Web programming II: PHP แท็ก (PHP tag) และการคอมเมนต์ (Comment)

Download Report

Transcript Web programming II: PHP แท็ก (PHP tag) และการคอมเมนต์ (Comment)

PHP:
[3] ต ัวแปร (Variable)
ตัวแปร (Variables)
่
หมายถึง ตัวแทนของข้อมู ล ซึงอยู
่
่ การ
ในหน่ วยความจาของเครือง
เขียนโปรแกรมจาเป็ นต้องมีการใช้ตวั
่ กเก็บข้อมู ล
แปรประเภทต่าง ๆ เพือพั
ในระหว่างการทางานของโปรแกรม
การประกาศต ัวแปร
้ นด้วยเครืองหมาย
่
ขึนต้
$ (Dollar
sign)
 PHP จะให้ความสาค ัญกับตว
ั อ ักษร
พิมพ ์เล็ก-พิมพ ์ใหญ่ของตัวแปร
 การกาหนดตัวแปรของ PHP ไม่ตอ
้ ง
กาหนดชนิ ดข้อมู ล (Data type)
ในขณะประกาศต ัวแปร PHP จะ
พิจารณาชนิ ดข้อมู ลของต ัวแปรจาก

รู ปแบบการเขียนแท็กเปิ ด
และแท็กปิ ด
<html><head>
<title>การกาหนดตัวแปร</title>
</head><body>
<?php
$num = 125;
//ตัวแปร $num เก็บค่า 125
$Num = 100;
//ตัวแปร $Num เก็บค่า 100
$NUM = 200;
//ตัวแปร $NUM เก็บค่า 200
$nUm = 250;
//ตัวแปร $nUm เก็บค่า 250
$nuM = 500;
//ตัวแปร $nuM เก็บค่า 500
echo "$num<br>";
echo "$Num<br>";
echo "$NUM<br>";
echo "$nUm<br>";
echo "$nuM<br>";
?>
</body></html>
ex7_01.php
่
ชนิ ดข้อมู ลทีสามารถใช้
งานใน PHP
ชนิ ดข้อมู ล (Data type) ที่
สามารถใช้งานใน PHP แบ่งได้ 3
กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี ้
ชนิ ดข้อมู ลแบบค่าเดียว (Scalar
type)
 ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า
(Compound type)

ชนิ ดข้อมู ลแบบค่าเดียว
(Scalar type)
ข้อมู ลชนิ ดตรรกะ (Boolean)
 ข้อมู ลชนิ ดเลขจานวนเต็ม
(Integer)
 ข้อมู ลชนิ ดเลขจานวน
ทศนิ ยม (Floating-point
number, Real number)

(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดตรรกะ
(Boolean)

่ คา
เป็ นชนิ ดข้อมู ลทีมี
่ ได้เพียง 2
ค่า คือ
จริง (True)
 เท็จ (False)

(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดเลขจานวนเต็ม
(Integer)
เป็ นต ัวเลขจานวนเต็มใด ๆ (จานวน
เต็มบวก, จานวนเต็มลบ และจานวน
เต็มศู นย ์)
 เราสามารถกาหนดค่าต ัวเลขใน
่
รู ปแบบต่าง ๆ ทีนอกเหนื
อ จาก
เลขฐานสิบ ด ังนี ้


ฐานแปด ให้นาหน้าด้วย 0
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดเลขจานวนเต็ม
(Integer)
<html><head>
ex7_02.php
<title>ตัวแปร integer</title>
</head><body>
<?php
$num1 = 25;
//ตัวแปร $num1 เก็บค่า 25
$num2 = 025;
//ตัวแปร $num2 เก็บค่า 25 ฐานแปด
$num3 = 0x25; //ตัวแปร $num3 เก็บค่า 25 ฐานสิบหก
echo "ค่าของ 25 ในรูปฐาน 10 คือ $num1<br />";
echo "ค่าของ 025 ในรูปฐาน 8 คือ $num2<br />";
echo "ค่าของ 0x25 ในรูปฐาน 16 คือ $num3<br />";
?>
</body></html>
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดเลขจานวน
ทศนิ ยม
เป็ นต ัวเลขแบบทศนิ ยม, เศษส่วน
หรือจานวนจริง

<html><head>
<title>ตัวแปร float</title>
</head><body>
<?php
$num1 = 3.14;
$num2 = 1.3e4;
$num3 = 5e-3;
echo "ค่าของ \$num1 คือ $num1<br />";
echo "ค่าของ \$num2 คือ $num2<br />";
echo "ค่าของ \$num3 คือ $num3<br />";
?>
</body></html>
ex7_03.php
ชนิ ดข้อมู ลแบบค่าเดียว
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดสตริง (String)
่ ดจากการนาต ัวอ ักษร
เป็ นข้อมู ลทีเกิ
่
มาประกอบก ัน ซึงตามมาตรฐาน
้ ต ัวอ ักษร 1 ต ัว จะเท่ากบ
ASCII นัน
ั 1
ไบต ์
 เราสามารถกาหนดค่าให้ก ับตว
ั แปร
่ ยกว่า
ชนิ ดสตริงได้โดยใช้สงที
ิ่ เรี
่
String literal ซึงหมายถึ
งการบรรจุ
่

ชนิ ดข้อมู ลแบบค่าเดียว
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดสตริง (String)

ข้อแตกต่างของ " (Double
quote) และ ' (Single quote)

่
เครืองหมาย
Double quote ถ้า
PHP พบว่ามีการอ้างต ัวแปรภายใน
่
เครืองหมาย
Double quote ก็จะ
่ ดว้ ยค่าของตวั แปรนัน
้ เรา
แทนทีให้
่
จึงสามารถสร ้าง String literal ทีมี
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดสตริง (String)
<html><head>
<title>ตัวแปรภายใต้ Double quote</title>
</head><body>
<?php
$firstname = "สมโภชน์";
$lastname = "ตามสายลม";
echo "ชือ
่ $firstname ";
echo "นามสกุล $lastname";
?>
</body></html>
ex7_04.php
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดสตริง (String)
<html>
<head>
<title>การใช้ \ หน้าตัวแปร</title>
</head><body>
<?php
$firstname = "สมโภชน์";
$lastname = "ตามสายลม";
echo "ตัวแปร \$firstname เก็บข้อความ $firstname ไว้<br />";
echo "ตัวแปร \$lastname เก็บข้อความ $lastname ไว้";
?>
</body></html>
ex7_05.php
ชนิ ดข้อมู ลแบบค่าเดียว
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดสตริง (String)

่
่ ๆ
การใช้เครืองหมาย
\ นาหน้าต ัวอ ักษรอืน
่
้ เราเรียกว่า
เพือให้
มค
ี วามหมายพิเศษนัน
Escape sequences ความหมาย
Escape
sequences
่ ขนบรรทั
\n
ตวั อ ักษรทีใช้
ึ้
ดใหม่ (ค่า 10 ใน
ระบบ ASCII)
\r
ตัวอ ักษร Carriage return (ค่า 13 ใน
ระบบ ASCII)
\t
ตัวอ ักษรแท็บ (ค่า 9 ในระบบ ASCII)
\\
แสดงตัวอ ักษร \
ชนิ ดข้อมู ลแบบค่าเดียว
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดสตริง (String)

ข้อแตกต่างของ " (Double
quote) และ ' (Single quote)

่
เครืองหมาย
Single quote ภายใน
่
เครืองหมาย
Single quote นี ้ PHP
จะไม่แสดงค่าต ัวแปรใด ๆ
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดสตริง (String)
<html>
<head>
<title>ตัวแปรภายใต้ Single quote</title>
</head><body>
<?php
$firstname = "สมโภชน์ ";
echo 'ชือ
่ $firstname \n';
?>
</body></html>
ex7_06.php
ชนิ ดข้อมู ลแบบค่าเดียว
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดสตริง (String)

การอ้างถึงตัวอ ักษรใน String ทา
ได้โดยระบุต ัวเลขลาดับของ
่ องการไว้ภายใน
ตัวอ ักษรทีต้
่
เครืองหมายปี
กกา {} ต่อท้ายตัว
แปรชนิ ด String โดยตัวอ ักษรแรก
สุดจะมีเลขลาดับเป็ น 0
(Scalar type):
ข้อมู ลชนิ ดสตริง (String)
<html><head>
<title>อ้างถึงตัวอักษรใน String</title>
</head><body>
<?php
$str = "สมโภชน์ ตามสายลม";
//ระบุอาร์กวิ เมนต์ตามหลังฟังก์ช่น
ั echo มากกว่า 1 อาร์กวิ เมนต์
//โดยคัน
่ ด้วยเครือ
่ งหมายจุลภาค (,)
echo $str{0}, "<br />";
echo $str{1}, "<br />";
echo $str{2}, "<br />";
echo $str{3}, "<br />";
echo $str{4}, "<br />";
?>
</body></html>
ex7_07.php
ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า
่
เป็ นชนิ ดข้อมู ลทีสามารถเก็
บ
ค่าได้มากกว่า 1 ค่า ประกอบด้วย
 ข้อมู ลชนิ ดอาร ์เรย ์ (Array)
 ข้อมู ลชนิ ดออบเจ็ค (Object)
ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า:
ข้อมู ลชนิ ดอาร ์เรย ์ (Array)
่ บค่าตังแต่
้
เป็ นชนิ ดข้อมู ลทีเก็
้
่ ยวกัน
1 ค่า ขึนไป
ไว้ในชือเดี
่
เพือให้
ง่ายต่อการจดจาและ
นาไปใช้งาน โดยมีอน
ิ เด็กซ ์
(Index) เป็ นตัวระบุตาแหน่ งของ
่ ่ภายใน
แต่ละข้อมู ลทีอยู
ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า:
ข้อมู ลชนิ ดอาร ์เรย ์ (Array)
<html><head>
<title>ตัวแปร array</title>
</head><body>
<?php
//สร้างตัวแปรชนิดอาร์เรย์ชือ
่ myArr ซึง่ เป็ นอาร์เรย์ 4 มิติ มี 4 สมาชิก
//จะกล่าวถึงการสร้างตัวแปรอาร์เรย์ในภายหลัง
$myArr = array("สมโภชน์", "ตามสายลม", "PHP", "ASP");
//ใช้โอเปอร์เรเตอร์ . (จุด) ในการต่อสตริง
echo $myArr[0] . "<br />"; //แสดงค่าของสมาชิกตัวแรกของอาร์เรย์
echo $myArr[1] . "<br />"; //แสดงค่าของสมาชิกตัวที่ 2 ของอาร์เรย์
echo $myArr[2] . "<br />"; //แสดงค่าของสมาชิกตัวที่ 3 ของอาร์เรย์
echo $myArr[3] . "<br />"; //แสดงค่าของสมาชิกตัวที่ 4 ของอาร์เรย์
?>
</body></html>
ex7_08.php
ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า:
ข้อมู ลชนิ ดอาร ์เรย ์ (Array)
ค่าของ Index
่ ในการอ้าง
ทีใช้
ถึงสมาชิกต่าง
ๆ ของอาร ์เรย ์
สามารถเป็ นได้
้ วเลขและ
ทังตั
ตัวอ ักษร
<html><head>
<title>ตัวแปร array</title>
</head><body>
<?php
//จะกล่าวถึงการสร้างตัวแปรอาร์เรย์ในภายหลัง
$a = array( 'name' => 'ผลส้ม',
'color' => 'สีสม
้ ',
'shape' => 'กลม',
'taste' => 'หวาน');
echo "ชือ
่ ผลไม้: " . $a['name'] . "<br />";
echo "สี: " . $a['color'] . "<br />";
echo "รูปร่าง: " . $a['shape'] . "<br />";
echo "รสชาติ: " . $a['taste'] . "<br />";
?>
</body></html>
ex7_09.php
ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า:
การสร ้างตัวแปรอาร ์เรย ์
 รู ปแบบ
array([key=>] value, …)
 ความหมาย

้ ๆ ของ
key คือ อินเด็กซ ์ของสมาชิกนัน
อาร ์เรย ์ จะเป็ นตวั เลขหรือตวั อ ักษรก็ได้
ถ้าเราไม่กาหนดอินเด็กซ ์ PHP จะสร ้าง
อินเด็กซ ์ชนิ ดจานวนเต็มให้อ ัตโนมัต ิ
่
โดยเริมจาก
0
่
ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า:
การสร ้างตัวแปรอาร ์เรย ์
<html><head>
ex7_10.php
<title>ตัวแปร array</title>
</head><body>
<?php
//สร้างตัวแปร 1 มิติ ชือ
่ $myarr
$myarr = array("สมโภชน์", "ตามสายลม", "PHP");
/* อินเด็กซ์ของตัวแปรจะเริม
่ จาก 0 ดังนัน
้ เราสามารถอ้างถึงแต่ละสมาชิกในอาร์เรย์ขา้ งต้นได้
โดยใช้ $myarr[0], $myarr[1] และ $myarr[2] */
for ($i=0; $i<=count($myarr)-1; $i++) {
-คาสัง่ for เป็ น
echo $myarr[$i] . "<br />\n";
่
คาสังในการวน
}
ซา้ (looping)
?>
-ฟั งก ์ช ัน count
</body></html>
เป็ นฟั งก ์ช ัน
สาหร ับการนับ
ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า:
การสร ้างตัวแปรอาร ์เรย ์
<html><head>
<title>ตัวแปร array</title>
</head><body>
<?php
$myarr = array(1=>900, "user"=>"สมโภชน์", "code"=>25);
echo $myarr[1] . "<br />\n";
echo $myarr["user"] . "<br />\n";
echo $myarr["code"] . "<br />\n";
?>
</body></html>
ex7_11.php
ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า:
การสร ้างตัวแปรอาร ์เรย ์
หลายมิต ิ
<?php
ex7_12.php
$myarr = array(
//สมาชิกตัวแรกของ $myarr
"user" => array("สมโภชน์ " => "c121", "SOM"=>"e552"),
//สมาชิกตัวที่ 2 ของ $myarr
"color" => array("black" => "#000000", "white" => array("A" => "#FFFFFF", "B" => "white")),
//สมาชิกตัวที่ 3 (ตัวสุดท้าย) ของ $myarr
3 => 1250 );
echo $myarr["user"]["สมโภชน์ "] . "<br />\n";
echo $myarr["user"]["SOM"] . "<br />\n";
echo $myarr["color"]["black"] . "<br />\n";
echo $myarr["color"]["white"]["A"] . "<br />\n";
echo $myarr["color"]["white"]["B"] . "<br />\n";
echo $myarr[3] . "<br />\n";
?>
่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
ฟั งก ์ช ัน count() ใช้นบ
ั จานวน
<html><head>
สมาชิ
ก
ของอาร
์เรย
์
<title>array function</title>

</head><body>
<?php
$myarr = array("PHP Building", 125.00, 512);
echo "ตัวแปร \$myarr มีจานวนสมาชิก = " . count($myarr);
?>
</body></html>
ex7_13.php
่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
ฟั งก ์ช ัน each() ใช้ในการเรียกดู สมาชิก
ต่าง ๆ ของอาร ์เรย ์ โดยจะส่งอินเด็กซ ์และค่า
ของสมาชิกปั จจุบน
ั ของอาร ์เรย ์กลับมาให้
่
<html><head>
แล้วเลือนเคอร
์เซอร ์ของอาร ์เรย ์ไปยังex7_14.php
<title>array function</title>
สมาชิกตัวถัดไป
</head><body>

<?php
$myarr = array("SOM" => "Writer", 2 => 500.25, "Magic" => "PHP Code");
$get = each($myarr);
ผลลัพธ ์จะอยู ่ในรู ปของ
echo $get[0] . " = " . $get[1] . "<br />\n";
่ สมาชิก 2 ตัว
อาร ์เรย ์ทีมี
echo $get['key'] . " = " . $get['value'] . "<br />\n";
ตัวแรกมีอน
ิ เด็กซ ์ 0 (หรือ
?>
“key”) จะเก็บอินเด็กซ ์
</body></html>
ของสมาชิกตัวปั จจุบน
ั ของ
่
่ อน
อาร ์เรย ์ ตัวทีสองซึ
งมี
ิ
่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
่
ฟั งก ์ช ัน list() เป็ นฟั งก ์ช ันทีใช้
กาหนดค่าให้กบ
ั ตัวแปร เสมือนว่าตัว
้ อ สมาชิกของอาร ์เรย ์
แปรเหล่านันคื
 รู ปแบบ
list(ตัวแปร, …) = ตัวแปร
อาร ์เรย ์;

่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
<html><head>
ex7_15.php
<title>array function</title>
</head><body>
<?php
$info = array('สมโภชน์', 'ตามสายลม', 'ครู');
list($firstname, $lastname, $occupation) = $info;
echo "ชือ
่ $firstname นามสกุล $lastname อาชีพ $occupation<br />\n";
list($firstname, , $occupation) = $info;
echo "ชือ
่ $firstname อาชีพ $occupation<br /><br />\n";
//ทดสอบการใช้ฟงั ก์ชน
ั่ list() ร่วมกับ each()
$myarr = array( "SOM" => "Writer", 2 => 500.25, "Magic" => "PHP Code");
while (list($key, $data) = each($myarr)) {
echo "อินเด็กซ์: $key, ค่า: $data<br />\n";
}
?>
</body></html>
่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
่
ฟั งก ์ช ัน sort() เป็ นฟั งก ์ช ันทีใช้
เรียงลาดับสมาชิกของอาร ์เรย ์จาก
น้อยไปหามาก (A ไป Z)
่
 ฟั งก ์ช ัน rsort() เป็ นฟั งก ์ช ันทีใช้
เรียงลาดับสมาชิกของอาร ์เรย ์จาก
มากไปหาน้อย (Z ไป A)

่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
<html><head>
<title>array function</title>
</head><body>
<?php
$myarr = array(
"SOM" => "Writer", 2 => 500.25, "Magic" => "PHP Code",
8 => 120, "user" => "สมโภชน์", "test" => "การเขียน PHP"
);
sort($myarr);
?>
<table border="1" width="100%"><tr><td>
<b>เรียงจากน้อยไปหามาก</b><br />
<?php
for ($i=0; $i<=count($myarr)-1; $i++) {
echo $myarr[$i] . "<br />\n";
}
?>
ex7_16.php
มีตอ
่
่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
</td>
<?php
rsort($myarr);
?>
<td><b>เรียงจากมากไปหาน้อย</b><br />
<?php
for ($i=0; $i<=count($myarr)-1; $i++) {
echo $myarr[$i] . "<br />\n";
}
?>
</td></tr></table>
</body></html>
ต่อ
่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
<html><head>
ex7_17.php
<title>array</title>
</head><body>
<?php
$thDay = array( "Sun" => "อาทิตย์", "Mon" => "จันทร์", "Tue" => "อังคาร",
"Wed" => "พุธ", "Thu" => "พฤหัสบดี", "Fri" => "ศุกร์", "Sat" => "เสาร์");
$thMonth = array( 1 => "มกราคม", 2 => "กุมภาพันธ์", 3 => "มีนาคม",
4 => "เมษายน", 5 => "พฤษภาคม", 6 => "มิถน
ุ ายน", 7 => "กรกฎาคม",
8 => "สิงหาคม", 9 => "กันยายน", 10 => "ตุลาคม", 11 => "พฤศจิกายน",
12 => "ธันวาคม");
echo "วัน" . $thDay[date('D')] . "ที่ " . date('j') . " เดือน" .
$thMonth[date('n')] . " พ.ศ. " . (date('Y') + 543);
?>
ฟั งก ์ช ัน date()
</body></html>
จะกล่าวถึงใน
ภายหลัง
ชนิ ดข้อมู ลแบบหลายค่า:
ข้อมู ลชนิ ดออบเจ็ค
(Object)
่
เป็ นชนิ ดข้อมู ลทีตอบสนองต่
อ
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
(Object-Oriented
Programming – OOP)
ชนิ ดข้อมู ลพิเศษ
(Special type)

ข้อมู ลชนิ ด Resource เป็ นตัวแปร
่ บ Reference ของทร ัพยากร
ทีเก็
่ ๆ ไว้ การสร ้างและใช้
ภายนอกอืน
้
งานทร ัพยากรเหล่านี จะต้
องอาศ ัย
ฟั งก ์ช ันพิเศษ เช่น ฟั งก ์ช ันที่
้ นว่า xml_ , ฟั งก ์ช ันทีขึ
่ นต้
้ น
ขึนต้
ว่า com_ เป็ นต้น
ค่า:
่
่
ฟั งก ์ช ันทีเกียวข้องกับ
อาร ์เรย ์
<html><head>
<title>null data type</title>
</head><body>
<?php
$Str = "ทดสอบ";
echo "ค่าของตัวแปร \$Str ขณะนี้คอ
ื $Str<br />\n";
$Str = Null;
echo "ค่าของตัวแปร \$Str ขณะนี้คอ
ื $Str<br />\n";
?>
</body></html>
ex7_18.php
การแปลงชนิ ดข้อมู ล
สามารถทาได้ 2 วิธ ี คือ
การแปลงชนิ ดข้อมู ลด้วยวิธ ี
Cast
 การแปลงชนิ ดข้อมู ลด้วย
ฟั งก ์ช ัน settype()

การแปลงชนิ ดข้อมู ล:
ด้วยวิธ ี Cast
เป็ นการระบุชนิ ดข้อมู ลที่
ต้องการไว้หน้าตัวแปร
(int), (integer) ใช้แปลงเป็ น
ข้อมู ลชนิ ดจานวนเต็ม
 (real), (double), (float) ใช้
แปลงเป็ นข้อมู ลชนิ ดจานวน
ทศนิ ยม

่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
ex7_19.php
<html><head>
<title>casting</title>
</head><body>
<?php
$num = 1250.625; //ตัวแปรชนิดจานวนทศนิยม
echo "ค่าของตัวแปรก่อนการแปลงชนิดข้อมูล : $num<br />\n";
$num = (int) $num;
//แปลงเป็ นข้อมูลชนิดจานวนเต็ม ซึง่ ตัวเลขหลังจุดทศนิยมจะถูกตัดทิง้ ไป
echo "ค่าของตัวแปรหลังการแปลงชนิดข้อมูล : $num<br />\n";
?>
</body></html>
การแปลงชนิ ดข้อมู ล:
ด้วยฟั งก ์ช ัน settype()
รู ปแบบ
settype(ตัวแปร, ชนิ ด
ข้อมู ล)

่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
อาร ์เรย ์
ex7_20.php
<html><head>
<title>settype() function</title>
</head><body>
<?php
$num = 1250.625;
//ตัวแปรชนิดจานวนทศนิยม
echo "ค่าของตัวแปรก่อนการแปลงชนิดข้อมูล : $num<br />\n";
settype($num,"integer"); //แปลงเป็ นจานวนเต็ม
echo "ค่าของตัวแปรหลังการแปลงชนิดข้อมูล : $num<br />\n";
?>
</body></html>
่
่
ฟั งก ์ช ันทีเกียวข้องกับ
ตัวแปร
่
 ฟั งก ์ช ัน gettype() เป็ นฟั งก ์ช ันทีใช้
ตรวจสอบชนิ ดข้อมู ลของต ัวแปร
 รู ปแบบ gettype(ตัวแปร)
่
 ฟั งก ์ช ัน empty() เป็ นฟั งก ์ช ันทีใช้
ตรวจสอบต ัวแปรว่าเก็บข้อมู ลไว้
หรือไม่ โดยถ้าเก็บข้อมู ลไว้จะคืนค่า
เท็จ (false) แต่ถา้ ไม่ได้เก็บข้อมู ลใด
ๆ ไว้ (ต ัวแปรมีคา
่ เป็ น Null) ก็จะคืน
ค่าจริง (true) มาให้
่
่
ฟั งก ์ช ันทีเกียวข้องกับ
ตัวแปร
่
 ฟั งก ์ช ัน isset() เป็ นฟั งก ์ช ันทีใช้
่ ระบุ
่
ตรวจสอบว่ามีต ัวแปรตามชือที
หรือไม่ ถ้ามีจะคืนค่าจริง (true) มาให้
้
มิฉะนันจะคื
นค่าเท็จ (false) นอกจาก
้ กกาหนดค่าเป็ น
นี ้ ถ้าต ัวแปรนันถู
Null ฟั งก ์ช ัน isset() จะคืนค่าเท็จ
(false) มาให้
 รู ปแบบ
isset(ตัวแปร)
่
 ฟั งก ์ช ัน unset() เป็ นฟั งก ์ช ันทีใช้
่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
ตัวแปร:
ฟั
งก
์ช
ัน
gettype()
<html><head>
<title>gettype() function</title>
</head><body>
<?php
$var = 125.22;
echo gettype($var) . "<br />\n";
$var = 500;
echo gettype($var) . "<br />\n";
$var = "ทดสอบ";
echo gettype($var) . "<br />\n";
?>
</body></html>
ex7_21.php
่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
ตัวแปร:
ฟั งก ์ช ัน empty()
<html><head>
<title>empty() function</title>
</head><body>
<?php
$num = 125; //สร้างตัวแปร และกาหนดค่าให้
if (empty($num)) {
echo "ตัวแปร num ไม่ได้เก็บข้อมูลใดๆไว้<br />\n";
}
else {
echo "ตัวแปร num มีขอ
้ มูลอยูแ
่ ล้ว<br />\n";
}
$num = Null; //กาหนดค่าว่าง (Null) ให้แก่ตวั แปร num
if (empty($num)) {
echo "ตัวแปร num ไม่ได้เก็บข้อมูลใดๆไว้<br />\n";
}
else {
echo "ตัวแปร num มีขอ
้ มูลอยูแ
่ ล้ว<br />\n";
}
?>
</body></html>
ex7_22.php
หมายเหตุ
คาสัง่ if จะ
กล่าวถึงใน
ภายหลัง
่ ยวข้
่
ฟั งก ์ช ันทีเกี
องกับ
ตัวแปร:
ฟั งก ์ช ัน isset()
<html><head>
<title>isset() function</title>
</head><body>
<?php
$num = 125; //สร้างตัวแปร และกาหนดค่าให้
echo "ก่อน unset(\$num): ";
if (isset($num)) {
echo "มีตวั แปร num<br />\n";
}
else {
echo "ไม่มีตวั แปร num<br />\n";
}
unset($num); //ทาลายตัวแปร num
echo "หลัง unset(\$num): ";
if (isset($num)) {
echo "มีตวั แปร num<br />\n";
}
else {
echo "ไม่มีตวั แปร num<br />\n";
}
?>
</body></html>
ex7_23.php
หมายเหตุ
คาสัง่ if จะ
กล่าวถึงใน
ภายหลัง
่
ค่าคงที (Constant)
เราสามารถกาหนดค่าคงที่
้
ขึนมาในโปรแกรมได้
โดยใช้คาสัง่
่
define() เพือความสะดวกในการ
อ้างถึงค่าใดค่าหนึ่งบ่อย ๆ

่ าคงที,่ ค่า)
รู ปแบบ define(ชือค่
่
ค่าคงที (Constant)
ex7_24.php
<html><head>
<title>gettype() function</title>
</head><body>
<?php
//การประกาศและการอ้างถึงค่าคงที่ ไม่ตอ
้ งใส่ $ นาหน้า
define("Name", "สมโภชน์ ");
//ชือ
่ ค่าคงทีจ่ ะต้องอยูภ
่ ายในเครือ
่ งหมาย "
echo Name . "<br />\n";
?>
</body></html>