Balance Sheet - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Download Report

Transcript Balance Sheet - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

โดย นางผกาพรรณ ศรลัมพ์
สานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ความหมายและองค์ ประกอบ
1. อุปสงค์สินค้า – การเสนอซื้อสิ นค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพื่อการใช้บริ โภค
หรื อการใช้ประโยชน์ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
2. ผูบ้ ริ โภคสิ นค้าเกษตร – ประชาชนทัว่ ไปที่มีความต้องการซื้อสิ นค้าเกษตร
เพื่อเป็ นอาหารบริ โภคในการดารงชีวิต ซึ่งอาจจะเป็ นบุคคลเดียว
กลุ่มบุคคลในท้องถิ่น/ทั้งประเทศ โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
ที่มีความต้องการสิ นค้าเกษตร เพื่อใช้เป็ นวัตถุดิบในการแปรรู ป
ความสาคัญของการศึกษาอุปสงค์ สินค้ าเกษตร

สาคัญมากสาหรับผูผ้ ลิต /เกษตรกร เพราะเป้ าหมายของการผลิตสิ นค้าเกษตร
เพื่อการค้า คือ ผลิตให้ตรงกับความต้องการของผูบ้ ริ โภคให้มากที่สุด

สาคัญต่อการวางนโยบายเพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาและรายได้ของ
เกษตรกร
แบ่งเป็ น 5 ประเภทใหญ่ๆ
1. อุปสงค์เพื่อการบริ โภคโดยตรง
2. อุปสงค์เพื่อใช้เป็ นวัตถุดิบของโรงงานอุตสาหกรรม
3. อุปสงค์เพื่อการทาพันธุ์
4. อุปสงค์ของสิ นค้าเพื่อการเก็บสต็อก (Stock Demand)
5. อุปสงค์ของสิ นค้าเพื่อการส่ งออก
วิธีการหา Demand สิ นค้ าเกษตรมี 4 วิธี คือ
1.
2.
3.
4.
วิธีการหาโดยค่าเฉลี่ย (Average parameter)
วิธีการหาโดยบัญชีสมดุล (Food balance sheet)
วิธีการหาโดยรู ปภาพ (Graphic analysis)
วิธีการหาโดยวิธีเชิงปริ มาณ (Quantitative technique)
 ใช้เพื่อหา Demand ของสิ นค้าที่ใช้ในการกินและใช้สอยต่างๆ โดย
Demand จะต้องไม่มากกว่า Supply ที่มีอยู่

เหมาะสาหรับการหา Demand ของสิ นค้าในระดับครัวเรื อน (House hold)
ไม่เหมาะกับจังหวัด,ประเทศ,โลก
คือ ปริมาณการกินและการใช้ สินค้ า = ปริมาณสิ นค้ าที่ผลิตได้ /ทีม่ อี ย
1) ระดับครัวเรื อน (House hold) บัญชีสมดุล คือ
ปริ มาณการกินและการใช้สินค้า = ปริ มาณสิ นค้าที่ผลิตได้
2) ถ้ามีการเก็บ Stock และส่ งออกสิ นค้า บัญชีสมดุล คือ
ปริ มาณการกินและใช้สินค้า + Stock สิ นค้าปลายปี = ปริ มาณการผลิต
+ Stock สิ นค้าต้นปี
คือ ปริมาณการกินและการใช้ สินค้ า = ปริมาณสิ นค้ าทีผ่ ลิตได้ /ทีม่ อี ย
3) ถ้ามีการส่ งออก นาเข้าและเก็บ Stock สิ นค้า บัญชีสมดุล คือ
ปริ มาณการกินและการใช้สินค้า + ปริ มาณส่ งออก + Stock สิ นค้าปลายปี
= ปริ มาณการผลิต + ปริ มาณนาเข้า + Stock สิ นค้าต้นปี
ใช้ขอ้ มูลที่เป็ นค่าเฉลี่ย (Averange) ของการกินและใช้สอย
 ถ้าไม่รู้ขอ
้ มูลอย่างใดอย่างหนึ่งในแต่ละข้าง ก็สามารถหาได้โดยใช้การย้ายข้าง เช่น
ปริ มาณการกินการใช้ = ปริ มาณที่ผลิตได้ + Stock ต้นปี – Stock ปลายปี

ปริ มาณการกินและการใช้สินค้า + ส่ งออก+ Stock ปลายปี
ปริ มาณการผลิต + นาเข้า + Stock ต้นปี
ถ้า
หมายถึง
= Demand
= Supply
Demand
= Supply
การกินและการใช้ = การผลิต
สิ่ งที่เกิดขึน้ คือราคา (Price) ที่บอกถึงการสมดุล Balance ระหว่ าง
Demand และSupply ของสิ นค้ านั้นในครั วเรื อนหรื อในประเทศ
ข้ อดีและข้ อเสี ยของการใช้ บญ
ั ชีสมดุล (Balance Sheet) ในการหาDemand
ข้ อดี
 ง่ายและตรวจสอบความถูกต้องได้
ข้ อเสี ย
 เป็ นข้อมูลในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ งเท่านั้น ไม่สามารถ Forecast หา Demand
ในระยะต่อๆไปได้
 ไม่ได้ดูถึง Effect ของราคาสิ นค้าที่มีต่อ Demand ดังนั้น จาเป็ นต้องมีวิธีอื่น
นอกเหนือจากบัญชีสมดุล ในการหา Demand ของสิ นค้า
1. ข้ อมลระดับครัวเรือน
สารวจการผลิต การบริ โภค การเก็บ Stock ของแต่ละครัวเรื อน แล้ว
นามาหาค่าเฉลี่ย
2. ข้ อมลระดับท้ องที่ (อาเภอ/จังหวัด)
คล้ายระดับครัวเรื อน เช่น การผลิต,การบริ โภคและใช้สอย,ใช้เป็ น
วัตถุดิบในโรงงานแปรรู ป, การเก็บ Stock , การนาเข้าและการส่ งออก
ระดับจังหวัด เป็ นต้น
3. ข้ อมลระดับประเทศ