********* PowerPoint - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง

Download Report

Transcript ********* PowerPoint - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง

ปฏิรูปท้องถิ่นอย่างไร
ประชาชนจะได้ประโยชน์
โครงการบรรยายพิเศษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง
วันเสาร์ท่ี 6 กันยายน พ.ศ.2557
ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง
โดย
ร อ ง ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ วุ ฒิ ส า ร ตั น ไ ช ย
ร อ ง เ ล ข า ธิ ก า ร ส ถ า บั น พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า
หัวข้อการบรรยาย
• บริบทของการบริหารปกครองท้องถิ่นในระดับโลก
• กระแสการกระจายอานาจและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย
• ประเด็นความท้าทายของเมืองและการกระจายอานาจในปัจจุบนั
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559: ความเสีย่ งรูปแบบใหม่
• ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิน่ ในระดับโลก (UCLG)
• หลักการสาคัญเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองกับการกระจายอานาจการปฏิรูปอปท.เพือ่ รองรับการ
ปฏิรูปประเทศไทย
• การปกครองของรัฐ/เมืองในอนาคต (Future of Government)
• เมืองแห่งอนาคต (City of the Future)
• ข้อเสนอเบื้องต้น 6G
บริบทของการบริหารปกครองท้องถิน่
ในระดับโลก
ภูมิภาคเอเชียและการกระจายอานาจ
• Tim Campbell in Decentralization and Local
Democracy in the World : First Global Report
2007
• โดย United Cities and Local Governments (UCLG)
• ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
• การกระจายอานาจกลายเป็ นประเด็นหลักของการปฏิรูปการบริหารปกครองและการสร้างประชาธิปไตยท้องถิน่
• แต่มรี ูปแบบและแบบแผนทีห่ ลากหลายมากในภูมภิ าคทีข่ ้นึ กับบริบททีห่ ลากหลายของแต่ละประเทศ
• ยังมีจดุ อ่อนอีกมากในการเตรียมการเพือ่ การกระจายอานาจการบริหารปกครอง แต่ก็เป็ นเรื่องยากอีกเช่นกันว่า
ในภูมภิ าคนี้ จะหวนกลับไปใช้การรวมศูนย์อานาจแบบเดิมอีก
ความหลากหลายต่อการกระจายอานาจในเอเชีย
• ความหลากหลายต่อการกระจายอานาจในเอเชีย
• ในอินโดนีเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ และอินเดียเป็ นตัวอย่างทีด่ สี าหรับการปฏิรูปเพือ่ เพิม่ อานาจรัฐบาลท้องถิ่นและ
กระจายอานาจ
• จีนและเวียดนามนาแนวคิดการกระจายอานาจไปปรับให้เข้ากับบริบทของประเทศที่เน้นระบบการปกครอง
แบบรวมศูนย์อานาจทางการเมือง
• ในปากีสถานมีการเปลีย่ นแปลงแบบเป็ นวัฏจักรอย่างเห็นได้ชดั ระหว่างยุคของการกระจายอานาจและยุค
การรวมศูนย์อานาจ
• แต่ในมาเลเซียและบังคลาเทศมีการต่อต้านขัดขวางจากภาครัฐในการกระจายอานาจในสาระสาคัญทีจ่ ะไป
เสริมสร้างบทบาททางการเมืองของรัฐบาลท้องถิน่
• ในกลุม่ ประเทศทีส่ งั กัด OECD เช่น ออสเตรเลีย ญีป่ ่ นุ เกาหลีใต้ และนิวซีแลนด์ได้ให้ความสาคัญ
ต่อการกระจายอานาจที่เป็ นส่วนหนึ่ งของการปฏิรูปการบริหารงานภาครัฐ
การกระจายอานาจในบริบทโลก
• Making it happen: A roadmap for
cities and local public services to
achieve outcomes
• โดย PricewaterhouseCoopers (PwC)
• การสารวจว่าเมืองและท้องถิน่ ต่าง ๆ ทัว่ โลกเกี่ยวกับการวางกลยุทธ์และดาเนินการ
พัฒนาเมืองเมือ่ เดือนมีนาคม ค.ศ.2011
• สารวจในสหราชอาณาจักร ยุโรป เอเชียกลาง ออสเตรเลีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ
และอเมริกาใต้
• เป็ นการสารวจโดยส่งแบบสอบถามอิเลกทรอนิกส์ให้กบั ผูน้ า/ผูบ้ ริหารของเมืองและ
รัฐบาลท้องถิน่ ต่าง ๆ ใน โดยมีผูต้ อบแบบสอบถามทีส่ มบูรณ์ 64 ฉบับ (64 เมือง)
จากทัง้ สิ้นทีส่ ่งมา 108 ฉบับ
ทีม่ า: http://www.pwc.com/gx/en/government-public-services/publications/making-
อะไรคือตัวเสริม (ENABLERS) และตัวขวาง
(BARRIERS) ของการดาเนินตามยุทธศาสตร์เมืองและท้องถิน่ ?
90
77.8
80
Finance
Leadership
ตัวเสริม
ตัวขวาง
66.7
70
เป็ นตัวขวาง
เป็ นตัวเสริม
60
50
41.3
38.1
36.5
40
33.3
30.2
28.6 25.4
25.4
23.8 20.622.2
30
19
17.5
14.3 12.7
14.3
20
12.7
9.5
11.1
6.3
10
0
0
0
ผลการสารวจของ PWC
• สรุ ป: การพัฒนาความเป็ นผูน้ าของเมือง (Leadership) มีความสาคัญมากต่อการ
ปฏิบตั ติ ามยุทธศาสตร์ของเมือง
• แต่ความเป็ นผูน้ ามิใช่ปัจจัยเดียว เพราะถ้าปราศจากการจัดการภายในที่มปี ระสิทธิภาพย่อม
เป็ นไปได้ยากทีจ่ ะบรรลุตามวิสยั ทัศน์ของเมืองทีต่ งั้ ไว้ ซึง่ ปัจจัยความสาเร็จนี้ข้นึ อยู่กบั
• A. การเงินการคลัง (Financing)
• B. การลดความซับซ้อน การสร้างมาตรฐาน และการสร้างความคล่องตัวของเมือง
(Simplifying, standardising and streamlining)
• C. การปฏิบตั ติ ามแผนยุทธศาสตร์ (Implementation planning)
• D. การสนับสนุ นตามกรอบการดาเนิ นงานและระบบติดตาม (Supporting
frameworks and tracking systems)
กระแสการกระจายอานาจและรูปแบบ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ของไทย
กระแสการกระจายอานาจในปั จจุบนั
การกระจาย
อานาจใน
ปัจจุบนั
สร้าง/เพิม่ อานาจ
- รธน. พ.ศ.2540/2550
องค์กรปกครองส่วน
- พรบ. กระจายอานาจฯ พ.ศ. 2542
ท้องถิ่น
การสร้างอปท.
- นครแม่สอด
รูปแบบพิเศษ/เมือง
- มาบตาพุด
พิเศษ
การเสนอจังหวัด
จัดการตนเอง
การเพิม่ บทบาทของ
ชุมชน/ประชาสังคม
-
-
ร่างพรบ. การบริหารจังหวัด
ปกครองตนเองพ.ศ.....
กระแสแนวคิดประชาสังคม
สิทธิชมุ ชนตามรธน. ฯลฯ
กระแสการกระจายอานาจในแนวใหม่
การเพิม่ บทบาท/
กระจายอานาจแก่
เอกชน
กระจายอานาจ
ในแนวใหม่
-
การพัฒนาทุน
(Capital)
ของเมือง
การมีความสัมพันธ์/
เครือข่ายระดับโลก
(Global
Network
Partnership)
Public-Private
Partnership
Outsourcing
Privatization
-
-
Human Capital
Social Capital
Culture Capital
International
Organizations
Regionalizations
สถานการณ์ปัจจุบนั
• รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว) พุทธศักราช 2557: การจัดตัง้ สภาปฏิรูป
• มาตรา 27 ให้มสี ภาปฏิรูปแห่งชาติมหี น้าทีศ่ ึกษาและเสนอแนะเพือ่ ให้เกิดการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้
(3) กฎหมายและ
(2) การบริหาร
(4) การปกครอง
(1) การเมือง
กระบวนการ
ราชการแผ่นดิน
ท้องถิน่
ยุตธิ รรม
(๕) การศึกษา
(6) เศรษฐกิจ
(9) สือ่ สารมวลชน
(10) สังคม
(7) พลังงาน
(8) สาธารณสุขและ
สิง่ แวดล้อม
(11) อืน่ ๆ
สถานการณ์ปัจจุบนั
• ประกาศคณะรักษาความสงบฉบับที่ 85/2557 เรื่อง การได้มาซึง่ สมาชิกสภาท้องถิน่ หรือผูบ้ ริหาร
ท้องถิน่ เป็ นการชัว่ คราว
• ข้อ 2 กาหนดให้มกี ารคัดเลือกบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถผูด้ ารงตาแหน่งสมาชิกสภาท้องถิน่ แทน
ตาแหน่งทีค่ รบวาระหรือว่างลงหรือมีกรณีส้นิ สุดสมาชิกภาพ
• สมาชิกสภาท้องถิน่ ทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกอย่างน้อยสองในสามต้องเป็ นหรือเคยเป็ นข้าราชการตัง้ แต่ระดับ
ชานาญการพิเศษหรือระดับ 8 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
• ประกาศคณะรักษาความสงบฉบับที่ 86/2557 เรื่อง การได้มาซึง่ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
และสมาชิกสภาเขตเป็ นการชัว่ คราว
• ข้อ 2 กาหนดให้มกี ารคัดเลือกบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถผูด้ ารงตาแหน่งสมาชิกสภาท้องถิน่ แทน
ตาแหน่งทีค่ รบวาระหรือว่างลงหรือมีกรณีส้นิ สุดสมาชิกภาพ
• สมาชิกสภาท้องถิน่ ทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกอย่างน้อยสองในสามต้องเป็ นหรือเคยเป็ นข้าราชการตัง้ แต่ระดับนัก
บริหารระดับสูงหรือระดับ 10 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
สถานการณ์ปัจจุบนั
• คาสัง่ ที่ 88/2557 เรื่อง แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการจัดสรรงบประมาณเงิน
อุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2558
• แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุ นให้องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2558
• เสนาธิการทหาร เป็ นประธานกรรมการ
• รองเสนาธิการทหาร (2) รองประธานกรรมการ (1)
• ผูบ้ ญั ชาการหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา รองประธานกรรมการ (1)
• อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ กรรมการ
• ผูอ้ านวยการสานักจัดทางบประมาณด้านความมันคง
่ 1 สานักงบประมาณ กรรมการ
• ผูอ้ านวยการสานักกฎหมาย กรมบัญชีกลาง กรรมการ
• หัวหน้าสานักงานคณะกรรมการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ กรรมการ
• ปลัดบัญชีทหาร กรรมการและเลขานุการ
จากการกระจายอานาจใน
บริบทโลกประเทศไทยจะไป
ทางไหน ?
เราจะรับเอาบทเรียน
จากต่างประเทศมา
เพื่อปฏิรูปอปท.อย่าง
ไร ?
ประเด็นความท้าทายของเมืองและการ
กระจายอานาจในปั จจุบนั
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
พ.ศ.2555-2559: ความเสีย่ งรูปแบบใหม่
กฎ กติกาใหม่ของโลกหลายด้านส่งผลให้ทกุ ประเทศต้องปรับตัว
การเปลี่ยนแปลงสาคัญระดับโลก
การปรับตัวเข้าสูเ่ ศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง รวมทัง้ ภูมิภาคเอเชียทวีความสาคัญเพิม่ ขึ้น
การเข้าสูส่ งั คมผูส้ ูงอายุของโลกอย่างต่อเนื่ อง
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวน
ความมัน่ คงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโน้มจะเป็ นปัญหาสาคัญ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมรวมทัง้ ตอบสนองต่อการ
ดารงชีวติ ของประชาชนมากยิ่งขึ้น
การก่อการร้ายสากลเป็ นภัยคุกคามประชาคมโลก
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
พ.ศ.2555-2559: ความเสีย่ งรูปแบบใหม่
การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ
การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านเศรษฐกิจ: การสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านสังคม: สังคมผูส้ ูงอายุ/ปัญหาคุณภาพทาง
การศึกษา
การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม: ความเสือ่ ม
โทรมของทุนทางทรัพยากรและภัยพิบตั ิ
การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ: ความตื่นตัวทาง
การเมือง ความไม่สงบในภาคใต้ และความล่าช้าของการกระจายอานาจ
ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิน่ ในระดับโลก
• Tim Campbell in Decentralization and Local
Democracy in the World : First Global Report 2007
• โดย United Cities and Local Governments (UCLG)
• UCLG ได้สรุปความก้าวหน้าและอุปสรรคในอนาคตของท้องถิน่ ทัวโลกไว้
่
6 มิตคิ อื
National policy and strategy
Organizational Unit
Responsibility
Financing Decentralized System
Mechanisms of participation and accountability
Institutional Capacity
สรุปความท้าทายของ UNITED CITIES AND
ไทย
LOCAL GOVERNMENTS (UCLG)
National
policy
and
strategy
Organiz
ational
Unit
• กรอบนโยบายในการกระจายอานาจทีค่ รอบคลุม
• 1) การปฏิรูปการเมือง
• 2) การปฏิรูปเศรษฐกิจ
• 3) การสร้างทางเลือกทีเ่ ป็ นประชาธิปไตย (democratic
choice-making) ด้วยการเสริมสร้างประสิทธิภาพ และ
• 4) การสนับสนุนทางเงินเพือ่ แก้ไขปัญหาการกระจายอานาจในระยะยาว
• การจัดอปท. เพือ่ ตอบสนองข้อเรียกร้องของตัวแทนทุกภาคส่วนเช่น การ
สร้างหรือขยายอปท. ให้ครอบคลุมกับกลุม่ ชาติพนั ธุ ์
• การลดจานวนอปท. และควบรวมอปท. ขนาดเล็ก เพือ่ ขยายหรือสร้าง
ประสิทธิภาพของการให้บริการสาธารณะ
• ปัญหาหน่วยการปกครองท้องถิน่ ทีท่ บั ซ้อนกับเขตเมืองทีม่ คี วามหนาแน่น
สูง
• ปัญหาเกี่ยวกับอปท. ขนาดเล็กทีข่ าดประสิทธิภาพและมีประชากรตา่
พรบ. /แผน
ของไทยมี
คุณลักษณะ
ดังกล่าว
หรือไม่ ?
การจัด
องค์กรของ
อปท.
สอดคล้องกับ
ความท้าทาย
หรือไม่ ?
สรุปความท้าทายของ UNITED CITIES AND
LOCAL GOVERNMENTS (UCLG)
ไทย
Responsibility
• ความชัดเจนและความคงเส้นคงวาในการสนับสนุนของรัฐและการมี
ตัวเลือกทีเ่ ป็ นอิสระ
• การบรรลุถงึ ประสิทธิภาพในการจัดสรรและในการจัดหาบริการ
สาธารณะ (จัดสรรทัว่ ถึง+คุณภาพดีเยีย่ ม)
• อิทธิพลจากเทคโนโลยี (ทัง้ การบริหารอปท.+จัดบริการสาธารณะ)
อปท. ไทยมี
ความ
รับผิดชอบ
มากน้อย
เพียงใด ?
Financing
Decentralized
System
• รัฐบาลกลางมีแนวโน้มทีจ่ ะกาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มี
ความรับผิดชอบในการใช้จ่ายงบประมาณทัง้ ทีย่ งั มิได้มกี ารคลายหรือ
ลดข้อจากัดด้านรายได้
• ปัญหาความไม่สมดุลทางการคลังเช่น ความคุลมเครือของกฎระเบียบ
การขาดความโปร่งใส การใช้ดุลพินิจมากเกินไปปัญหาการขาด
ฐานข้อมูลทางการคลังท้องถิน่ ทีเ่ หมาะสม
การคลัง
ท้องถิ่นไทย
ประสบ
ปัญหา
ดังกล่าว
อย่างไร ?
สรุปความท้าทายของ UNITED CITIES AND
LOCAL GOVERNMENTS (UCLG)
Mechanisms
of
participation
and
accountabili
ty
Institution
al
Capacity
• การเลือกตัง้ และกติกาการเลือกตัง้ ทีม่ กั เกิดปัญหาเกี่ยวกับ 1) . แนวโน้มการเล่นพรรค
เล่นพวกของการเมืองในระดับชาติและท้องถิน่ 2) แนวโน้มการออกไปใช้สทิ ธิเลือกตัง้ ตา่
• ฝ่ ายบริหารและฝ่ ายนิตบิ ญั ญัติ คือ การสร้างระบบทีม่ คี วามรับผิดรับชอบ
(accountability) ต่อประชาชนมากขึ้น
• รูปแบบการมีส่วนร่วม เพราะการมีส่วนร่วมโดยตัวมันเองไม่ได้หมายถึงการมีบริการ
สาธารณะทีด่ ขี ้นึ หรือการแก้ไขปัญหาความยากจนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• จานวนของบุคลากรทีม่ คี ุณภาพ (the sheer numbers of
qualified staff)
• ระบบสัญญาและระบบการจัดการ (contracting and
management systems) เช่น ลักษณะของกฎหมายมหาชน
(Public Law)
• ความต้องการในการปฏิรูปทีอ่ ยู่บนฐานของจริยธรรม (the need for
merit based reforms)
• การทุจริต (corruption)
ไทย
การเมือง
ท้องถิ่นสร้าง
การมีสว่ นร่วม
และรับผิดชอบ
ต่อประชาชน
มากน้อยแค่
ไหน ?
อปท. มี
ศักยภาพทัง้
ด้านบุคลากร
คุณธรรม การ
ปลอดทุจริต
หรือไม่ ?
หลักการสาคัญเกีย่ วกับการพัฒนาเมืองกับ
การกระจายอานาจ
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต่อทิศทางการ
กระจายอานาจและการพัฒนาเมือง (1)
• หลักการพื้นฐาน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มิใช่
เป็ น “ทัง้ หมด” หรือ “ศูนย์กลาง”
ของการพัฒนาเมือง
แต่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
เป็ น “เสาหนึ่ ง” ของการ
เปลีย่ นแปลง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต้องไม่ทา
ตัวเป็ น “ระบบราชการที่รวมศูนย์ใน
ท้องถิ่น” เหมือนระบบราชการของไทย
ในแบบเดิม
แต่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต้องเป็ น
ตัวแสดงหนึ่ง หรือเป็ นผูป้ ระสานงานใน
การทากิจกรรมหรือบริการต่าง ๆ
สาหรับการพัฒนาท้องถิน่
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต่อทิศทางการ
กระจายอานาจและการพัฒนาเมือง (2)
• การร่วมมือกับ
ภาครัฐ (ส่วนกลาง/
ภูมภิ าค/ท้องถิน่ )
• การร่วมมือกับ
ภาคเอกชน
• การสร้างพันธมิตร
(Partnership)
ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่
• การมี 4Ps
• การร่วมมือกับ
ภาคประชาชน
PRIVATE
PUBLIC
PEOPLE
POLITICS
• การร่วมมือกับ
ฝ่ ายการเมือง
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต่อทิศทางการ
กระจายอานาจและการพัฒนาเมือง (3)
• PRIVATE – การร่วมมือกับภาคเอกชน
• การมีระบบร่วมทุน (Public-Private Partnership)
• การแปรรูปให้เป็ นของเอกชน/เอกชนดาเนินการแทน (Privatization)
• PUBLIC - การร่วมมือกับภาครัฐ (ส่วนกลาง/ภูมภิ าค/ท้องถิน่ )
• การมีเครือข่ายองค์กร (Intergovernmental Relation) ระหว่างหน่วยงาน
ภาครัฐเพือ่ จัดทากิจกรรมหนึ่ง ๆ
• POLITICS – การร่วมมือกับฝ่ ายการเมือง
• การให้ฝ่ายการเมืองในฐานะผูก้ าหนดนโยบายและทีม่ าแห่งความชอบธรรมของประชาชนมีบทบาทในการ
สนับสนุนการทางานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
• PEOPLE – การร่วมมือกับภาคประชาชน
• การสร้างความร่วมมือกับภาคประชาชน / ชุมชน / สมาคม / กลุม่ ชาติพนั ธ์ / กลุม่ อัตลักษณ์
ปรัชญาของเมือง
ในอนาคต
การพึ่งตนเอง
(SelfReliance)
การมีจุดยืนของเมือง
(SelfPosition)
การพัฒนาที่ยงั ่ ยืน
(Sustainabilit
y)
การพอประมาน
(SelfSufficiency)
การมีขนาดของเมืองที่
สอดคล้องกับเป้ าหมาย
การพัฒนา
(Suitable
Size)
GOAL
การจัดความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วน
เกี่ยวข้ องและเป้ าหมายของเมือง
• ผูม้ ีสว่ นเกี่ยวข้อง
(Stakeholders) มีความ
แตกต่างกันมากในเชิงความต้องการ
และเป้ าหมายในการพัฒนาเมือง
• การจัดความสัมพันธ์ของผูม้ สี ่วน
เกี่ยวข้องนัน้ ขึ้นอยู่กบั การกาหนด
ทิศทาง/เป้ าหมาย (Goal) ว่าจะ
ให้นา้ หนักเมืองไปในทิศทางใด
ผูม้ ีสว่ นได้เสีย
ความต้องการของ
เมือง
PRIVATE
Education
City
PEOPLE
Innovative
City
PUBLIC
GREEN CITY
การปฏิรูปอปท.เพือ่ รองรับ
การปฏิรูปประเทศไทย
FUTURE OF GOVERNMENT
A MOMENT OF TRUTH : STEP UP OR FALL
BEHIND!!!
• สรุปจาก: Future of Government. (June 2013) โดย
PricewaterhouseCoopers (PwC)
• การขับเคลื่อนเพือ่ ความเปลี่ยนแปลง - Drivers for Changes:
• รับมือกับความไม่แน่นอน (Dealing with uncertainty)
• การจัดหาสิง่ ทีส่ ญั ญาไว้กบั ประชาชน (Delivering on the citizen promise)
• ความต้องการของประชาชน/ การตระหนักรู ข้ องประชาชน (The demanding citizen, Citizen
Awareness)
• ขีดจากัดด้านงบประมาณ (Budgetary constraints)
• การแข่งขันในระดับภูมภิ าค/ระดับโลก (Regional/Global competition)
• ภาครัฐเป็ นผูป้ ฏิรูปวาระ (Public sector reform agenda)
• มีความรับผิดรับชอบและความโปร่งใสทีด่ ีเยีย่ ม (Greater accountability and
transparency)
• The moment of truth is now. It’s time to get started.
มาจาก PwC. (June 2013) Future of Government
การปกครองของรัฐ/เมืองในอนาคต
(FUTURE OF GOVERNMENT)
• การมองไกลและวางแผนล่วงหน้าคือเรื่องสาคัญ (Looking beyond and
Planning ahead)
• การปรับบทบาทภาครัฐจาก......








ประชาชนอยู่ใต้บงการ
การปกครองเพื่อประชาชน
องค์กรแบบรวมศูนย์
องค์กรภาครัฐขนาดใหญ่/ทางานทุกอย่างเพียง
ผูเ้ ดียว
รัฐบาลในฐานะผูจ้ ดั หาบริการสาธารณะ
รัฐบาลเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิตและ
กระบวนการ
การวัดผลตามผลผลิต
การร่วมมือบนฐานของการบังคับ
เชื่อในผูน้ าเข้มแข็ง

มาจาก PwC. (June 2013) Future of Government









ประชาชนอยู่ในการควบคุมดูแล
การปกครองร่วมกับประชาชน
องค์กรแบบเครือข่าย
องค์กรภาครัฐทีม่ ขี นาดเล็ก ยืดหยุ่น และขับเคลื่อนตาม
วัตถุประสงค์ท่ชี ดั เจน
รัฐบาลในฐานะผูอ้ านวยความสะดวก ตัวแทน และผูร้ บั
มอบหมายงาน
รัฐและประชาชนเป็ นเจ้าของผลลัพธ์ร่วมกัน
การวัดผลตามผลลัพธ์
มีการร่วมมือซึง่ กันและกันบนฐานความไว้วางใจ
เชื่อมันต่
่ อ “ผูน้ าที่เป็ นผูอ้ ทุ ศิ รับใช้” (the ‘servant
leader’)
FIGURE: THE LEADING PUBLIC BODY
OF THE FUTURE - PWC
ภาวะผู้นา
การจัดการกองทุนและ
การเงินอย่ างชาญฉลาด
Figure: The Leading public body of the future
การจัดการความสามารถ
(Talent)
ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
ภายใน
การพิเคราะห์
ความคิดและปั ญญา
ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
ภายนอก
เจตนารมณ์
ทางการเมือง
วิสัยทัศน์
&
พันธกิจ
พันธมิตร & เครือข่าย
ประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง
สมดุลระหว่ างผู้มีส่วนได้ ส่วน
เสียภายใน-ภายนอก
ผลลัพธ์ ท่ ยี ่ งั ยืน
นวัตกรรม
ความคล่ องแคล่ ว
ความต่ อเนื่อง
ความโปร่ งใส
สร้ างผลกระทบ
การมอบหมาย การออกแบบ
และการจัดหาบริการ
การจัดลาดับความสาคัญ &
การดาเนิ นการตามแผน
การจัดการแผนการ โครงการ
& ความเสีย่ ง
The Lenses
Key
characteristics
การวัดประสิทธิภาพและการ
ประเมินผลลัพธ์
การสร้ างต้ นแบบอย่ างฉับไว
ที่มา: PwC. (June 2013) Future of Government
ศักยภาพการบริหารจัดการภายใน
ผลลัพธ์
การดาเนินการของ
กลยุทธ์ อย่ างประสบ
ความสาเร็จ
พลังขับเคลือ่ นภาครัฐ
(DRIVING FORCES)
OUR ASKS 1:
QUESTIONS TO THINK ABOUT
• อะไรคือแนวโน้มที่เกิดขึ้นปัจจุบนั ที่สง่ ผลกระทบต่อองค์กรของคุณมากที่สดุ ? (What are the
current and emerging trends the are most impacting
your organization ?)
• องค์กรของคุณมีความสามารถระบุบ่งชี้ถงึ แนวโน้มดังกล่าวหรือไม่ ? ทาไมถึงระบุได้และทาไมถึงทาไม่ได้ ?
(Has your organization been able to address these?
Why and Why not ?)
• อะไรคือแนวโน้มที่อาจจะส่งผลต่อการจัดบริการสาธารณะของพวกเราแก่ประชาชน ? (How will
these trends affect the way we deliver our services to
citizens ?)
• องค์กรของคุณได้ออกแบบองค์กรเพือ่ ตอบสนองกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มีการคาดการณ์ไว้และเหตุการณ์ท่ไี ม่
คาดคิดได้อย่างไร ? (How is your organization configured to
respond to both expected and unexpected events ?)
มาจาก PwC. (June 2013) Future of Government
FIGURE: INTERNAL, ORGANIZATIONAL PERSPECTIVE - PWC
Figure: Internal, organizational perspective
วงจรการพัฒนาปรับปรุ งการ
จัดบริการสาธารณะ
ภาวะผู้นา
Cost Drivers
กลยุทธ์
- ทำไมเรำต้ อง
จัดบริ กำรตำม
แนวทำงกลยุทธ์นี ้?
- เรำมีควำมจำเป็ น
ในกำรจัดบริ กำร
หรื อไม่?
โครงสร้ าง
- อะไรทีม่ อี ทิ ธิพล
ต่อต้นทุนคงทีข่ อง
การจัดบริการ?
ปฏิบัตกิ าร
- พวกเราจะดาเนินการ
ให้เป็ นไปตาม
กระบวนการทีส่ าคัญ
ต่าง ๆ ได้อย่างไร?
- เราสามารถพิสูจน์
มูลค่าของเงินได้
หรือไม่
ชุมชน & การมีส่วน
ร่ วมอย่ างเป็ น
ประชาธิปไตย
การเข้ าร่ วมของ
ประชาชน & การมี
ส่ วนร่ วมของภาคธุรกิจ
แหล่ งเงินทุน
การลงทุนใน
โครงสร้ าง
พืน้ ฐานและ
ปั ญญา
การสร้ าง
แบรนด์
การร่ วมมือ & การ
มอบหมาย
ความจาเป็ นของการ
ประเมิน
การพัฒนาตลาด
การจัดการผู้จัดบริการ
Focus: มูลค่าของเงิน- การตัดสินใจ
ประสิทธิผล & ประสิทธิภาพ
การจัดการกองทุนและ
การเงินอย่ างชาญฉลาด
ความ
มั่นคง
การฟื ้ นฟู
ภาคเอกชน
Front
office
ความจาเป็ น
ในการประเมิน
การควบคุม
การปฏิบัติการ
การรายงานผล
กลาง
การติดตาม
ประสิทธิภาพ
นโยบายด้ าน
การบริการ
แหล่งที่
มา
สร้าง / ซื้อ / หยุด
การจัดบริการสาธารณะ
พืน้ ที่
สาธารณะ
Middle
office
การดูแลทาง
สังคม
Back
office
Pan Public Sector
การสร้ างต้ นแบบทาง
นวัตกรรมและฉับไว
ค่ าใช้ จ่ายด้ าน
สวัสดิการ
Virtual
office
สภาพแวด
ล้ อม
ผลลัพธ์ ของการ
ประเมิน
การออกแบบ
การบริการ
การประเมินการ
บริการ
การจัดหา
การบริการ
องค์ กร
ภาครัฐอื่น ๆ
ที่มา: PwC. (June 2013) Future of Government
แนวคิดเมืองแห่งอนาคต
(CITIES OF THE FUTURE)
• Making it happen: A roadmap for cities and
local public services to achieve outcomes
• โดย PricewaterhouseCoopers (PwC)
• “Vision into Reality” เป็ นสิง่ สาคัญทีส่ ุด
•
•
•
•
•
จาเป็ นต้องมีวสิ ยั ทัศน์และแผนยุทธศาสตร์
การมีวสิ ยั ทัศน์ทด่ี จี าเป็ นต่อการสร้างความทะเยอทะยานและอยู่บนความเป็ นจริง
การสร้างและวางแผนวิสยั ทัศน์ควรมาจากหลายภาคส่วน
การมีวธิ คี ดิ แบบองค์รวมจาเป็ นต่อการวางแผนเพือ่ นาไปสู่การดาเนินการของกลยุทธ์
ต้องเจาะลึกและจัดลาดับความสาคัญต่อวิธคี ดิ ทัง้ หมดเพือ่ เตรียมพัฒนาแนวทางสาหรับอนาคต
เราจะเป็ นเมืองแห่งอนาคตแบบไหน ?
(CITIES OF THE FUTURE)
แนวคิดเมืองแห่งอนาคต
(CITIES OF THE FUTURE)
วิสัยทัศน์
ความทะเยอทะยานทางยุทธศาสตร์
ภาวะผู้นา
แบรนด์ ของเมือง
การบริหารจัดการขีดความสามารถ
โครงการและ
แผนงาน
ผลการปฏิบัติงาน
และความเสี่ยง
นโยบายการจัดการทุน
ทุนทางสังคม
ทุนทางสาธารณูปโภค
ปั ญญาทางสังคม
ทรัพย์ สิน
พันธมิตร
ทุนทางสิ่งแวดล้ อม
เศรษฐกิจท้ องถิ่นที่ย่ งั ยืน
(Sustainable Local Economy)
ทุนทางปั ญญา
การดาเนินงานและการ
จัดการผลการปฏิบัตงิ าน
การจัดลาดับความ
สาตัญ
วัฒนธรรมและการ
พักผ่ อนหย่ อนใจ
ทุนทาง ICT
เมืองแห่ งอนาคต / เมืองแห่ งโอกาส
A City of the Future, A City of Opportunity
การคลังของเมือง
ประชาชน
การมีส่วนร่ วมและ
ทุนทางการเมือง
KEY SUCCESS สาหรับเมืองแห่งอนาคต
ต้องสร้างวิสยั ทัศน์ท่ชี ดั เจน (Clear Vision)
• แม้ว่าในเมืองใดที่ยงั ไม่มีการกาหนดวิสยั ทัศน์อย่างชัดเจน แต่กต็ อ้ งตระหนักถึง
ความต้องการของคนส่วนมากในการพัฒนา
ต้องมีการพัฒนาศักยภาพจากภายในที่หลากหลาย
(multiple internal capacities)
• เพื่อให้ทรัพยากรของเมืองทุกประเภทถูกจัดการเพื่อให้บรรลุตามวิสยั ทัศน์ของ
เมือง
• การพัฒนาศักยภาพจากภายในทาได้หลายรูปแบบเช่น การฟื้ นฟู brand
ของเมือง / การเรียนรูจ้ ากเมืองอืน่ ๆ / การพัฒนาภาวะผูน้ าของเมือง
KEY SUCCESS สาหรับเมืองแห่งอนาคต
ท้องถิ่นต้องสร้างความร่วมมือกับหลายภาคส่วน
(partner collaboratively)
• ต้องมีแนวทางในการสร้าง รักษา และพัฒนาความร่วมมือและพันธมิตรร่วมกับ
ประชาชน ภาคเอกชน ภาควิชาการ และองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs)
• เพื่อช่วยวางแผน กาหนด และปฏิบตั ใิ ห้วิสยั ทัศน์น้นั บรรลุเป้ าหมาย
การสร้างความเป็ นผูน้ า (Leadership)
• การทาให้ศกั ยภาพภายในของเมืองเกิดขึ้นจริงในทางปฏิบตั ไิ ด้ตอ้ อาศัยความเป็ น
ผูน้ า ทัง้ ความเป็ นผูน้ าของบุคลากรของเมือง และการกาหนดว่า “เมืองควรเป็ น
ผูน้ าในด้านใด”
KEY SUCCESS สาหรับเมืองแห่งอนาคต
ต้องมีทรัพยากรที่เพรียบพร้อมสาหรับการพัฒนาศักยภาพจากภายใน
(multiple internal capacities)
• ทรัพยากรทางการเงิน (Financing)
• การลดขัน้ ตอนการทางานที่ย่งุ ยาก การสร้างให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน และการปรับปรุงให้
คล่องตัว (Simplifying, Standardizing and
Streamlining)
• การปฏิบตั ิตามแผน (Implementation planning)
• การจัดการความเสีย่ งอย่างครอบคลุม (Comprehensive risk
management)
• การจ่ายค่าตอบแทนตามผลลัพธ์ (payment by
results/outcome)
ข้อเสนอเบื้ องต้น 6G
ข้อเสนอเบื้ องต้น 6G: การปฏิรูปองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ เพือ่ การปฏิรูปประเทศไทย
Good
Public
Services
• การพัฒนาวิสาหกิจของท้องถิน่ (Local Public
Enterprise)
• การพัฒนาหน่ วยงานพิเศษสาหรับการจัดบริการสาธารณะ เช่น
องค์กรมหาชนของท้องถิน่ ที่เป็ นนิ ตบิ คุ คล
• การถ่ายโอนการจัดบริการสาธารณะให้แก่นิตบิ คุ คลที่มิใช่ รฐั (เช่น
มูลนิ ธิ องค์กรชุมชน)
• การมีตวั ชี้วดั การทางานที่เหมาะสมกับภารกิจของท้องถิน่ ไม่ใช่เพือ่
ส่วนกลาง (KPIs for Local)




การทาวิสาหกิจ เช่น เทศพาณิชย์
การทางานร่วมกันในลักษณะ “สหการ”
การลงทุนเพือ่ ให้เกิดการพัฒนาทาง
เศรษฐกิจ
หัวใจของการจัดบริการสาธารณะใหม่




1. ต้องถูกลง (ต้นทุนในการจัดบริการต้องถูกลง)
2. ต้องตอบเรื่องการให้บริการ , ทางเลือกของการ
จัดบริการทีต่ อบสนองหลายแบบ
3. ต้องเน้นเรื่องเศรษฐกิจ
4. มีความหลากหลายในมติของรูปแบบการจัดบริการ
ข้อเสนอเบื้ องต้น 6G: การปฏิรูปองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ เพือ่ การปฏิรูปประเทศไทย
เก็บตามอานาจหน้าที่ท่ตี นเองมี / ที่เก็บ
Good
Revenues
จากค่าบริการพิเศษเพิม่ เติม
• Non-Taxes
เทศพาณิ ชย์ เช่น ค่าเช่าที่ดิน
ของเทศบาล ฯลฯ
• Local Commercials
การพัฒนาเศรษฐกิจของ
• Local Economic
ท้องถิ่นเพือ่ สร้างรายได้ทางอ้อม
Projects
• Local Bonds
ปัจจุบนั ท้องถิ่นไทยยังไม่มีการออก
พันธบัตรเพือ่ ระดมทุนด้วยตนเอง
• รายได้ท่มี าจากค่าธรรมเนี ยม : หลักการของการเก็บค่าธรรมเนียมทีจ่ ะจัดเก็บคือ เก็บจากการให้บริการ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
• การทาเทศพาณิ ชย์ ควรมองในมุมทีก่ ว้างขึ้น เป็ น Revenue แต่ไม่ใช่ Profit
• การพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ ทีเ่ ป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจ หรือ จัดบริการทีม่ ตี น้ ทุนแพง
• การออกพันธบัตร ซึง่ ปัจจุบนั ยังไม่มกี ารระดมทุนด้วยตนเอง เช่น กรณีการขนส่งมวลชน สามารถออก
พันธบัตรได้
ข้อเสนอเบื้ องต้น 6G: การปฏิรูปองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ เพือ่ การปฏิรูปประเทศไทย
Good
Positioning
Good
Internal
Structure
• อปท.จะยกระดับหรือกาหนดทิศทางการพัฒนาเป็ น “เมืองอะไร”
• Ex. Low Carbon City
• Ex. Educational City
• Ex. Gateway City
• ปัจจุบนั ท้องถิน่ มีเครื่องมือหรืออานาจหน้าทีอ่ ะไรทีจ่ ะช่วยให้บรรลุถงึ
Position ของเมืองทีต่ งั้ ไว้ ?
• การทาให้ขอ้ บัญญัตทิ อ้ งถิน่ ถูกนาไปใช้ได้จริง
• การพัฒนาสภาเทศบาลให้สามารถของเทศบัญญัตไิ ด้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
• เชื่อมโยงและปรับปรุงการทางานของสภาเทศบาลและฝ่ ายบริหาร
ของเทศบาลในงานด้านการออกข้อบัญญัตทิ อ้ งถิน่
ข้อเสนอเบื้ องต้น 6G: การปฏิรูปองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ เพือ่ การปฏิรูปประเทศไทย
Good
Partnership
Good
Strategy
• การสร้างและพัฒนาเครือข่ายบริการสาธารณะ (“New Network” for
public service provides)
• Public-Private Partnership (PPPs)
• CBOs (Community-Based Organization)
• Build-Operate Transfer (BOT)
• Cross-Cut Cooperation without
boundaries (การร่วมมือกับต่างประเทศ/องค์การระหว่างประเทศ)
• การสร้างและพัฒนา แผนยุทธศาสตร์และการปฏิบตั กิ ารตามแผน
ยุทธศาสตร์ของท้องถิน่ แต่ละแห่งอย่างครอบคลุม
(Comprehensive Strategy Plan)
• การทาให้แผนยุทธศาสตร์ปฏิบตั ไิ ด้จริง
• การมีแผนยุทธศาสตร์ทส่ี อดคล้องกับสถานะทางการคลังของท้องถิน่
• “Vision into Reality”
จบการบรรยาย