บทที่ 5

Download Report

Transcript บทที่ 5

จริยธรรม
รายวิชา: จริยธรรมวิชาชีพ และกฎหมายสาธารณสุข
(Ethics and Law in Public Health) รหัสวิชา:
474602
อ. ธนัชพร มุลิกะบุตร
จริยศาสตร์
(Ethics)
วิชาทีว่ าด
กการ คุณคา่
่ วยหลั
้
ของความประพฤติ
วาสิ
า
่ ่ งใดควรทา สิ่ งใดไมควรท
่
ความดีคอ
ื อะไร
ทาไมจึงเรียกวา่ ความดี
จริยธรรม
“ความประพฤติทด
ี่ ี มนุ ษยควรปฏิ
บต
ั ”ิ
์
เป็ นผลจากการไตร่ตรอง พิจารณา
จริ
ยธรรมภายใน
ด้วยเหตุ
ผล
ทัศนคติ
ความรู้
เหตุผล
(เช่น ความซือ
่ สั ตย ์ ความยุตธิ รรม ความเมตตา
จริ
ย
ธรรมภายนอก
กรุณา ความกตัญญูกตเวที)
พฤติกรรม (สั งเกตได้อย่างชัดเจน)
แหล่งที่มาของ
จริยธรรม
1.ปรัชญา
2.ศาสนา
3.วัฒนธรรม
1. ปรัชญา
 ลักษณะของชีวต
ิ และธรรมชาติของ
มนุ ษยในแง
ที
่ งึ ปรารถนา
่ พ
์
 หลักการและเหตุผลของของปรัชญา
เกีย
่ วกับ
 ความดี
 ความถูกตอง
้
 ความเหมาะสม
ตัวอย่างปรัชญา
พระธรรมปิ ฎก “ ความสุขอยู่ทีก
่ ารไ
ความต้องการหรือความอยาก”
“การมุ่งหาความสุขอยู่กบ
สิ่ งภายนอกเท่ากับหมดอิสรภาพลงไป
“มนุ ษย์เป็ นสั ตว์ประเสริฐด้วยกา
2. ศาสนา
 ศาสนาทุกศาสนามีหลักคาสอนและวิถท
ี าง
ที่ ค ล้ ายคลึ ง กัน คื อ มุ่ งเน้ นที่ จ ะให้ เกิด
ความสงบสุ ข ในการอยู่ร่วมกัน ในสั ง คม
และเกิดสั นติสุขแกชาวโลก
่
 ดังนั้น ศาสนาจึงเป็ นตัวกาหนดศี ลธรรม
จรรยา เพื่ อ ให้ คนในสั งคมได้ น าไป
ประพฤติป ฏิบ ต
ั ใ
ิ ห้ บัง เกิด ผล และบรรลุ
จุดมุงหมาย
่
2. ศาสนา
“ ข้อผูกพันระหวางชี
วต
ิ มนุ ษยกั
่
์ บ
ความจริงสูงสุดทีม
่ นุ ษยเชื
่ ”
์ อ
งในขอบขาย
สิ่ งทีท
่ ุกศาสนากลาวถึ
่
่
ของจริยธรรม
•
สิ่ งทีค
่ วรแสวงหาในชีวต
ิ
•
คาทางจริ
ยธรรม- ดี ชัว
่ ถูก
่
ผิด
3. วัฒนธรรม
ไทย
 การเคารพผู้ใหญ่
 ตาแหน่ งสาคัญของร่ างกายจากศีรษะจรดเท้ า
 การใช้ วาจาสุ ภาพ
- สร้ างสรรค์ น่ าฟัง
- ไม่ นินทาว่ าร้ าย ไม่ ใช้ คาหยาบ
- ไม่ ส่อเสี ยด ยุยง
จะเห็นได้
ว่า…...
 ปรัชญา ให้แนวคิดกวางๆ
้
ส่วนศาสนาและวัฒนธรรม ให้แนว
คิดถึงระดับปฏิบต
ั ใิ นการดารงชีวต
ิ
ทฤษฎีจริยศาสตร์
1. ประโยชนนิ
ย
ม
์
่ ิ ยม
2. หน้าทีน
1. ทฤษฎี ประโยชน์
นิยม
เน้ นผลของการกระท าโดยหลัก ของ
ผลประโยชน์ - บุคคลต้องทาสิ่ งทีม
่ ค
ี ุ ณ ค ่า
ทางบวก
มีผลดีมากกว่าผลเสี ยเกิดผลดี
ตอคนส
่
่ วนใหญ่
“ค่าของคนอยู่ทีผ
่ ล
ของงาน”
จอหน
์
สจ๊วต มิลล ์
1. ประโยชน์
นิยม
• ค ว า ม สุ ข
ประโยชนสู
์ งสุด
• แก่คนจานวนมาก
เกณฑตั
์ ดสิ นจริยธรรมมีได้
ทีส
่ หลายเกณฑ
ุด
์
ผลประโยชนอยู
อหลักการ
่
์ เหนื
2.ทฤษฎี หน้ าที่นิยม
เน้นเจตนาของการกระทา - การทา
หน้าทีท
่ พ
ี่ งึ กระทา
ตามกฎเกณฑสากล
หลักการอยู่
์
เอมานุ
เ
อล
เหนือผลประโยชน
์
คานท ์
2. หน้ าที่ นิยม
• คุ ณ ค่ าทางศี ลธรรม ถู ก ผิด ตายตัว
ความดีไมมี
้
้
่ ขอแม
• ชี ว ิ ต ที่ ส มบู ร ณ ์ คื อ ชี ว ิ ต ที่ อ ยู่ กับ
หน้าทีด
่ วยการท
าศี ลให้บริสุทธิ ์
้
• ค่าทางศี ล ธรรมอยู่ที่เ จตนา ท าตาม
หน้ าทีโ่ ดยส านึ ก ไม่ได้เกิดจากแรง
ก ร ะ ตุ้ น อ า ร ม ณ ์ ค ว า ม รู้ สึ ก ที่
โอ้โฮ สุดหล่อแถมรวย
่ ย
้ อ
อย่างนีต
้ งชว
เต็มที!่ !
ฉันเป็ นพยาบาล ฉันจะ
ดูแลผูป้ ่ วยอย่างดีท่สี ดุ
หลักจริยธรรมสาหรับการดูแลสุขภาพ
1. การเคารพเอกสิ ทธิ/์ อิส ระ
(Autonomy)
2. ก า ร ท า ป ร ะ โ ย ช น์
(Beneficence)
3. ก า ร ไ ม่ ท า อั น ต ร า ย
(Nonmalficence)
4. ความยุตธิ รรม (Justice)
1. การเคารพสิทธ์ ิ /อิสระ
Respect for Autonomy
การตัดสิ นใจ การกระทาตามความ
• อยู่บนพืปรารถนาของตนเอง
น
้ ฐานของค่านิยม ความเชือ
่
เหตุผล และความตัง้ ใจ
• อาศั ยข้อมูลทีถ
่ ก
ู ต้องและเพียงพอ ทาด้วย
ความเข้าใจ
• เป็ นอิสระจากการถูกบังคับ
การเคารพในความเป็ น
บุคคลของผูใ้ ช้บริการ
• ตระหนักในความเป็ นคนและความ
เป็ นตัวเองทีแ
่ ตกตางเฉพาะบุ
คคล
่
• มีความจริงใจ สามารถเอาใจเขา
ม า ใ ส่ ใ จ เ ร า รั บ ฟั ง เ พื่ อ เ ข้ า ใ จ
ความรู้ สึ กนึ ก คิด ปั ญ หา ความ
ตองการ
้
2. การทาประโยชน์
(Beneficence)
การทาในสิ่ งทีด
่ ี มีเมตตา
ปรารถนาดี
ตอเพื
อ
่ องกั
นมนุนษย ์
่ ์ ป
• การท
าประโยชน
้
อันตราย
ส่งเสริมสิ่ งทีด
่ ี
• การสมดุลระหว่างประโยชน์และ
อันตราย
2. การทาประโยชน์
(Beneficence)
• ช่ วยให้ ผู้ บริก ารได้ รับ ประโยชน์
ตามทีส
่ มควรจะได้
• ลดความเสี่ ยง ป้ องกัน อัน ตราย
บรรเทาทุกข ์
• ส่ งเสริ ม ให้ ผู้ ป่ วยได้ รับ การดู แ ล
อยางดีทส
ี่ ุด
3. การไม่ทาอันตราย
(Nonmalficence, Doing no harm)
• การไม่ท าให้ ผู้ อื่น ได้ รับ อัน ตรายทั้ง
ทางรางกายและจิ
ตใจ
่
• ทั้ง โดยตรงและโดยอ้ อม
ได้ แก่
ห้ ามฆ่ า ท าให้ ปวด ท าให้ พิก าร
ทาให้ ไร้ ความสามารถ ทาให้ ทุกข ์
จากัดอิสรภาพ
4. ความยุติธรรม
(Justice)
• สิ่ งที่ เ ท่ ากัน ต้ องได้ รับ การปฏิบ ัต ิ
เหมือนกัน
• ท าให้ เหมื อ นกัน ไม่ เลื อ กกลุ่ ม
ศาสนา วรรณะ
• การให้รางวัล
การลงโทษ
5. ความซื่อสัตย์
(Fidelity)
พันธะหน้าทีท
่ จ
ี่ ะตองซื
อ
่ สั ตยต
้
่
์ อ
ตนเองและผู
อื
่ ่ งทีร่ บ
• การรักษาสั
ญญา ทาสิ
ั ปากไว้
้ น
• การปกปิ ดความลับ ข้อมูลของ
ผู้ป่วยจะเปิ ดเผยได้เฉพาะกับบุคคล
ทีเ่ กีย
่ วข้องกับการดูแลผู้ป่วยเท่านั้น
การเปิ ดเผยความลับของผูป้ ่ วยจะไม่เป็ นความผิดถ้า
1. ผู้ป่วยยินยอม
2. ปฏิบ ต
ั ิต ามกฎหมายหรือ ตาม
หน้าที่
3. เปิ ดเผยต่ อผู้ ร่ วมที ม ในการ
ดูแลรักษาผู้ป่วย