การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ โดย พลตรี เอนก

Download Report

Transcript การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ โดย พลตรี เอนก

การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอานวยการ
โดย พลตรี เอนก แสงส ุก
ผูท้ รงค ุณว ุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
คำถำม?
ความหมาย
•ผูบ้ งั คับบัญชา : ผูต้ กลงใจ
ผูต้ ดั สินใจ
•ฝ่ายอานวยการ : ผูใ้ ห้ขอ้ มูล
ผูเ้ สนอแนะ
ประเภทของฝ่ายอานวยการ
•ฝอ.ประจาตัว
•ฝ่ายกิจการพิเศษ
•ฝอ.ประสานงาน
ผบ. และ ฝอ.
•หน่วย
ผบ.
ฝอ.
บก.ทท. ผบ.ทสส. จก.สธร.ฯ
นขต.บก.ทท. เจ้ากรม ผอ.สานัก
สานัก
ผอ.สานัก ผอ.กอง
กอง
ผอ.กอง หน./ท ุกคน
หน้าที่ของ ฝอ.
•คิด เขียน พูด
จะทาได้ดีเพียงใด ขึ้นอยูก่ บั
•อ่าน ฟัง สร ุป
ข้อพิจารณาของ ฝอ.
•คือ ข้อมูล ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
และข้อเสนอแนะ ของ ฝอ.
ต่อเรือ่ งนัน้ ๆ
ร ูปแบบข้อพิจารณาของ ฝอ.
• แบบ 6 หัวข้อ
• แบบ 4 หัวข้อ และ 4 ข้อ
• แบบ 3 ข้อ
• แบบ 2 ข้อ
แบบ 6 หัวข้อ
1. ปัญหา …
2. สมมุติฐาน …
3. ข้อเท็จจริง …
4. ข้อพิจารณา …
5. ข้อสร ุป …
6. ข้อเสนอ ...
แบบ 4 หัวข้อ และ 4 ข้อ
1. ..… (ปัญหา) …..
1. ปัญหา …..
2. ข้อเท็จจริง ….. 2. ข้ อเท็จจริง …..
3. ข้อพิจารณา …..3. ข้ อพิจารณา …..
4. ข้อเสนอ ….. 4. ข้ อเสนอ …..
1. ..….
2. ……
3. ……
4. ข้อเสนอ
แบบ 3 ข้อ
1. … (ปัญหา หรือปัญหา + ข้อเท็จจริง)
2. … (ข้อเท็จจริง + ข้อพิจารณา หรือ
ข้อพิจารณา) …..
3. ข้อเสนอ …..
แบบ 2 ข้อ
1. ….. (ปัญหา + ข้อเท็จจริง +
ข้อพิจารณา) …..
2. ข้อเสนอ …..
ความหมาย
• ปัญหา : เรือ่ งที่จะขออน ุมัติ
• ข้อเท็จจริง : ข้อมูลเกี่ยวกับเรือ่ งนี้
• ข้อพิจารณา : ความเห็นต่อเรื่องนี้
• ข้อเสนอ : ให้ใคร ทาอะไร เมื่อไร
ที่ไหน อย่างไร
สิ่งที่ตอ้ งยึดถือ
•หลักการ
•แบบธรรมเนียมของหน่วย
•นโยบายของ ผบ.
เทคนิคในการร่างหนังสือ





ใครลงนาม ร่างกี่ฉบับ
คิดข้อเสนอก่อน
ผอ.กอง จะเสนอ เจ้ากรม อย่างไร
เจ้ากรม จะเสนอ ผบ.ทสส. อย่างไร
สวมวิญญาณเป็นผูล้ งนาม
•แยกข้อเท็จจริง กับ ข้อพิจารณา
•อาจใช้กระดาษโน้ตช่วย
•คิดข้อ 1 ในใจ
•ฉบับ เจ้ากรม เรียน ผบ.ทสส.
สาคัญกว่า ฉบับ ผอ.กอง เรียน
เจ้ากรม
• พิมพ์ครัง้ ที่ 1 ในกระดาษเสีย
• ปรับแก้
• พิมพ์จริง
ขัน้ ตอนการร่างหนังสือ
• อ่าน สร ุป คิดโครงร่าง วางแผนการ
เขียน
• ศึกษาเอกสาร ประสานงาน
• ลงมือร่างหนังสือ และหนังสือ
ประกอบ
สร ุปเทคนิคการร่างหนังสือ
•สวมวิญญาณเป็นผูล้ งนาม
•คิดและเขียนแบบผูล้ งนาม
•รน้ ู ิสยั ของผูล้ งนามยิ่งดี
•รค้ ู วามสัมพันธ์กบั ผูร้ บั ยิง่ ดี
•เขียนให้เป็นสานวนของผูใ้ หญ่
•ใช้เนื้อหาที่ต่างกันใน 2 ฉบับ
•เรือ่ งที่ ผบ.ชัน้ สูง ไม่จาเป็นต้อง
ทราบ สร ุปสัน้ ๆ
•อ่านแล้วถามตัวเองว่า 6w?
•คิดข้อเสนอก่อนทัง้ 2 ฉบับ
•แล้วค่อยคิดต่อว่าจะเขียนข้อใด
อย่างไร ใช้ร ูปแบบใด
• ข้อ 1 ใคร อะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร
เพื่ออะไร
• ข้อ 2 รวบรวมความจริงเรือ่ งนัน้
• อาจใช้คาอื่น เช่น
2.เรือ่ งตามข้อ 1 สร ุปได้ดงั นี้
2.กองฯ ขอเรียนดังนี้
2.เรือ่ งเดิม
2.ความเป็นมา
2.กองฯ พิจารณาและดาเนินการดังนี้
• ข้อ 3 ข้อพิจารณา เขียนให้เป็น
ความเห็นของผูล้ งนาม ไม่ใช่ของผูร้ า่ ง
• ไม่ควรใช้คา เห็นควร ในข้อพิจารณา
ควรใช้ สมควร
• เนื้อหาของข้อพิจารณา : ประโยชน์
ผลดี ผลเสีย งบประมาณ อานาจตาม
กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง
• ข้อ 4 ข้อเสนอ ควรเขียนให้สมบูรณ์ใน
ตัวเอง ไม่ยอ่ สัน้ ไป แต่ไม่ตอ้ งลอก
ทัง้ หมด อาจใช้ “เห็นควร....ตามข้อ 1”
• ไม่ควรเขียนข้อเสนอให้อน ุมัติในข้อก่อน
• เรือ่ งเพื่อทราบแต่มีขออน ุมัติ
จะกลายเป็นเรือ่ งขออน ุมัติทนั ที
ข้อควรระวัง
• ถ้ามี “2.ข้อเท็จจริง”
ต้องมี “3.ข้อพิจารณา” เสมอ
• เรือ่ งขออน ุมัติ ต้องมี “ข้อเสนอ” เสมอ
• ไม่ควรเขียนข้อเสนอไว้ในข้อพิจารณา
แล้วเสนอให้อน ุมัติในข้อพิจารณา
สร ุปการร่างหนังสือควรยึดถือ
•หลักการ
•แบบธรรมเนียมของหน่วย
•นโยบายของ ผบ.
ข้อคิดในการทางานให้มีความส ุข
•อย่าดื้ออย่ารัน้
•ชนะแล้วได้อะไร
•รจ้ ู กั ปล่อยวาง
จบแล้ วครับ
เชิญทานข้าว