Transcript powerpoint

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ตามประเภทการรั บเข้ าศึกษา ปี การศึกษา 2549 – 2553
โดย... ศูนย์ บริการการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ตามประเภทการรั บเข้ าศึกษา ปี การศึกษา 2549 – 2553
ผู้วจิ ัย
หน่วยงาน
นางวารุ ณี ยอดราช และ นางเรวดี คองประชุม
ศูนย์บริ การการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วัตถุประสงค์ การวิจัย
1. เพื่อศึกษาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX)
ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ตามประเภทการรับเข้ าศึกษาปี การศึกษา 2549 - 2553
วัตถุประสงค์ การวิจัย (ต่ อ)
2. เพื่อเปรียบเทียบระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ของนักศึกษา
ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จาแนกตามประเภทการ
รับเข้ าศึกษา ประเภท โควตา, รับตรง, และ Admissions ปี การศึกษา
2549 – 2553 ของแต่ ละสานักวิชา
3. เพื่อศึกษาข้ อมูลการได้ งานทา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ ี
สาเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2555
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรต้ น
นักศึกษาระดับปริญญาตรี แต่ละสานักวิชา
ตามประเภทการรับเข้ าศึกษา
- นักศึกษาประเภทโควตา
- นักศึกษาประเภทรับตรง
- นักศึกษาประเภท Admissions
นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่สาเร็จ
การศึกษาประจาปี การศึกษา 2555
ตัวแปรตาม
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
(ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม
(GPAX))
- การได้ งานทาของนักศึกษา
การดาเนินการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
ประชากร ได้ แก่ จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ท่ ีรับเข้ าศึกษาในปี การศึกษา
2547 – 2554 ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จานวนทัง้ สิน้ 12,778 คน
กลุ่มตัวอย่ าง ได้ แก่ จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ได้ มาโดยการเลือกแบบ
เจาะจง (Purposive Sampling) เฉพาะนักศึกษาระดับปริญญาตรี ท่ ีเข้ าศึกษาใน
ปี การศึกษา 2549 – 2553 (ต้ องการศึกษาข้ อมูลนักศึกษาย้ อนหลัง 5 ปี การศึกษา)
จานวนทัง้ สิน้ 8,403 คน
การดาเนินการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. เก็บรวบรวมข้ อมูลผลการเรี ยนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ของนักศึกษาเมื่อเรี ยน
ครบ 1 ปี การศึกษา ตามแบบเก็บข้ อมูลโดยแยกนักศึกษาตามประเภทการรั บเข้ า
ศึกษา ประเภทโควตา รั บตรง และ Admissions ของนักศึกษาที่รับเข้ าศึกษาในปี
การศึกษา 2549 – 2553 ของแต่ ละสานักวิชา จากฐานข้ อมูลของศูนย์ บริการ
การศึกษา
2. เก็บรวบรวมข้ อมูลการได้ งานทาของนักศึกษาหลังสาเร็จการศึกษา ของ
นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาปี การศึกษา 2555 โดยเก็บรวมรวมข้ อมูลจากแบบ
สารวจข้ อมูลในวันรั บรายงานตัวบัณฑิตเพื่อรั บพระราชทานปริญญาบัตร
ประจาปี การศึกษา 2555 (วันที่ 7 สิงหาคม 2556)
การดาเนินการวิจัย
เครื่ องมือที่ใช้
1. แบบเก็บรวบรวมข้ อมูลผลการเรี ยนของนักศึกษาแต่ ละสานักวิชา
2. แบบสารวจการได้ งานทาของนักศึกษา ที่สาเร็จการศึกษา ปี การศึกษา 2555
การดาเนินการวิจัย
การวิเคราะห์ ข้อมูล
วิเคราะห์ ข้อมูลด้ วยโปรแกรมสาเร็จรู ป
1. วิเคราะห์ ข้อมูลผลการเรี ยนเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาโดยนาผลการเรี ยนเฉลี่ย
สะสม (GPAX) ของนักศึกษาแต่ ละประเภทการรั บเข้ า ประเภทโควตา รั บตรง
และ Admissions ของแต่ ละปี การศึกษาที่รับเข้ าศึกษาตัง้ แต่ ปีการศึกษา
2549 – 2553 มาวิเคราะห์ หาค่ าเฉลี่ย   และค่ าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
การดาเนินการวิจัย
การวิเคราะห์ ข้อมูล (ต่ อ)
2. เปรี ยบเทียบค่ าเฉลี่ยของผลการเรี ยนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ของนักศึกษา
แต่ ละประเภทการรั บเข้ า ประเภทโควตา รั บตรง และ Admissions ของแต่ ละปี
การศึกษาที่รับเข้ าศึกษาตัง้ แต่ ปีการศึกษา 2549 – 2553 โดยใช้ การวิเคราะห์
F – test ความแปรปรวนทางเดียว (One way Analysis of Variance) เมื่อพบ
ความแตกต่ างอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติ จึงทาการทดสอบความแตกต่ างของ
ค่ าเฉลี่ยเป็ นรายคู่โดยใช้ วธิ ีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) และทาการวิเคราะห์
ความแตกต่ างของค่ าเฉลี่ยของผลการเรี ยนเฉลี่ยสะสม ของกลุ่มตัวแปร 2 กลุ่ม
ด้ วยค่ าสถิติ T – test
การดาเนินการวิจัย
การวิเคราะห์ ข้อมูล (ต่ อ)
3. ศึกษาข้ อมูลการได้ งานทาหลังสาเร็จการศึกษาของนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ท่ ีสาเร็จการศึกษาปี การศึกษา 2555 โดยนาข้ อมูลมาวิเคราะห์
ความถี่ (Frequency,f) และค่ าร้ อยละ (Percentage, %)
การดาเนินการวิจัย
การวิเคราะห์ ข้อมูล (ต่ อ)
สถิตทิ ่ ใี ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
1. ความถี่ (Frequency)
2. ค่ าร้ อยละ (Percentage, %)
3. ค่ าเฉลี่ย (Mean, )
4. ค่ าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation, S.D.)
การดาเนินการวิจัย
การวิเคราะห์ ข้อมูล (ต่ อ)
5. ค่ าสถิติ F–test ซึ่งใช้ ในการเปรี ยบเทียบความ แตกต่ างของค่ าเฉลี่ย
สาหรั บตัวแปรมากกว่ า 2 กลุ่มที่เป็ นอิสระต่ อกัน ซึ่งได้ แก่ ตัวแปร ประเภทการ
รั บเข้ าศึกษา ประเภทโควตา รั บตรง และ Admissions
6. ค่ าสถิติ T-test ซึ่งใช้ ในการเปรี ยบเทียบความแตกต่ างของค่ าเฉลี่ยสาหรั บ
ตัวแปร 2 กลุ่มที่เป็ นอิสระต่ อกัน ซึ่งได้ แก่ ตัวแปร ประเภทการรั บเข้ าศึกษา
ประเภทโควตา และรั บตรง
ผลการวิจัย
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักศึกษา โดยภาพรวมทุกสานักวิชา ที่รับเข้ าใน
ปี การศึกษา 2549 – 2553 เมื่อเรี ยนครบ 1 ปี การศึกษา พบว่านักศึกษาที่มีประเภท
รับเข้ าศึกษา ประเภทโควตา รับตรง และ Admissions มีคา่ เฉลี่ยของระดับคะแนน
เฉลี่ยสะสม (GPAX) แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุก
ปี การศึกษา โดยค่าเฉลี่ยของระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ของนักศึกษา
ประเภทโควตาสูงกว่ า นักศึกษาประเภทรับตรงและAdmissions ทุกปี การศึกษา
และนักศึกษาประเภท Admissions มีคา่ เฉลี่ยของระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX)
สูงกว่า นักศึกษาประเภทรับตรง ทุกปี การศึกษา
ผลการวิจัย
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักศึกษาเมื่อพิจารณาเป็ นรายสานักวิชาพบว่า
2.1 นักศึกษาที่รับเข้ าประเภทโควตา ทุกสานักวิชาส่วนใหญ่เมื่อเรี ยนครบ 1 ปี
การศึกษามีคา่ เฉลี่ยของระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมสูงกว่า นักศึกษาที่รับเข้ าประเภท
รับตรงและ Admissions
2.2 นักศึกษาที่รับเข้ าประเภท Admissions ทุกสานักวิชาส่วนใหญ่เมื่อเรี ยนครบ 1 ปี
การศึกษามีคา่ เฉลี่ยของระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมสูงกว่า นักศึกษาที่รับเข้ าประเภทรับ
ตรง และนักศึกษาสานักวิชาสหเวชศาสตร์ และสาธารณสุขศาสตร์ ที่รับเข้ าปี การศึกษา
2552 นักศึกษาสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ ที่รับเข้ าศึกษาในปี การศึกษา 2552-2553
นักศึกษาประเภท Admissions มีคา่ เฉลี่ยของระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมสูงกว่า นักศึกษา
ประเภท โควตาและรับตรง
ผลการวิจัย
2.3 นักศึกษาที่รับเข้ าประเภทรั บตรง และ ประเภท Admissions ในปี การศึกษา
2549-2553 ของสานักวิชาการจัดการ สานักวิชาสารสนเทศศาสตร์ และ สานักวิชา
เทคโนโลยีการเกษตรในบางปี การศึกษามีคา่ เฉลี่ยของระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม
ต่ากว่ า 2.00
ผลการวิจัย
3. ผลการศึกษาข้ อมูลการได้ งานทาของนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาในปี การศึกษา 2555
พบว่า
จากการตอบแบบสารวจภาวการมีงานทาของบัณฑิต พบว่าหลังสาเร็จการศึกษา
4 เดือน นักศึกษาได้ งานทาร้ อยละ 75.6 และในจานวนนี ้เป็ นผู้มีงานทาและศึกษาต่อ
พร้ อมกัน ร้ อยละ 2.1 หลักสูตรที่มีอตั ราบัณฑิตได้ งานทาสูงสุด มากกว่าร้ อยละ 80 ได้ แก่
พยาบาลศาสตร์ (ร้ อยละ 100) บริหารธุรกิจ (ร้ อยละ 96.6) เภสัชศาสตร์ (ร้ อยละ 92.2)
เทคนิคการแพทย์ (ร้ อยละ 88.5) นิเทศศาสตร์ (ร้ อยละ 82.5) และอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย (ร้ อยละ 81.1)
ประโยชน์ ท่ ีได้ รับจากการวิจัย
1. ได้ ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ของนักศึกษาที่รับเข้ าศึกษา
ในแต่ ละประเภท
2. ได้ ทราบถึงความแตกต่ างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักศึกษาที่รับ
เข้ าศึกษาในแต่ ละประเภท
3. ได้ ทราบถึงข้ อมูลการได้ งานทาของนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาใน
ปี การศึกษา 2555
4. เพื่อมหาวิทยาลัยได้ นาข้ อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักศึกษามาเป็ น
แนวทางในการกาหนดคุณสมบัตใิ นการรั บนักศึกษาเข้ าศึกษาในปี ต่ อ ๆไป
ประโยชน์ ท่ ีได้ รับจากการวิจัย
5. เพื่อสานักวิชาได้ นาข้ อมูลไปเป็ นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรี ยนการ
สอนให้ มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด
6. เพื่อนาผลที่ได้ จากการวิจัยในครั ง้ นีไ้ ปเป็ นแนวทางในการศึกษาวิจัยในครั ง้
เพื่อให้ เกิดประโยชน์ กับมหาวิทยาลัยต่ อไป
ขอขอบคุณ
โดย... ศูนย์ บริการการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์