3)
$a %$b (ได้ ผลลัพธ์เป็ นจริง เพราะ 10 น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ 10)
$a ++ (ได้ ผลลัพธ์เป็ นจริง เพราะ 10 มากกว่าหรื อเท่ากับ 10)
ตัวดำเนินกำรเปรียบเทียบ
<?php
$a = 10;
$b = 3;
$c = 10;
$equal = $a = = $b;
$not_than = $a != $b;
$less_than = $a < $b;
$greater_than = $a > $b;
$less_then_or_equal = $a <= $c;
$greater_than_or_equal = $a >= $c
echo “$a = = มีค่าความจริ งเท่ากับ $equal <br>”;
echo “$a != $b มีค่าความจริ งเท่ากับ $not_equal <br>”;
echo “$a < $b มีค่าความจริ งเท่ากับ $less_than <br>”;
echo “$a > $b มีค่าความจริ งเท่ากับ $greater_than <br>”;
echo “$a <= $c มีค่าความจริ งเท่ากับ $less_than_or_equal <br>”;
echo “$a >= $c มีค่าความจริ งเท่ากับ $greater_than_or_eual <br>”;
?>
ตัวดำเนินกำรทำงตรรกะ
ตัวดาเนินการทางตรรกะเป็ นตัวดาเนิ นการที่ใช้ทาการเชื่อมค่าความจริ งต่าง ๆ
โดยเฉพาะการนาตัวดาเนิ นการทางตรรกะนี้ ไปประยุกต์ใช้กบั คาสั่งตรวจสอบเงื่อนไข
ผลลัพ ธ์ จ ากการใช้ต ัว ด าเนิ น การทางตรรกะจะได้ผ ลลัพ ธ์ ที่ มี ค่ า ความจริ งเป็ นจริ ง
(True) หรื อเท็จ (False) ตัวดาเนิ นการทางตรรกะมีท้ งั หมด 4 ตัว คือ ตัวดาเนินการ
และ (And), ตัวดาเนินการหรื อ (Or), ตัวดาเนินการนิเสธ (Not) และตัวดาเนิ นการ
xor (Exclusive Or) ก่อนอื่นให้ทาการพิจารณาผลจากการใช้ตวั ดาเนิ นการทั้ง 4 นี้
ดังนี้
ตัวดำเนินกำรทำงตรรกะ
ตัวกระทำที่1
True
True
False
False
ตัวกระทำ
True
False
ตัวกระทำที่ 2
True
False
True
False
Not
False
True
And
True
False
False
False
Or
True
True
True
False
xor
False
True
True
False
ตัวดำเนินกำรทำงตรรกะ
ตัวดาเนินการ
และ (And)
หรื อ (Or)
นิเสธ (Not)
xor
(Exclusive Or)
สัญลักษณ์
&& หรื อ and
| | หรื อ Or
!
^ หรื อ xor
ตัวอย่าง
($a > $b) && ($c > $d) (ได้ ผลลัพธ์ค่าความจริงเป็ นเท็จ
($a > $b) | | ($c > $d) (ได้ ผลลัพธ์ค่าความจริงเป็ นจริง
(!($a > $b) && ($c > $d) (ได้ ผลลัพธ์ค่าความจริงเป็ นจริง
!(($a > $b) | | ($c > $d) (ได้ ผลลัพธ์ค่าความจริงเป็ นเท็จ
($a > $b) ^ ($c > $d) (ได้ ผลลัพธ์ค่าความจริงเป็ นจริง
ตัวดำเนินกำรทำงตรรกะ
<?php
$a = 10;
$b = 3;
$c = 5;
$d = 7;
$logic_and = ($a > $b;) && ($c > $d);
$logic_Or = ($a > $b) | | ($c > $d);
$logic_not1 = !(($a > $b) && ($c > $d));
$logic_not2 = !(($a > $b) | | ($c > $d));
$logic_xor = ($a > $b;) ^ ($c > $d);
echo “$a = = มีค่าความจริ งเท่ากับ $equal <br>”;
echo “($a > $b;) && ($c > $d) มีค่าความจริ งเท่ากับ $logic_and <br>”;
echo “($a > $b) | | ($c > $d) มีค่าความจริ งเท่ากับ $logic_or <br>”;
echo “!(($a > $b) && ($c > $d)) มีค่าความจริ งเท่ากับ $logic_not1 <br>”;
echo “!(($a > $b) | | ($c > $d)) มีค่าความจริ งเท่ากับ $logic_not2 <br>”;
echo “($a > $b;) ^ ($c > $d) มีค่าความจริ งเท่ากับ $logic_xor <br>”;
?>
ตัวดำเนินกำรสตริง
ตัวดาเนินการทางสตริ งเป็ นตัวดาเนินการที่ใช้จดั การข้อมูลประเภทอักขระ
หรื อข้อความตัวดาเนินการสตริ งจะมีเพียง 1 ตัวดาเนินการคือ ตัวดาเนิ นการต่อสตริ ง
(Concatenation Operator) สัญลักษณ์ที่ใช้เป็ นเครื่ องหมาย . (จุด) โดยตัวดาเนินการ
ต่อสตริ งนี้สามารถใช้เชื่อมต่อสตริ ง 2 สตริ งเข้าด้วยกัน หรื อใช้เชื่อมต่อสตริ งกับ
ข้อมูลในตัวแปรก็ได้
<?php
$a = “Mr.”;
$b = “Chanchai”;
$c = “Supaartagorn”;
Echo $a.$b.” “$c;
?>
ตัวดำเนินกำรระดับบิต
ตัวดาเนินการระดับบิตเป็ นตัวดาเนินการที่กระทากับตัวเลขฐาน 2 ดังนัน้
ก่อนที่ตวั ดาเนินการในกลุม่ นี ้จะทาการประมวลผลก็จะมีการแปลงตัวเลขใดๆ ให้ เป็ น
กลุ่มของตัวเลขฐาน 2 เสียก่อนการทางานของตัวดาเนินการในกลุ่มนี ้สามารถสรุ ป
ได้ ดงั ตารางต่อไปนี ้
ตัวดาเนินการ
Shift left
Shift right
สัญลักษณ์
<<
>>
ตัวอย่าง
$a << 2 (มีค่าเท่ากับ 56)
$a >> 2 (มีค่าเท่ากับ 3)
นิพจน์ และลำดับกำรประมวลผลของนิพจน์
นิพจน์ (Expression) เกิดจาก ค่าคงที่ ตัวแปร หรื อ ตัวเลข มากระทากับ
ตัวดาเนินการ (Operator) ในทางคณิ ตศาสตร์ นิพจน์เราอาจจะมองว่าเป็ นสมการ หรื อ
อสมการก็ได้ พิจารณาตัวอย่างของนิ พจน์จากตรารางต่อไปนี้
ตัวดาเนินการ
$a = 5 + 6
$a = $b * $c
ลักษณะของนิพจน์
นิพจน์นี ้เกิดจากตัวเลข 5 และ 6 ถูกนามากระทาตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ คือ เครื่ องหมาย
บวก เมื่อบวกกันแล้ วก็จะนาค่าที่ได้ ไปเก็บไว้ ในตัวแปร $a
นิพจน์นี ้เกิดจากตัวแปร $b และ $c ถูกนามากระทากับตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ คือ
เครื่ องหมายคูณ เมื่อคูณกันแล้ วก็จะนาค่าที่ได้ ไปเก็บไว้ กบั ตัวแปร $a
ตัวดาเนินการ
(3 > 5) && (7 < > 8)
ลักษณะของนิพจน์
นิพจน์นี ้เกิดจากนิพจน์ย่อย 2 ชุดแรก (3 > 5) เป็ นนิพจน์ที่เกิดจากตัวเลข 3 และ 5 กระทากับตัว
ดาเนินการเปรี ยบเทียบ คือ เครื่ องหมายมากกว่า นิพจน์ชดุ ที่สอง (7 < > 8) เป็ นนิพจน์ที่เกิดจาก
ตัวเลข 7 และ 8 กระทากับตัวดาเนินการเปรี ยบเทียบ คือ เครื่ องหมายไม่เท่ากับ หลังจากนันก็
้
จะนานิพจน์ย่อยทังสองมากระท
้
ากับตัวดาเนินการทางตรรกะ คือเครื่ องหมาย And
นิพจน์ และลำดับกำรประมวลผลของนิพจน์
นิพจน์ และลำดับกำรประมวลผลของนิพจน์
<?php
$a = (4 + 5) * 3;
$b = 5 + 5 – 3;
echo “ค่าของตัวแปร \$a มีค่าเท่ากับ $a <br>”;
echo “ค่าของตัวแปร \$b มีค่าเท่ากับ $b <br>”;
?>