อนุสัญญาระหว่างประเทศ ว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคล

Download Report

Transcript อนุสัญญาระหว่างประเทศ ว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคล

อนุสัญญาระหว่ างประเทศ
ว่ าด้ วยการคุ้มครองมิให้ บุคคลถูกบังคับให้ สูญหาย
THE INTERNATIONAL CONVENTION FOR THE PROTECTION OF
ALL PERSONS FROM ENFORCED DISAPPEARANCE
ปกป้อง ศรี สนิท
คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เนือ้ หาการบรรยาย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ความหมายของการบังคับบุคคลให้ สูญหาย
องค์ ประกอบของการกระทาความผิด
การปราบปรามการบังคับบุคคลให้ สูญหาย
การป้องกันการบังคับบุคคลให้ สูญหาย
การเยียวยาผู้เสียหาย
บทสรุ ป
1. ความหมายของการบังคับบุคคลให้ สูญหาย
อนุสัญญาฯข้ อ 2 ได้ ให้ คานิยามของการสูญหายโดยถูกบังคับว่ า
หมายถึง “การจับกุม การคุมขัง การลักพาตัว หรือ การลิดรอนเสรีภาพรูปแบบอื่น
ที่กระทาโดยเจ้ าพนักงานของรัฐหรือโดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่กระทาการภายใต้
อานาจหรือการสนับสนุนหรือการยอมรับของรัฐ ตามด้ วยการปฏิเสธไม่ รับรู้การ
ลิดรอนเสรีภาพดังกล่ าวหรือโดยการปกปิ ดชะตากรรมหรือที่อยู่ของผู้สูญหาย ทา
ให้ ผ้ ูสูญหายอยู่นอกการคุ้มกันของกฎหมาย”
2. องค์ ประกอบของการกระทาความผิด
2.1 ผู้กระทา การบังคับบุคคลให้ สูญหายที่จะเป็ นความผิดตามอนุสัญญาฯ
จากัดเฉพาะการกระทาความผิดที่เกิดขึน้ จากการกระทาของ
(1) เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ หรือ
(2) บุคคลหรือกลุ่มบุคคลซึ่งดาเนินการภายใต้ อานาจ การสนับสนุน
หรือการยอมรับจากรัฐ
2.2 การกระทา คือ
(1) การจับกุม กักขัง ลักพาตัว หรื อการกระทาในรู ปแบบใด ๆ ก็
ตามที่เป็ นการลิดรอนสิ ทธิเสรีภาพ และ
(2) ปฏิเสธที่จะยอมรับว่ าได้ มีการลิดรอนสิ ทธิเสรีภาพ หรือ การ
ปกปิ ดชะตากรรม หรือที่อยู่ของบุคคลที่สูญหาย
2.3 วัตถุแห่ งการกระทา
บุคคลธรรมดา
2.4 องค์ ประกอบภายใน
เจตนา
2.5 ผลแห่ งการกระทา
ทาให้ ผ้ ถู ูกลิดรอนเสรีภาพอยู่นอกการคุ้มครองของกฎหมาย
3. การปราบปรามการบังคับบุคคลให้ สูญหาย
3.1 การกาหนดความรับผิดทางอาญา
ข้ อ 4 รั ฐภาคีต้องดาเนินมาตรการที่จาเป็ นเพื่อกาหนดให้ การบังคับ
บุคคลให้ สูญหายเป็ นความผิดอาญาภายใต้ กฎหมายอาญาภายในรั ฐตน
ข้ อ 1 บุคคลจะถูกบังคับให้ สูญหายมิได้
สถานการณ์ พิเศษทั้งหลาย ไม่ ว่าจะเป็ นสภาวะสงคราม สภาวะคุกคาม
จากสงคราม การขาดเสถียรภาพทางการเมืองภายในประเทศ รวมทั้งสถานการณ์
ฉุกเฉินใด ๆ ไม่ อาจถูกยกเป็ นข้ ออ้างของการกระทาให้ บุคคลสู ญหายได้
3.2 การบังคับบุคคลให้ สูญหาอย่ างเป็ นระบบหรืออย่ างกว้ างขวางจะเป็ น
อาชญากรรมต่ อมวลมนุษยชาติ
ข้ อ 5 การบังคับให้ บุคคลสูญหายที่เป็ นการกระทาแบบ
กว้ างขวางและเป็ นระบบย่ อมเป็ นอาชญากรรมต่ อมวลมนุษยชาติและมี
ผลให้ นากฎหมายระหว่ างประเทศที่เกี่ยวข้ องมาบังคับใช้
3.3 ความรับผิดของผูบ้ งั คับบัญชา
(COMMANDER AND SUPERIOR RESPONSIBILITY)
ข้ อ 6 ผู้บังคับบัญชาที่ร้ ู ว่าผู้ใต้ บังคับบัญชาจะไปกระทา
การหรื อได้ กระทาการบังคับบุคคลให้ สูญหาย หรื อ เพิกเฉยต่ อ
รายงานอย่ างเป็ นทางการว่ าผู้ใต้ บังคับบัญชาจะไปกระทาหรื อได้
กระทาการบังคับบุคคลให้ สูญหาย และ ไม่ ดาเนินการป้องกัน
หรื อลงโทษผู้ใต้ บังคับบัญชา จะมีความรั บผิดทางอาญา
3.4 เหตุเพิม่ โทษและเหตุบรรเทาโทษ
ข้ อ 7 อนุสัญญาได้ กาหนดเหตุบรรเทาโทษสาหรับผู้กระทาความผิดไว้
ในกรณีท่ ผี ้ ูนัน้ ได้ มีส่วนช่ วยให้ ค้นพบบุคคลผู้สูญหายในสภาพที่มีชีวิตอยู่ หรือมี
ส่ วนช่ วยให้ คดีคลี่คลาย หรือช่ วยชีต้ วั ผู้กระทาความผิด
ข้ อ 8 อนุสัญญาได้ กาหนดเหตุเพิ่มโทษในกรณีของการบังคับให้ บุคคลสูญ
หายนัน้ เป็ นผลให้ ผ้ ูเสียหายถึงแก่ ความตาย หรือเพิ่มโทษให้ กับผู้กระทาความผิด
ในกรณีของผู้เสียหายที่เป็ นสตรีมีครรภ์ ผู้เยาว์ ผู้พกิ าร หรือผู้อ่อนแออื่น ๆ
3.5 อายุความ
ข้ อ 8 รัฐภาคีต้องกาหนดอายุความในคดีอาญาที่มีระยะเวลายาว
และเหมาะสมกับการบังคับบุคคลให้ สูญหายซึ่งถือว่ าเป็ นความผิดที่รุนแรง และ
ต้ องกาหนดให้ อายุความคดีอาญาในความผิดฐานบังคับบุคคลให้ สูญหายเริ่มนับ
เมื่อการกระทาได้ ยุตลิ ง โดยคานึงว่ าการกระทาความผิดฐานบังคับคนให้ สูญหาย
เป็ นความผิดต่ อเนื่อง
3.6 กาหนดเขตอานาจสากล
ข้ อ 9.2 ให้ กาหนดเขตอานาจสากล เพื่อให้ สอดคล้ องกับหลัก
“ไม่ ส่งตัว ก็ต้องดาเนินคดีลงโทษ”
aut dedere aut judicare
4. การป้องกันมิให้ บุคคลถูกบังคับให้ สูญหาย
4.1 การห้ ามมิให้ มกี ารคุมขังลับ
4.2 การสร้ างความโปร่ งใสให้ กับการคุมขังตามกฎหมาย
-การทาข้ อมูลคนถูกควบคุมตัว
-ให้ สิทธิญาติหรือผู้มีส่วนได้ เสียเข้ าถึงข้ อมูล หากถูกปฏิเสธต้ องมีกระบวนการศาลสั่งให้ เปิ ดเผย
-ให้ สิทธิในการร้ องขอให้ ปล่ อยตัวจากการคุมขังที่มิชอบ (ป.วิ.อ. มาตรา 90)
-ให้ สิทธิญาติเยี่ยมผู้ถูกคุมขัง
-การสร้ างระบบยืนยันการปล่ อยตัวผู้ถูกควบคุมตัว
4.3 การฝึ กอบรมเจ้ าพนักงาน
5. การเยียวยาผู้เสี ยหาย
ข้ อ 24 ของอนุสัญญาให้ คานิยามว่ า “ผู้เสียหาย”
หมายถึง ผู้ถูกบังคับให้ สูญหายและหมายรวมถึงบุคคลอื่นที่ได้ รับความ
ทุกข์ ทรมานโดยตรงจากการถูกบังคับให้ บุคคลสูญหายด้ วย
ปั ญหาใน ป.วิ.อ. มาตรา 5(2)
สิ ทธิของผู้เสี ยหายตามข้ อ 24 ของอนุสัญญาฯ
-สิ ทธิทจี่ ะรู้ความจริง (right to know the truth) ผู้เสียหายมีสทิ ธิได้ รับรู้ ความจริงที่
เกี่ยวกับพฤติการณ์ การถูกบังคับให้ สูญหาย ความคืบหน้ าและผลของการสอบสวน และชะตา
กรรมของคนสูญหายโดยถูกบังคับ โดยรั ฐจะต้ องจัดให้ มีมาตรการที่เกี่ยวข้ องอย่ างเหมาะสม
-สิ ทธิทจี่ ะถูกค้ นพบ ได้ รับการปลดปล่อย และได้ รับการจัดการศพอย่ างเหมาะสม
-สิ ทธิที่จะได้ รับการเยียวยา (right to obtain reparation and compensation)
6. คณะกรรมการการสูญหายโดยถูกบังคับ (THE COMMITTEE ON
ENFORCED DISAPPEARANCES)
มีอานาจ
1. รับคาร้ องของผู้เสียหายในการสืบหาตัวผู้สูญหาย ตามข้ อ 30
2. รั บคาร้ องของผู้เสียหายว่ ารั ฐภาคีละเมิดอนุสัญญา ตามข้ อ 31
3. รับคาร้ องของรัฐภาคีว่ารัฐภาคีอ่ นื ละเมิดอนุสัญญา ตาม ข้ อ 32,
33
7. บทสรุป
Crime control (Public order)
Due process
(Human Right)
7.1 สถานการณ์ ปกติ ต้ องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ในระดับสูงตามกฎหมาย เช่ น ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา
7.2 สถานการณ์ ไม่ ปกติ ระดับการคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชนอาจแตกต่ างจากสถานการณ์ ปกติ เช่ น คุมขัง
ได้ นานขึน้ จากัดการใช้ สิทธิบางอย่ าง
7.3 อย่ างไรก็ตามในทุกกรณีไม่ ว่าจะเป็ น
สถานการณ์ ปกติหรือไม่ ปกติ รัฐและเจ้ า
พนักงานของรัฐจะทาการละเมิดสิทธิมนุษยชน
อย่ างร้ ายแรงดังต่ อไปนีไ้ ม่ ได้ เช่ น ฆาตกรรม
ทรมาน หรือ การบังคับบุคคลให้ สูญหาย
เพราะเป็ นสิทธิมนุษยชนพืน้ ฐาน
•
ขอบคุณทุกท่ านที่ตงั ้ ใจฟั ง